Better Health magazine

The magazine for patients and friends of Bumrungrad International Hospital, Thailand. The magazine for patients and friends of Bumrungrad International Hospital, Thailand.

16.08.2016 Views

+++++ Sports Medicine คุณพร้อมแค่ไหนกับ “ไตรกีฬา” ไตรกีฬากำาลังได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในกลุ่มของคน รักการออกกำาลังกายที่ต้องการความท้าทายมากกว่าเดิม ถ้าคุณกำาลังวางแผนจะเข้าร่วมแข่งขันไตรกีฬา การเตรียม ความพร้อมของร่างกายเป็นสิ่งที่ต้องคำานึงถึงเป็นอันดับแรก แต่จะ เตรียมอย่างไรนั้น Better Health ฉบับนี้มีคำาตอบมาฝากกัน ว่าย ปั่น วิ่ง วิถีคนเหล็ก ไตรกีฬา หรือที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า “กีฬาคนเหล็ก” เป็นการแข่งขันกีฬาสามประเภทต่อเนื่องกัน เริ่มจากว่ายนำ้ำ ปั่นจักรยาน และสิ้นสุดที่การวิ่ง โดยกีฬาแต่ละประเภทจะมีระยะทาง และเวลาตัดตัว (cut-off time) กำาหนดไว้ซึ่งจะแตกต่างกันไปตาม รูปแบบหรือระยะทางของการแข่งขัน “เสน่ห์ของไตรกีฬาไม่ได้อยู่ที่การได้ทดสอบความแข็งแกร่งของ ร่างกายและจิตใจเท่านั้น แต่ไตรกีฬายังเป็นกีฬาเพียงไม่กี่ประเภท ที่ให้โอกาสผู้เข้าแข่งขันทุกคนอย่างเสมอภาค ไม่ว่าจะมือใหม่หรือ นักกีฬาระดับโลกก็ต้องลงแข่งขันในสนามเดียวกัน ทุกคนได้รับการ ยอมรับในฐานะของนักกีฬา ซึ่งเป็นความรู้สึกที่ดี” นพ.วิญญู รัตนไชย ศัลยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านกระดูกและข้อ พูดถึงกีฬาที่หลายคน อยากลองสัมผัส นอกจากนี้ ไตรกีฬายังให้ประโยชน์มากมายกับผู้เล่น ไม่ว่าจะเป็น ระบบหัวใจและหลอดเลือดที่แข็งแรง กล้ามเนื้อที่ถูกฝึกและพัฒนา ให้เต็มศักยภาพ หรือสภาพจิตใจที่เข้มแข็ง ไม่ยอมแพ้ต่ออุปสรรค และเหนือสิ่งอื่นใดคือ ความภาคภูมิใจที่สามารถพาตัวเองเข้าสู่เส้นชัย ได้ในที่สุด ฝึกได้ ถ้าใจรัก แม้จะเป็นการออกกำาลังกายที่หนักหน่วง แต่ไตรกีฬากลับเป็นกีฬาระดับปานกลางที่ สามารถฝึกฝนได้ไม่ว่าคุณจะมีอายุเท่าใด โดย ไม่จำาเป็นต้องมีทักษะเป็นเลิศทั้งสามประเภทกีฬา “เราสามารถเอากีฬาที่ถนัดและทำาเวลาได้ ดีที่สุดไปชดเชยกีฬาอีกสองประเภทได้ เช่น เอาเวลาของจักรยานไปชดเชยการวิ่งหรือว่ายนำ้ำ แต่ถ้าไม่ถนัดอะไรเป็นพิเศษก็ควรจะว่ายนำ้ำให้ได้ 750 เมตร ปั่นจักรยานได้ 20 กิโลเมตร และวิ่งได้ 5 กิโลเมตร จากนั้นจึงมาดูเวลาที่กำาหนดในแต่ละ การแข่งขัน ค่อยๆ ปรับแต่งเวลาให้ดีขึ้น ซึ่งจะ ใช้เวลานานแค่ไหนก็ขึ้นอยู่กับสภาพร่างกายของ แต่ละคน” นพ.วิญญูแนะนำา โดยทั่วไปแล้ว นักกีฬาที่เคยลงแข่งขันมาบ้าง หรือฝึกซ้อมอย่างสมำ่ำเสมอจะใช้เวลาประมาณ 14

+++++ Sports Medicine<br />

คุณพร้อมแค่ไหนกับ<br />

“ไตรกีฬา”<br />

ไตรกีฬากำาลังได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในกลุ่มของคน<br />

รักการออกกำาลังกายที่ต้องการความท้าทายมากกว่าเดิม<br />

ถ้าคุณกำาลังวางแผนจะเข้าร่วมแข่งขันไตรกีฬา การเตรียม<br />

ความพร้อมของร่างกายเป็นสิ่งที่ต้องคำานึงถึงเป็นอันดับแรก แต่จะ<br />

เตรียมอย่างไรนั้น <strong>Better</strong> <strong>Health</strong> ฉบับนี้มีคำาตอบมาฝากกัน<br />

ว่าย ปั่น วิ่ง วิถีคนเหล็ก<br />

ไตรกีฬา หรือที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า “กีฬาคนเหล็ก”<br />

เป็นการแข่งขันกีฬาสามประเภทต่อเนื่องกัน เริ่มจากว่ายนำ้ำ<br />

ปั่นจักรยาน และสิ้นสุดที่การวิ่ง โดยกีฬาแต่ละประเภทจะมีระยะทาง<br />

และเวลาตัดตัว (cut-off time) กำาหนดไว้ซึ่งจะแตกต่างกันไปตาม<br />

รูปแบบหรือระยะทางของการแข่งขัน<br />

“เสน่ห์ของไตรกีฬาไม่ได้อยู่ที่การได้ทดสอบความแข็งแกร่งของ<br />

ร่างกายและจิตใจเท่านั้น แต่ไตรกีฬายังเป็นกีฬาเพียงไม่กี่ประเภท<br />

ที่ให้โอกาสผู้เข้าแข่งขันทุกคนอย่างเสมอภาค ไม่ว่าจะมือใหม่หรือ<br />

นักกีฬาระดับโลกก็ต้องลงแข่งขันในสนามเดียวกัน ทุกคนได้รับการ<br />

ยอมรับในฐานะของนักกีฬา ซึ่งเป็นความรู้สึกที่ดี” นพ.วิญญู รัตนไชย<br />

ศัลยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านกระดูกและข้อ พูดถึงกีฬาที่หลายคน<br />

อยากลองสัมผัส<br />

นอกจากนี้ ไตรกีฬายังให้ประโยชน์มากมายกับผู้เล่น ไม่ว่าจะเป็น<br />

ระบบหัวใจและหลอดเลือดที่แข็งแรง กล้ามเนื้อที่ถูกฝึกและพัฒนา<br />

ให้เต็มศักยภาพ หรือสภาพจิตใจที่เข้มแข็ง<br />

ไม่ยอมแพ้ต่ออุปสรรค และเหนือสิ่งอื่นใดคือ<br />

ความภาคภูมิใจที่สามารถพาตัวเองเข้าสู่เส้นชัย<br />

ได้ในที่สุด<br />

ฝึกได้ ถ้าใจรัก<br />

แม้จะเป็นการออกกำาลังกายที่หนักหน่วง<br />

แต่ไตรกีฬากลับเป็นกีฬาระดับปานกลางที่<br />

สามารถฝึกฝนได้ไม่ว่าคุณจะมีอายุเท่าใด โดย<br />

ไม่จำาเป็นต้องมีทักษะเป็นเลิศทั้งสามประเภทกีฬา<br />

“เราสามารถเอากีฬาที่ถนัดและทำาเวลาได้<br />

ดีที่สุดไปชดเชยกีฬาอีกสองประเภทได้ เช่น<br />

เอาเวลาของจักรยานไปชดเชยการวิ่งหรือว่ายนำ้ำ<br />

แต่ถ้าไม่ถนัดอะไรเป็นพิเศษก็ควรจะว่ายนำ้ำให้ได้<br />

750 เมตร ปั่นจักรยานได้ 20 กิโลเมตร และวิ่งได้<br />

5 กิโลเมตร จากนั้นจึงมาดูเวลาที่กำาหนดในแต่ละ<br />

การแข่งขัน ค่อยๆ ปรับแต่งเวลาให้ดีขึ้น ซึ่งจะ<br />

ใช้เวลานานแค่ไหนก็ขึ้นอยู่กับสภาพร่างกายของ<br />

แต่ละคน” นพ.วิญญูแนะนำา<br />

โดยทั่วไปแล้ว นักกีฬาที่เคยลงแข่งขันมาบ้าง<br />

หรือฝึกซ้อมอย่างสมำ่ำเสมอจะใช้เวลาประมาณ<br />

14

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!