13.07.2015 Views

อทร.6002

อทร.6002

อทร.6002

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

๒สารบัญบทนํา กลาวทั่วไป ๓บทที่ ๑ วงรอบงบประมาณ ๔บทที่ ๒ การจัดทํางบประมาณของ ทร. ๙บทที่ ๓ การอนุมัติงบประมาณของ ทร. ๒๓บทที่ ๔ การบริหารงบประมาณของ ทร. ๒๕


๓บทนํากลาวทั่วไปงบประมาณ คือ แผนเบ็ดเสร็จซึ่งแสดงออกในรูปของตัวเงิน แสดงโครงการที่จะดําเนินงานทั้งหมดในระยะเวลาหนึ่ง แผนนี้จะรวมถึงการกะประมาณการของการบริหารกิจกรรม โครงการ และคาใชจายตลอดจนทรัพยากรที่จําเปนเพื่อสนับสนุนกิจกรรมตางๆ ในการดําเนินงาน ใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแผนงาน แตอุปสรรคใหญในการดําเนินการ ก็คือ ทรัพยากรทางการเงินมีจํากัด แตตองนํามาจัดสรรใหกับกิจกรรม หรือโครงการตางๆ ที่มีจํานวนมากมาย ปญหาจึงเกิดขึ้นวาจะใชทรัพยากรทางการเงินที่มีอยูอยางจํากัดนั้นไปในทางที่เปนประโยชนไดมากที่สุดอยางไร งบประมาณจึงเปนเครื่องมือสําคัญในการเลือกใชจาย โดยพิจารณาถึงความตองการตลอดจนความจําเปนกอนหลังตามลําดับ เพื่อใหสวนรวมไดรับประโยชนสูงสุด--------------------------------------------------------------------


๔บทที่ ๑วงรอบงบประมาณวงรอบงบประมาณเปนกระบวนการเกี่ยวของกับการดําเนินการในเรื่องของการจัดเตรียมงบประมาณรายรับ การจัดตั้งงบประมาณรายจาย การอนุมัติ และการบริหารงบประมาณรายจาย ตลอดจนการรายงานผลการใชจายงบประมาณ เมื่อสิ้นสุดการใชจายงบประมาณในปนั้นๆ ซึ่งจะเกี่ยวของกับสวนราชการตางๆ ตั้งแตหนวยปฏิบัติจนถึงรัฐสภา ซึ่งเปนหนวยงานสูงสุดที่จะอนุมัติงบประมาณ เพื่อเปนกฎหมายรองรับการใชจายงบประมาณของรัฐบาลวาเปนการใชจายที่ถูกตอง ในกระบวนการดังกลาวอาจแบงไดออกเปน ๓ ขั้นตอน คือ๑. การจัดเตรียมงบประมาณ๒. การอนุมัติงบประมาณ๓. การบริหารงบประมาณ๑. การจัดเตรียมงบประมาณ หมายถึง การจัดเตรียมงบประมาณ ทั้งวงเงินงบประมาณรายรับและวงเงินงบประมาณรายจาย สําหรับงบประมาณรายรับซึ่งจะเปนตัวกําหนดงบประมาณรายจายตอไปนั้น สวนราชการที่เกี่ยวของ ๔ หนวยงาน ไดแก สํานักงบประมาณ กระทรวงการคลัง สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และธนาคารแหงประเทศไทย จะเปนผูกําหนด โดยวิเคราะหและคํานึงถึงความสามารถของรายไดประชาชาติ ภาวะเศรษฐกิจ สังคม แหลงเงินกู ในขณะนั้นแลวนําเสนอคณะรัฐมนตรีอนุมัติวงเงินงบประมาณรายรับ เพื่อสํานักงบประมาณจะไดจัดเปนงบประมาณรายจาย และแยกเปนวงเงินงบประมาณสําหรับแตละกระทรวงเปนรายกระทรวงตอไป เมื่อไดรับอนุมัติวงเงินจากคณะรัฐมนตรีแลว สํานักงบประมาณจะตั้งเปนวงเงินงบประมาณรายจายแตละกระทรวง และแจงใหแตละกระทรวงทราบ ซึ่งแตละกระทรวงจะพิจารณาจัดวงเงินงบประมาณรายจายใหแกกรมภายในกระทรวงของตนเองตามความเหมาะสม และแจงใหแตละกรมทราบ เพื่อใหกรมทํารายละเอียดงบประมาณรายจายภายในวงเงินงบประมาณตามที่กระทรวงจัดและแจงใหทราบ เมื่อแตละกรมจัดรายละเอียดงบประมาณมาภายในวงเงินแลว จะสงใหกระทรวงพิจารณาและรวบรวมสงใหสํานักงบประมาณพิจารณา และเสนอตอคณะรัฐมนตรีตอไป เมื่อคณะรัฐมนตรีพิจารณาแกไขปรับปรุงตามที่เห็นสมควรแลวก็จะนําเสนอตอรัฐสภา เพื่อใหรัฐสภาพิจารณาอนุมัติออกมาเปนกฎหมาย พ.ร.บ.งบประมาณรายจายประจําปนั้นๆ ตอไป การดําเนินการดังกลาวมีรายละเอียดในแตละขั้นตอนดังนี้๑.๑ การประมาณการรายรับ และประมาณการรายจายเปนการประมาณการรายรับวาจะสามารถจัดหารายไดเพื่อนํามาใชเปนงบประมาณรายจายไดเปนเงินจํานวนเทาใด สวนราชการที่เกี่ยวของ ๔ หนวยงาน ไดแก สํานักงบประมาณกระทรวงการคลัง สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) และธนาคารแหง


ประเทศไทย จะเปนผูกําหนด โดยวิเคราะหและคํานึงถึงความสามารถของรายไดประชาชาติ ภาวะเศรษฐกิจสังคม แหลงเงินกู วารายรับควรจะมาจากทางใดบาง และเปนจํานวนเทาใด จึงจะเหมาะสมตอประเทศชาติในขณะนั้น๑.๒ สศช. และสํานักงบประมาณ เสนอนโยบายงบประมาณเมื่อไดมีการประมาณการรายรับและรายจายแลว สศช.และสํานักงบประมาณ ก็จะเสนอแนวนโยบายงบประมาณ วาจะดําเนินการจัดเก็บรายรับใหไดมาอยางไร และจะจายในลักษณะอยางไร ทั้งรายรับและรายจายจึงจะเปนไปตามที่ประมาณการไว เสนอใหคณะรัฐมนตรีพิจารณา พรอมทั้งผลกระทบตางๆ ที่จะเกิดขึ้นทั้งทางดานสังคมและเศรษฐกิจของประเทศดวย๑.๓ คณะรัฐมนตรีกําหนดแนวนโยบายงบประมาณคณะรัฐมนตรีจะพิจารณาแนวนโยบายที่ สศช.และสํานักงบประมาณเสนอ โดยพิจารณาถึงผลกระทบตอสังคมและเศรษฐกิจของประเทศที่จะเกิดขึ้นจากงบประมาณที่ตั้ง พรอมทั้งความสอดคลองที่จะมีตอนโยบายของรัฐบาล และปจจัยการเมืองในขณะนั้นดวยวา นโยบายงบประมาณควรจะเปนอยางไร๑.๔ สํานักงบประมาณกําหนดวงเงินรายกระทรวงเมื่อคณะรัฐมนตรีกําหนดแนวนโยบายงบประมาณ และวงเงินงบประมาณแลวสํานักงบประมาณจะพิจารณารายละเอียดและกําหนดวงเงินของกระทรวงตางๆ เปนรายกระทรวง และเสนอตอคณะรัฐมนตรีอีกครั้งหนึ่ง๑.๕ คณะรัฐมนตรี อนุมัติวงเงินรายกระทรวงคณะรัฐมนตรีจะพิจารณาวงเงินรายกระทรวงอีกครั้งตามที่สํานักงบประมาณเสนอวาสมควรจะแกไขหรือปรับปรุงหรือไมอยางไร ตามความจําเปนของบประมาณในดานตางๆ เชน ดานความมั่นคง ดานการเกษตร และดานการศึกษา เปนตน๑.๖ สํานักงบประมาณแจงกระทรวงเมื่อไดรับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี ทางดานแนวนโยบายงบประมาณ พรอมทั้งวงเงินงบประมาณแลว สํานักงบประมาณจะพิจารณากําหนดวงเงินของกระทรวงตางๆ เปนรายกระทรวงวาจะไดรับงบประมาณเทาใด เปนวงเงินรวมทั้งหมดของกระทรวง และเสนอตอคณะรัฐมนตรีอีกครั้งหนึ่ง๑.๗ กระทรวงจัดสรรปรับยอดวงเงินของกรมกระทรวงแตละกระทรวง เมื่อไดรับทราบวงเงินของงบประมาณที่จะไดรับ พรอมทั้งแนวนโยบายงบประมาณของรัฐบาลแลว กระทรวงก็จะพิจารณาจัดสรรหรือกําหนดวงเงินใหแตละกรมในสังกัดวากรมใดควรจะไดรับวงเงินงบประมาณเทาใด เมื่อกําหนดวงเงินของกรมเรียบรอยแลว ก็จะแจงใหกรมในสังกัดทราบถึงวงเงินที่กรมไดรับจัดสรร นโยบายงบประมาณของรัฐบาล รวมทั้งแนวนโยบายของกระทรวง เพื่อใหกรมจัดทํารายละเอียดเปนคําของบประมาณตามวงเงินที่ไดรับ๑.๘ กรมจัดทําคําขอตั้งงบประมาณ๕


เมื่อกรมทราบวงเงินแลว จะดําเนินการวางแผนและกําหนดแนวการปฏิบัติงานในรูปของคําของบประมาณในปนั้นๆ โดยยึดแนวนโยบายที่กระทรวงแจงใหทราบ ตามแบบฟอรมที่สํานักงบประมาณกําหนด๑.๙ สํานักงบประมาณพิจารณาอนุมัติวงเงินงบประมาณเมื่อกรมจัดทําคําของบประมาณ พรอมทั้งรายละเอียดงบประมาณตามแผนงาน ฯลฯ มายังกระทรวง กระทรวงจะพิจารณาแกไขตามที่กระทรวงจะเห็นสมควร เพื่อใหสอดคลองกับนโยบายของกระทรวง ของรัฐบาล และของประเทศ แลวนําเสนอตอสํานักงบประมาณเพื่อพิจารณาอนุมัติตอไป๑.๑๐ สํานักงบประมาณพิจารณารายละเอียดงบประมาณสํานักงบประมาณจะพิจารณารายละเอียดงบประมาณที่กระทรวงเสนอมา โดยพิจารณาความเหมาะสมในดานตางๆ เชน ความสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ความสอดคลองกับนโยบายของรัฐบาล ความพรอมของกระทรวงหรือกรมที่จะปฏิบัติงานนั้นๆ อํานาจหนาที่ของกระทรวงหรือกรมนั้นๆ เปนตน แลวสํานักงบประมาณจะแกไขปรับปรุงรายละเอียดใหเหมาะสมที่สุด เพื่อจัดสงรายละเอียดและพิมพเปนเอกสารงบประมาณเสนอตอคณะรัฐมนตรีอีกครั้งหนึ่งตอไป๑.๑๑ คณะรัฐมนตรีพิจารณาราง พ.ร.บ.งบประมาณรายจายคณะรัฐมนตรีจะพิจารณาราง พ.ร.บ.งบประมาณรายจาย พรอมทั้งรายละเอียดแผนงาน และงานตางๆ ที่กรมจะปฏิบัติในงบประมาณที่ขอมา โดยจะพิจารณาถึงแผนงานโครงการตางๆ วาเหมาะสมเพียงใดหรือไม พรอมทั้งแกไขกอนที่รัฐบาลจะเสนอตอรัฐสภาตอไป๒. การอนุมัติงบประมาณ หมายถึง การที่ฝายนิติบัญญัติหรือรัฐสภา พิจารณางบประมาณที่ฝายบริหารหรือรัฐบาลจัดเตรียมและเสนอขอขึ้นมา โดยฝายนิติบัญญัติมีอํานาจที่จะวิเคราะห ตัด และแกไขเปลี่ยนแปลงงบประมาณที่ฝายบริหารเสนอขึ้นมาได แตจะตองอยูภายในวงเงินงบประมาณที่เสนอขอขึ้นมาซึ่งในการพิจารณาของรัฐสภา ทั้งสภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภา ดังนี้การพิจารณาของสภาผูแทนราษฎรพ.ร.บ.งบประมาณรายจายเปนกฎหมายที่มีความสําคัญ ดังนั้นในการพิจารณาควรกระทําอยางรอบคอบ จึงตองพิจารณาทีละวาระ รวม ๓ วาระ และจะพิจารณา ๓ วาระรวมในครั้งเดียวไมได โดยมีรายละเอียดในแตละวาระดังนี้๑. วาระที่ ๑ จะพิจารณาวาจะรับหลักการแหง พ.ร.บ.หรือไมจะเปนการพิจารณาถึงนโยบายการเงินการคลังโดยทั่วไป ตลอดจนแหลงที่มาของรายรับที่จะนํามาจัดทําเปนงบประมาณรายจาย รัฐบาลจะชี้แจงถึงนโยบายในการจัดทํางบประมาณรายจายวามีความสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ รวมทั้งนโยบายที่รัฐบาลไดแถลงตอรัฐสภาไวอยางไร ตลอดจนประโยชนที่สวนรวมจะไดรับ ในการพิจารณาอาจมีการทวงติง เสนอแนะ ซักถาม๖


คัดคานในประเด็นตางๆ แลวจะมีการลงมติวาจะรับหลักการ หรือไม ถาสภาผูแทนราษฎรรับหลักการตามที่รัฐบาลเสนอ ก็จะนําราง พ.ร.บ.งบประมาณรายจายนี้เขาสูการพิจารณาในวาระที่ ๒ ตอไปในทางปฏิบัติ เนื่องจากงบประมาณรายจายของทุกสวนราชการในประเทศไทยมีรายละเอียดตองพิจารณาคอนขางมาก ประกอบกับสภาผูแทนราษฎรมีเปนจํานวนมาก หากจะใหสมาชิกสภาผูแทนราษฎรทั้งหมดเปนผูพิจารณาจะใชระยะเวลาในการดําเนินการนานมาก อันอาจจะมีผลทําให พ.ร.บ.งบประมาณรายจายประกาศใชไมทันภายในระยะเวลาที่กําหนด ดังนั้นเมื่อมีการลงมติในวาระที่ ๑แลว จะมีการแตงตั้งคณะทํางานขึ้นมาชุดหนึ่งเพื่อเปนตัวแทนของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรทั้งสภาเพื่อพิจารณาในเรื่องดังกลาว เรียกวา คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาราง พ.ร.บ.งบประมาณรายจายประจําปโดยหลักการแลวจะมีรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง เปนประธาน และผูอํานวยการสํานักงบประมาณเปนเลขานุการ โดยตําแหนง คณะกรรมาธิการฯ ชุดนี้มีอํานาจในการตัดทอน เพิ่มหรือเปลี่ยนแปลงรายละเอียดงบประมาณรายจายของกระทรวง ทบวง กรมตางๆ ไดตามที่เห็นสมควร แตทั้งนี้ตองอยูภายในวงเงินที่รัฐบาลเสนอในวาระที่ ๑ โดยจะพิจารณาแกไขเปลี่ยนแปลง พ.ร.บ.ดวยตนเอง หรือพิจารณาตามคําขอแกของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรคนอื่นๆ ที่มิไดเปนกรรมาธิการฯ ก็ได การขอแกไขเปลี่ยนแปลงนี้เรียกวา การแปรญัตติ และเมื่อพิจารณาเสร็จแลวก็จะนําเสนอตอสภาผูแทนราษฎรเพื่อพิจารณาในวาระที่ ๒ ตอไป๒. วาระที่ ๒ จะพิจารณาในรายละเอียดของราง พ.ร.บ.เปนรายมาตราจะเปนการกลับมาประชุมเต็มสภาโดยสมาชิกสภาผูแทนราษฎรทั้งหมดอีกครั้งหนึ่งภายหลังจากที่ตัวแทนของสมาชิกสภาผูแทนราษฎร (คณะกรรมาธิการฯ) ไดพิจารณารายละเอียดของงบประมาณรายจายโดยละเอียดไปแลว การพิจารณาจะเริมตนดวยชื่อราง คําปรารภ แลวจึงพิจารณาเรียงตามลําดับเปนรายมาตราหรือรายกระทรวงไป๓. วาระที่ ๓ เปนการพิจารณาวาจะใหรางๆ พ.ร.บ.นี้ตราเปนกฎหมายหรือไมการพิจารณาในวาระนี้จะไมมีการอภิปราย แตจะเปนการลงมติวาจะใหราง พ.ร.บ.งบประมาณรายจายประจําป ที่รัฐบาลเสนอนี้ประกาศใชเปนกฎหมายหรือไม ซึ่งเมื่อสภาผูแทนราษฎรเห็นชอบราง พ.ร.บ.งบประมาณรายจายนี้แลว จะเสนอวุฒิสภา เพื่อรับความเห็นชอบกอนออกเปนกฎหมายบังคับใชตอไปการพิจารณาของวุฒิสภาวุฒิสภาจะพิจารณาราง พ.ร.บ.งบประมาณรายจาย โดยวิธีการเชนเดียวกับการพิจารณาของสภาผูแทนราษฎรตามที่กลาวขางตน โดยจะตองพิจารณาใหแลวเสร็จภายใน ๑๕ วัน นับแตวันที่รางพ.ร.บ.มาถึงวุฒิสภา เวนแตสภาผูแทนราษฎรจะลงมติใหขยายเวลาออกไปเปนกรณีพิเศษ หากวุฒิสภาไมสามารถพิจารณาใหแลวเสร็จไดภายในเวลาที่กําหนดใหถือวาวุฒิสภาใหความเห็นชอบราง พ.ร.บ.นั้นแลวถาวุฒิสภาไมเห็นดวยกับราง พ.ร.บ.หรือใหแกไขเพิ่มเติมอยางไร วุฒิสภาจะยับยั้งและสงราง พ.ร.บ.นั้นคืนไปยังสภาผูแทนราษฎร แตถาเห็นชอบ นายกรัฐมนตรีจะนําทูลเกลาฯ ถวาย เพื่อพระมหากษัตริยลงพระปรมาภิไธย และประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา เพื่อเปนกฎหมายบังคับใชตอไป๗


๓. การบริหารงบประมาณ หมายถึง การควบคุมการใชจายงบประมาณใหเปนไปตามรายการและแผนงานหรืองานที่ฝายบริหารไดรับอนุมัติงบประมาณมาใชจายจากรัฐสภา เพื่อปองกันการรั่วไหลของเงินงบประมาณแผนดิน โดยวิธีการอนุมัติเงินประจํางวด การเบิกเงิน การตรวจสอบ ตลอดจนการรายงานผลการใชจายงบประมาณเพื่องานนั้นๆ ซึ่งมีรายละเอียดตามขั้นตอนตางๆ ดังนี้๓.๑ สวนราชการขอเงินประจํางวดเมื่อสวนราชการไดทราบวา พ.ร.บ.งบประมาณรายจายประกาศใชแลว สวนราชการจะตองขออนุมัติเงินประจํางวดมายังสํานักงบประมาณ ซึ่งในการอนุมัติเงินประจํางวดนี้ สํานักงบประมาณจะอนุมัติใหใชจายเปนงวดๆ โดยตามปกติจะเปนเวลา ๓ หรือ ๔ เดือนตองวด แลวแตผูอํานวยการสํานักงบประมาณจะกําหนด ทั้งนี้เพื่อใหการใชจายเงินของสวนราชการเหมาะสมกับกําลังเงินที่รัฐบาลไดรับ ทําใหสวนราชการคอยพิจารณากิจการในหนาที่ของตนทุกระยะงวดเงินเพื่อสอบทานการปฏิบัติงานของสวนราชการใหมีการแกไขเปลี่ยนแปลงตามสภาวการณที่เปลี่ยนแปลงไป รวมทั้งทําใหสวนราชการมีเงินใชไดตลอดป๓.๒ สํานักงบประมาณอนุมัติเงินประจํางวดสํานักงบประมาณจะพิจารณาเงินประจํางวดที่สวนราชการขอมา โดยพิจารณารายละเอียดตางๆ ตามลักษณะแผนงาน หมวดเงิน และแบบรูปรายการตางๆ ที่กําหนดไวเปนระเบียบและมาตรฐานในการพิจารณางบประมาณ แลวจะอนุมัติเงินประจํางวดไปตามเหตุผลและระเบียบที่กําหนดไว๓.๓ การวางฎีกาเมื่อไดรับอนุมัติเงินประจํางวดจากสํานักงบประมาณแลว สวนราชการก็จะวางฎีกาขอเบิกเงินจากกรมบัญชีกลาง หรือคลังจังหวัดแลวตอกรณี โดยหากอยูสวนกลางจะวางฎีกาที่กรมบัญชีกลางและถาเปนสวนภูมิภาคจะวางฎีกาที่คลังจังหวัด๓.๔ กรมบัญชีกลางหรือคลังจังหวัดอนุมัติฎีกากรมบัญชีกลางจะพิจารณาหลักฐานและรายละเอียดตางๆ ที่สวนราชการเสนอประกอบการพิจารณาตามระเบียบที่กําหนดไว แลวกรมบัญชีกลางหรือคลังจังหวัดก็จะอนุมัติฎีกานั้นๆ๓.๕ การเบิกจายเงินประจํางวดสวนราชการเมื่อไดรับอนุมัติแลวก็จะไปเบิกเงินประจํางวดไปใชจายตามที่สวนราชการตองการได ซึ่งก็จะตองใชจายไปตามลักษณะแผนงาน งาน และหมวดเงินงบประมาณ ตามรายการที่กําหนดไวในเอกสารงบประมาณและที่ไดรับอนุมัติไว๓.๖ สํานักงานตรวจเงินแผนดินตรวจสอบเมื่อเบิกและใชจายเงินไปแลว สํานักงานตรวจเงินแผนดินจะตรวจสอบวาไดใชเงินไปตามที่เบิกไปจริงหรือไม และไดใชจายไปในงานที่กําหนดไวหรือไม เพื่อควบคุมการบริหารงบประมาณใหการใชจายเงินไมรั่วไหล และใหปฏิบัติใหถูกตองตามระเบียบทางการเงิน และระเบียบอื่นๆ เชน ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ เปนตน๘


๙บทที่ ๒การจัดทํางบประมาณของ ทร.กอนที่จะนําไปสูกระบวนการหรือขั้นตอนในการจัดทํางบประมาณของ ทร.ตอไปนั้น เพื่อใหผูอานไดมีความเขาใจในเนื่องเรื่องที่จะกลาวตอไป จึงนาที่จะทําความเขาใจกับคําศัพทดานงบประมาณที่ใชกันในทร.โดยทั่วไปเสียกอนบางคําเสียกอน ดังนี้ลักษณะของการใชจายงบประมาณการใชจายงบประมาณของ ทร.จะเปลี่ยนแปลงไปตามโครงสรางงบประมาณในแตละป ขึ้นอยูกับวาโครงสรางงบประมาณของ ทร.เปนอยางไร อยางไรก็ตามการใชจายงบประมาณหลักของ ทร.ในแตละปจะมีลักษณะการใชจายงบประมาณ แบงออกเปน ๓ กลุมใหญ ๆ ไดดังนี้๑. งบประมาณดานบริหารทั่วไป๑.๑ งบประจํา เปนงบประมาณที่มีลักษณะการใชจายประจํา เพื่อใชในการบริหารกําลังพล การบริหารงาน การฝกอบรมและศึกษา กิจการทูต และกิจการพิเศษอื่น ๆ ซึ่งคาใชจายประเภทงบประมาณและการเงิน ที่ไดกําหนดไวอยางแนชัด คาใชจายในงบประจํานี้ไดจัดไวในแผนงานบริหารทั่วไป งานดํารงสภาพกําลังทหาร๑.๒ งบจัดซื้อ/จัดจาง งบประมาณในสวนนี้เปนคาใชจายที่หนวยเทคนิคตามสายงานสงกําลังและหนวยงานอื่นๆ ของ ทร. ที่ไดรับการจัดสรร งป.ใชในการจัดหา ผลิตเพื่อแจกจาย และการซอมบํารุงทั้งนี้เพื่อใหหนวยสามารถดํารงสภาพและปฏิบัติภารกิจของ ทร.ตามที่ไดรับมอบหมายอยางมีประสิทธิภาพซึ่งงบคาใชจายนี้ จัดไวในแผนงานบริหารทั่วไป งานดํารงสภาพกําลังทหาร งานวิจัยและพัฒนาการทางทหาร๒. งบประมาณดานการปองกันราชอาณาจักร เปนงบประมาณที่ใชในการพัฒนาเสริมสรางกําลังกองทัพ การพัฒนาทั่วไป การปฏิบัติงานของหนวยเฉพาะกิจ การปฏิบัติตามแผน คําสั่ง นโยบายของ ทร.และหนวยเหนือที่อยูในความรับผิดชอบของ ทร. ซึ่งงบประมาณคาใชจายในสวนนี้ไดจัดไวในแผนงานปองกันราชอาณาจักร งานปองกันราชอาณาจักร งานดําเนินการในลักษณะปกปด งานพิเศษ และงานกอสรางบานพักโรงเรือนและกอสรางอื่น ๆ๓. งบประมาณดานการบริการสาธารณสุข งบประมาณในสวนนี้เปนคาใชจายในการจัดหาผลิตเพื่อแจกจาย และซอมบํารุงสายงานการแพทย รวมทั้งเงินอุดหนุนโรงพยาบาลในสังกัด ทร. และเงินเพิ่มพิเศษแพทย ทันตแพทย และเภสัชกร ที่ไมทําเวชปฏิบัติสวนตัวตามวิชาชีพ นอกเวลาราชการการจําแนกประเภทรายจายงบประมาณของ ทร. สามารถจําแนกประเภทรายจายออกไดเปน ๗ หมวดรายจาย ดังนี้๑. หมวดเงินเดือน และคาจางประจํา


เงินเดือน หมายความวา เงินที่จายใหแกขาราชการทุกประเภทเปนรายเดือน โดยมีอัตรากําหนดไวแนนอนในบัญชีถือจายเงินเดือนประจําปที่กรมบัญชีกลางไดตรวจสอบยืนยันวาถูกตอง และรวมตลอดถึงเงินที่กระทรวงการคลังกําหนดใหจายในลักษณะเงินเดือน และเงินเพิ่มอื่นๆ ที่จายควบกับเงินเดือน เชน๑. เงินเพิ่มประจําตําแหนงและเงินเพิ่มของประธานรัฐสภา ประธานวุฒิสภาและประธานสภาผูแทนราษฎร๒. เงินประจําตําแหนงและเงินเพิ่มของรองประธานวุฒิสภา รองประธานสภาผูแทนราษฎรและผูนําฝายคานในสภาผูแทนราษฎร๓. เงินประจําตําแหนงและเงินเพิ่มของสมาชิกวุฒิสภา และสมาชิกสภาผูแทนราษฎร๔. เงินประจําตําแหนงและเงินเพิ่มของประธานตุลาการรัฐธรรมนูญ และตุลาการรัฐธรรมนูญ๕. เงินประจําตําแหนงของขาราชการ๖. เงินเพิ่มสําหรับตําแหนงขาราชการการเมือง๗. เงินประจําตําแหนงขององคมนตรีและรัฐบุรุษ๘. เงินเพิ่มคาวิชา (พ.ค.ว.)๙. เงินเพิ่มพิเศษคาภาษามาลายู (พ.ภ.ม.)๑๐. เงินเพิ่มพิเศษสําหรับผูซึ่งดํารงตําแหนงครูชางอาชีวศึกษา ตามโครงการเงินกูเพื่อพัฒนาอาชีวศึกษา (พ.ค.ช.)๑๒. เงินเพิ่มประจําตําแหนงที่ตองฝาอันตรายเปนปกติ๑๓. เงินเพิ่มพิเศษผูทําหนาที่ปกครองโรงเรียนตํารวจ (พ.ร.ต.)๑๔. เงินเพิ่มพิเศษสําหรับขาราชการซึ่งมีตําแหนงหนาที่ประจําอยูในตางประเทศ (พ.ข.ต.)๑๕. เงินเบี้ยกันดารคาจางประจํา หมายความวา เงินที่จายเปนคาจางใหแกลูกจางประจําของสวนราชการ โดยมีอัตรากําหนดไวแนนอนในบัญชีถือจายเงินเดือนประจําปที่กรมบัญชีกลางไดตรวจสอบยืนยันวาถูกตอง และรวมตลอดถึงเงินที่กระทรวงการคลังกําหนดใหจายในลักษณะคาจางประจํา และเงินเพิ่มอื่นๆ ที่จายควบกับคาจางประจํา เชน๑.เงินเพิ่มพิเศษสําหรับการสูรบ๒. เงินเบี้ยกันดาร๒. หมวดคาจางชั่วคราวเดิมหมวดรายจายนี้อยูรวมกับ หมวดเงินเดือน และคาจางประจํา ตามขอ ๒.๑ แตในป ๒๕๔๑เนื่องจากรัฐบาลมีนโยบายที่จะควบคุมการจางลูกจางของสวนราชการตางๆ ทั้งประเทศ ใหเปนไปอยางประหยัดเทาที่จําเปนแกการปฏิบัติงานอยางแทจริงเทานั้น สํานักงบประมาณจึงไดแยกรายจายในสวนของ๑๐


การจางลูกจางชั่วคราวของสวนราชการตางๆ ออกมาตางหาก เรียกวา หมวดคาจางชั่วคราว เพื่อใหสามารถควบคุมการใชจายไดชัดเจนยิ่งขึ้น๓. หมวดคาตอบแทน ใชสอยและวัสดุคาตอบแทน หมายความวา เงินที่จายตอบแทนใหแกผูปฏิบัติงานใหทางราชการ เชน๑. เงินคาเชาบานขาราชการ๒. เงินตอบแทนตําแหนงและเงินอื่นๆ ใหแกกํานัน ผูใหญบาน แพทยประจําตําบล สารวัตรกํานันผูชวยผูใหญบานฝายรักษาความสงบ ผูชวยผูใหญบานฝายปกครอง อาทิ เงินชวยเหลือเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร เงินชวยเหลือในการทําศพ๓. คาตอบแทนกํานัน ผูใหญบาน และสมาชิกอาสารักษาดินแดนที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการเลือกตั้ง๔. คาตอบแทนกรรมการตรวจคะแนน กรรมการสํารอง และเสมียนคะแนนในการเลือกตั้ง๕. คาตอบแทนผูปฏิบัติงานดานการักษาความเจ็บปวยนอกเวลาราชการและในวันหยุดราชการ๖. เงินรางวัลกํานัน ผูใหญบาน แพทยประจําตําบล สารวัตรกํานัน และผูชวยผูใหญบาน๗. เงินประจําตําแหนงผูบริหารในมหาวิทยาลัย๘. เงินสมนาคุณวิทยากรในการฝกอบรมของสวนราชการ๙. เงินสมนาคุณกรรมการสอบสวนวินัยขาราชการ๑๐. เงินสมนาคุณอาจารยสาขาวิชาที่ขาดแคลนในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ๑๑. เงินคาฝาอันตรายเปนครั้งคราว๑๒. เงินคาที่พักผูเชี่ยวชาญชาวตางประเทศ๑๓. เงินพิเศษที่จายใหแกลูกจางของสํานักราชการในตางประเทศตามประเพณีทองถิ่น๑๔. คาจางนอกเวลา คาอาหารทําการนอกเวลา๑๕. คาสอนพิเศษในสถานศึกษาของทางราชการ๑๖. เงินรางวัลกรรมการสอบ๑๗. คาตรวจกระดาษคําตอบ๑๘. คาคุมสอบ๑๙. คาพาหนะเหมาจาย๒๐. คาเบี้ยประชุมกรรมการ๒๑. คาปวยการในการพิสูจนรังวัดที่ดิน๒๒. คารักษาพยาบาลขาราชการซึ่งมีตําแหนงหนาที่ประจําอยูในตางประเทศ๒๓. เงินชวยเหลือการศึกษาบุตรของขาราชการซึ่งมีตําแหนงหนาที่อยูในตางประเทศ๑๑


๑๒คาใชสอย หมายความวา รายจายเพื่อใหไดมาซึ่งบริการใดๆ (นอกจากบริการสาธารณสุข) รายจายเกี่ยวกับการรับรองและพิธีการ และรายจายเกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติราชการ ที่ไมเขาลักษณะรายจายหมวดอื่นๆคาวัสดุ หมายความวา รายจายเพื่อซื้อหรือจางทําสิ่งของซึ่งโดยสภาพยอมสิ้นเปลือง เปลี่ยน หรือสลายตัวในระยะเวลาอันสั้น รวมทั้งสิ่งของที่สวนราชการซื้อมาเพื่อการบํารุงรักษาหรือซอมแซมทรัพยสินคาซื้อหรือจางทําสิ่งของซึ่งตามปกติมีลักษณะคงทนถาวร และมีอายุการใชงานยืนนาน แตมีราคาหนวยหนึ่งไมเกิน ๕, ๐๐๐ บาท ใหเบิกจายในลักษณะคาวัสดุ แตถาราคาเกิน ๕,๐๐๐ บาท หรือเปนสิ่งของซึ่งมีระบุไวในรายจายลักษณะคาครุภัณฑ ใหเบิกจายในลักษณะคาครุภัณฑคาใชจายตางๆ ในการสั่งซื้อหรือจางทําสิ่งของดังกลาวจากตางประเทศโดยตรง ซึ่งตองชําระพรอมกับคาสิ่งของ เชน คาขนสงจากตางประเทศมายังประเทศไทย คาภาษีในตางประเทศ คาประกันภัยสิ่งของเปนตน ใหเบิกจายในลักษณะคาวัสดุคาวัสดุยังจําแนกเปนประเภทตางๆ ไดดังนี้๑. วัสดุสํานักงาน๒. วัสดุไฟฟาและวิทยุ๓. วัสดุบานงานครัว๔. วัสดุเครื่องบริโภค๕. วัสดุกอสราง๖. วัสดุยานพาหนะและขนสง๗. วัสดุเชื้อเพลิงและหลอลื่น๘. วัสดุวิทยาศาสตรหรือการแพทย๙. วัสดุการเกษตร๑๐. วัสดุโฆษณาและเผยแพร๑๑. วัสดุเครื่องแตงกาย๑๒. วัสดุอื่นๆ ซึ่งเปนวัสดุนอกเหนือจากที่กลาวขางตน๔. หมวดคาครุภัณฑ ที่ดินและสิ่งกอสรางคาครุภัณฑ หมายความวา รายจายเพื่อซื้อ จางทําหรือแลกเปลี่ยนสิ่งของ ซึ่งตามปกติมีลักษณะคงทนถาวร มีอายุการใชงานยืนนานคาใชจายตางๆ ที่เกิดขึ้นเนื่องจากการประกอบ ดัดแปลง หรือตอเติมสิ่งของดังกลาวในวรรคแรกตลอดจนคาใชจายในการสั่งซื้อสิ่งของดังกลาวจากตางประเทศโดยตรง ซึ่งตองชําระพรองกับคาสิ่งของ เชน


คาขนสงจากตางประเทศมายังประเทศไทย คาภาษีในตางประเทศ คาประกันภัยสิ่งของเปนตน ใหเบิกจายในลักษณะคาครุภัณฑคาครุภัณฑยังจําแนกเปนประเภทตางๆ ไดดังนี้๑. ครุภัณฑสํานักงาน๒. ครุภัณฑยานพาหนะและขนสง๓. ครุภัณฑการเกษตร๔. ครุภัณฑกอสราง๕. ครุภัณฑไฟฟาและวิทยุ๖. ครุภัณฑโฆษณาและเผยแพร๗. ครุภัณฑวิทยาศาสตรหรือการแพทย๘. ครุภัณฑงานบานงานครัว๙. ครุภัณฑโรงงาน๑๐. ครุภัณฑกีฬา๑๑. ครุภัณฑสนาม๑๒. ดนตรี๑๓. ครุภัณฑอื่นๆ ซึ่งเปนครุภัณฑนอกเหนือจากที่กลาวขางตนคาที่ดินและสิ่งกอสราง หมายความวา รายจายเพื่อใหไดมาซึ่งที่ดิน และหรือสิ่งกอสราง รวมทั้งสิ่งตางๆ ซึ่งติดอยูกับที่ดินและสิ่งกอสราง และคาใชจายตางๆ ซึ่งเกิดขึ้นเนื่องจากการปรับปรุงที่ดิน หรือสิ่งกอสราง ซึ่งมิใชเปนการซอมแซมตามปกติ๕. หมวดคาสาธารณูปโภคคาสาธารณูปโภค หมายความวา รายจายเพื่อใหไดมาซึ่งบริการสาธารณูปโภค เชน๑. คาไฟฟา๒. คาน้ําประปา๓. คาโทรศัพท คาโทรศัพททางไกลภายในประเทศ คาโทรศัพททางไกลระหวางประเทศ คาโทรศัพทเคลื่อนที่ ฯลฯ และใหหมายรวมถึงคาใชจายที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับการใชบริการดวย เชน คาเชาเครื่องและหรือเลขหมายโทรศัพท คาบํารุงรักษาสาย ฯลฯ๔. คาไปรษณีย คาโทรเลข คาธนาณัติ คาซื้อดวงตราไปรษณียยากร ฯลฯ๕. คาบริการทางดานโทรคมนาคม เชน โทรภาพ หรือโทรสาร คาเทเล็กซ คาวิทยุติดตามตัวคาวิทยุสื่อสาร คาสื่อสารผานดาวเทียม และคาสื่อสารอื่นๆ และใหหมายรวมถึงคาใชจายตางๆ ที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับการใชบริการดวย๑๓


๖. หมวดเงินอุดหนุนเงินอุดหนุน หมายถึง เงินที่จายเพื่อชวยเหลือหรือจายเปนจายเปนคาบํารุงแกองคการเอกชน นิติบุคคล หรือกิจการอันเปนสาธารณประโยชน ซึ่งจําแนกไดดังนี้๑. เงินบํารุงและอุดหนุนองคการระหวางประเทศ เชน คาบํารุงองคการสหประชาชาติ คาบํารุงกองทุนพัฒนาแหงสหประชาชาติ คาบํารุงองคการธรณีวิทยาสากล เงินอุดหนุนองคการยูนิเซฟ และเงินอุดหนุน องคการอนามัยโลก เปนตน๒. เงินอุดหนุนองคการบริหารสวนทองถิ่น เชน เงินอุดหนุนองคการบริหารสวนจังหวัด เงินอุดหนุนเทศบาล เงินอุดหนุนสุขาภิบาล และเงินอุดหนุนกรุงเทพมหานคร เปนตน๓. เงินอุดหนุนเอกชนหรือกิจการที่เปนสาธารณประโยชน เชนคาใชจายนักเรียนทุนในตางประเทศเงินอุดหนุนคณะกรรมการโอลิมปค เงินอุดหนุนโรงเรียนราษฎร และเงินอุดหนุนสภากาชาดไทย เปนตน๔. เงินอุดหนุนงบประมหากษัตริย เชน คาใชจายในพระองค เงินพระราชกุศล เงินปพระบรมวงศานุวงศ และเงินเบี้ยหวัดขาราชการฝายใน เปนตน๕. เงินอุดหนุนการศาสนา เชน เงินอุดหนุนบูรณะวัด เงินอุดหนุนการศึกษาปริยัติธรรม เงินอุดหนุนคณะกรรมการกลางอิสลาม และเงินอุดหนุนมิซซังตางๆ เปนตน๖. เงินอุดหนุนโดยอนุโลม เชน คาฌาปนกิจ คาสินบนและคารางวัลนําจับ เปนตนนอกจากนี้รายจายหมวดเงินอุดหนุนยังจะจําแนกเปนประเภทตางๆ ไดอีกลักษณะหนึ่ง เพื่อประโยชนในการควบคุมงบประมาณ คือ๑. เงินอุดหนุนทั่วไป หมายความวา เงินที่จายเพื่อชวยเหลือ หรือจายเปนคาบํารุงแกองคการเอกชนนิติบุคคล หรือกิจการอันเปนสาธารณประโยชน โดยจะอนุมัติใหไปทั้งจํานวน โดยไมมีการควบคุมในรายละเอียดการใชจาย๒. เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ หมายความวา เงินที่จายเพื่อชวยเหลือแกองคการ เอกชน นิติบุคคล หรือกิจการอันเปนสาธารณประโยชน ตามรายการและรายละเอียดที่สํานักงบประมาณกําหนด โดยจะอนุมัติใหตามวัตถุประสงคและความจําเปนในการใชจาย และมีการควบคุมรายละเอียดในการใชจาย๗. หมวดรายจายอื่นรายจายอื่น หมายความวา รายจายตางๆ ซึ่งไมเขาลักษณะรายจายหมวดหนึ่งหมวดใดดังกลาวขางตน และสํานักงบประมาณกําหนดใหอยูในหมวดนี้ เชน๑. เงินราชการลับ๒. คาจางออกแบบ๓. คาจางควบคุมงาน๔. คาจางบริษัทที่ปรึกษา๕. คาซอมใหญเครื่องจักรกลและยานพาหนะ (OVERHAUL)๑๔


๖. คาภาษีและคาธรรมเนียมในการออกของ๗. คาภาษีผูเชี่ยวชาญชาวตางประเทศ(รายละเอียดเพิ่มเติมเปนไปตามเอกสารการจําแนกประเภทรายจายตามงบประมาณ กองกฎหมายและมาตรฐานงบประมาณ ของสํานักงบประมาณ)การจัดทํางบประมาณของ ทร.แนวทางการจัดทํางบประมาณของ ทร. เปนไปโดยสอดคลองกับวงรอบจัดทํางบประมาณของประเทศในบทที่ ๑ โดยในสวนของ ทร.จะมีการดําเนินการเปนการลวงหนาเพื่อใหสามารถรวบรวมขอมูลความตองการงบประมาณของหนวยตางๆ ใน ทร.ไดเรียบรอย และพรอมที่จะเสนอสํานักงบประมาณไดตามระยะเวลาที่กําหนด โดยการปฏิบัติในเรื่องนี้ถือปฏิบัติตามระเบียบ ทร.วาดวยการงบประมาณ พ.ศ.๒๕๔๒ มีขั้นตอนการปฏิบัติดังนี้๑. สปช.ทร.แจงใหหนวยตางๆ เสนอความตองการงบประมาณประจําปเนื่องจากการรวบรวมความตองการงบประมาณในทุกรายการของทุกหนวยใน ทร. จะตองใชระยะเวลาคอนขางมาก ดังนั้นเพื่อเปนการเตรียมการในเรื่องดังกลาวเปนการลวงหนา ประมาณเดือนพฤษภาคมของทุกป สปช.ทร.จะมีหนังสือแจงใหหนวยรับผิดชอบงบประมาณ รวบรวมความตองการงบประมาณประจําป ในสายงานที่รับผิดชอบ สงใหกับ สปช.ทร. (รายละเอียดยอดคาใชจายตางๆ ที่หนวยรับผิดชอบงบประมาณเปนผูรวบรวมความตองการ ตามผนวกที่แนบ) เพื่อรวบรวมเปนความตองการงบประมาณของกองทัพเรือในภาพรวม กอนปที่ขอตั้งงบประมาณไมนอยกวา ๑๕ เดือน (มิถุนายน) ตอไปทั้งนี้หนวยรับผิดชอบงบประมาณ จะตองจัดเตรียมขอมูลเพื่อชี้แจงเหตุผลความจําเปนของความตองการงบประมาณในสวนที่ตนรับผิดชอบไวเพื่อชี้แจงกับสํานักงบประมาณ ในโอกาสตอไปดวย๒. สํานักงบประมาณ แจงปฏิทินงบประมาณรายจายประจําปประมาณเดือนพฤศจิกายน - เดือนธันวาคม ของทุกป สํานักงบประมาณ จะมีหนังสือถึงสวนราชการตางๆ แจงปฏิทินงบประมาณรายจายประจําป และทิศทางการจัดสรรงบประมาณรายจายประจําปนั้นๆ เพื่อใหสวนราชการเตรียมการวางแผนและดําเนินการเกี่ยวกับการจัดทํางบประมาณรายจายประจําปถัดไป และสงคูมือปฏิบัติในเรื่องดังกลาวใหสวนราชการใหเปนแนวทางในการดําเนินการ มีสาระสําคัญที่เกี่ยวของสรุปไดดังนี้๑.๑ กําหนดกรอบวงเงินงบประมาณรายจายประจําปของประเทศ เพื่อใหสวนราชการใชเปนกรอบในการจัดทําคําของบประมาณรายจาย ในระดับกระทรวง ทบวง ที่สวนราชการและรัฐวิสาหกิจจําเปนตองใช๑.๒ กําหนดกรอบวงเงินในการจัดทําคําของบประมาณรายจายประจําป พรอมทั้งกําหนดระยะเวลาที่ใหจัดสงใหกับสํานักงบประมาณ๑.๓ กําหนดนโยบายการจัดสรรงบประมาณประจําป๑๕


๑.๔ ใหสวนราชการจัดทําประมาณการรายได รายงานการคลัง และรายงานฐานะการเงินของกองทุนหมุนเวียนป เสนอผานรัฐมนตรีเจาสังกัด พรอมทั้งกําหนดระยะเวลาที่ใหจัดสงใหกับสํานักงบประมาณ๓. สปช.ทร.แจงหนวยจัดทําประมาณการรายไดในการแจงปฏิทินงบประมาณรายจายประจําปของสํานักงบประมาณตามที่กลาว ในสวนหนึ่งสวนราชการตางๆ จะตองจัดทําประมาณการรายไดสงใหกับสํานักงบประมาณดวย ซึ่งในสวนของ ทร.เมื่อไดรับแจงจากสํานักงบประมาณ สปช.ทร.จะแจงให กง.ทร.จัดทําประมาณการรายไดของ ทร.ประจําปงบประมาณถัดไป แลวสงให สปช.ทร.เพื่อเสนอ กห.เปนประมาณการรายไดของ ทร.เพื่อเสนอสํานักงบประมาณ เปนประมาณการรายไดของ กห.ประจําปงบประมาณในภาพรวมอีกครั้งหนึ่งตอไป๔. สปช.ทร.เสนอ ทร.ขอความเห็นชอบคําขอตั้งงบประมาณประจําปเมื่อ สปช.ทร.ไดรับความตองการงบประมาณจากหนวยรับผิดชอบงบประมาณ ในสายงานตางๆ แลว สปช.ทร.จะทําการรวบรวม วิเคราะห จัดลําดับ และปรับปรุง วงเงินความตองการใหเปนไปโดยเหมาะสม และสอดคลองกับแนวทางการจัดทํางบประมาณที่สํานักงบประมาณกําหนด แนวทางกระทรวงกลาโหม และแนวทาง บก.ทหารสูงสุด รวมทั้งนโยบาย ทร.แลวเสนอ ทร.ขอความเห็นชอบคําขอตั้งงบประมาณรายจายประจําป เพื่อเสนอ บก.ทหารสูงสุด รวบรวมเสนอ กห.เปนคําของบประมาณรายจายประจําปของ กห. กอนปที่ขอตั้งงบประมาณไมนอยกวา ๑๒ เดือน (กันยายน) ตอไป การขอตั้งงบประมาณรายจายประจําป สปช.ทร.ไดยึดถือหลักเกณฑตามผนวกที่แนบ๕. สํานักงบประมาณพิจารณารายละเอียดคําของบประมาณรายจายประจําปเมื่อสํานักงบประมาณ ไดรับคําของบประมาณรายจายประจําปของ กห.แลว หนวยงานของสํานักงบประมาณที่เกี่ยวของคือ สํานักความมั่นคงและบริหารทั่วไป จะจัดเจาหนาที่มารับทราบขอมูลของแตละเหลาทัพ เพื่อนําไปประกอบการพิจารณาแบงสรรงบประมาณใหกับสวนราชการแตละหนวยใน กห.ตอไป ซึ่งในทางปฏิบัติเพื่อใหสํานักงบประมาณไดรับทราบขอมูลและเหตุผลความจําเปนที่ถูกตองชัดเจนจากหนวยที่เกี่ยวของโดยตรง สปช.ทร.จะเชิญหนวยรับผิดชอบงบประมาณ ตลอดจนหนวยตางๆ ที่จําเปนรวมชี้แจงเหตุผลความจําเปนในการใชจายงบประมาณในรายการตางๆ กับสํานักงบประมาณ ดวย๖. สํานักงบประมาณแจงวงเงินงบประมาณรายจายประจําปเมื่อสํานักงบประมาณไดรับขอมูล รวมถึงรับทราบเหตุผลความจําเปนของสวนราชการในกห.เรียบรอยแลว จะนําขอมูลที่ไดรับไปประกอบการพิจารณาในการแบงสรรวงเงินใหกับสวนราชการตางๆใน กห. ภายในกรอบวงเงินในการจัดทําคําของบประมาณรายจายประจําปของ กห.ที่กําหนดเบื้องตนตามที่กลาวในขอ ๒. แลวแจงวงเงินจัดสรรของ กห. เพื่อใหสวนราชการตางๆ ใน กห.พิจารณารายละเอียดวงเงินที่ไดรับจัดสรรวา เปนไปตามความตองการในการใชจายงบประมาณของสวนราชการนั้นๆ หรือไมหรือมีความตองการจะปรับปรุงเปลี่ยนแปลงรายละเอียดงบประมาณภายในวงเงินที่ไดรับจัดสรรนี้อยางไร๑๖


๗. ทร.ปรับปรุงรายละเอียดงบประมาณภายในวงเงินที่ไดรับเมื่อ สปช.ทร.ไดรับแจงวงเงินจัดสรร และรายละเอียดงบประมาณในรายการตางๆ แลวจะนํามาตรวจสอบรวมกับหนวยรับผิดชอบงบประมาณ และหนวยตางๆ ในกรมฝายอํานวยการ ที่อาจเกี่ยวของวา วงเงินในรายการตางๆ ที่ไดรับ เมื่อเปรียบเทียบกับวงเงินที่ขอตั้งงบประมาณไปแลว เพียงพอตอความจําเปนในการใชจายในปงบประมาณนั้น รวมถึงสอดคลองกับนโยบาย ทร.หรือไม และสมควรที่จะมีการเปลี่ยนแปลงรายละเอียดงบประมาณที่ไดรับแจงอยางไร ซึ่งในขั้นนี้ ทร.จะสามารถเปลี่ยนแปลงรายละเอียดของงบประมาณในรายการตางๆ ที่ไดรับแจงไดตามที่เห็นสมควร ภายในวงเงินที่ไดรับจัดสรรแลวเสนอ ทร.ขอความเห็นชอบการปรับปรุงรายละเอียดงบประมาณดังกลาว เพื่อเสนอสํานักงบประมาณพิจารณาตอไป๘. สํานักงบประมาณ พิจารณาการปรับปรุงรายละเอียดของ ทร.สํานักงบประมาณจะพิจารณาวา การปรับปรุงรายละเอียดงบประมาณ ของ ทร.มีเหตุผลความจําเปน และความเหมาะสม หรือไมอยางไร รวมถึงจะทําใหมีผลกระทบตอการปฏิบัติงานของ ทร.ในปนั้นๆ หรือไม หากมีขอทักทวงในรายการใดก็จะประสานกับ ทร.เพื่อหาขอยุติอีกครั้งหนึ่ง แตถาไมมีขอทักทวงในเรื่องใด ก็จะนํารายละเอียดงบประมาณที่ ทร.ไดปรับปรุงครั้งลาสุดนี้ ไปจัดพิมพเปนรายละเอียดประกอบราง พ.ร.บ.งบประมาณรายจายประจําป เพื่อนําเขาสูการพิจารณาของรัฐสภา ซึ่งการพิจารณาของรัฐสภา จะเปนไปตามที่กลาวแลวในบทที่ ๑---------------------------------------------------------------------๑๗


๑๘ผนวกหลักเกณฑในการขอตั้งงบประมาณรายจายประจําป๑. งบประจํา๑.๑ เงินเดือน คาจางประจํา และคาจางชั่วคราว พิจารณาตามจํานวนกําลังพลที่มีอยู และแผนการจัดหากําลังพลเพิ่มเติม รวมทั้งประมาณการในการเลื่อนขั้นดวย๑.๒ คาใชสอยประเภทประจํา และอื่นๆ เชน เบี้ยเลี้ยงเดินทาง เบี้ยเลี้ยงทหารกองประจําการ คาสาธารณูปโภค เปนตน ใชสถิติการใชจายของปที่ผานมา เพิ่มเติมดวยการขยายหนวยใหมดวย๒. งบจัดซื้อ/จาง๒.๑ พัสดุอุปกรณหลัก เสนอใหครบตามอัตราที่กําหนดไว และการจัดหาทดแทนพัสดุเดิมที่ไดจําหนายไปแลว๒.๒ พัสดุหมดเปลือง ใชสถิติของปที่ผานมา ประกอบกับความตองการตามแผนที่ ทร.ไดอนุมัติหลักการไว๒.๓ การซอมบํารุง พิจารณาตามแผนงานซอมทําตามวงรอบของการซอม และจากรายงานการซอมของหนวยตางๆ๓. ยอดคากอสรางและซื้อที่ดิน พิจารณาจากแผนงานที่ ทร.ไดอนุมัติหลักการไว๔. โครงการเสริมสรางกําลังกองทัพ เสนอของบประมาณตามวงเงินที่กําหนด โดยคัดเลือกรายการที่มีลําดับความจําเปนเรงดวนตามแผนการเสริมสรางกําลังกองทัพ ซึ่ง ยก.ทร.จะพิจารณาขั้นตน๕. โครงการทั่วไปของ ทร.๕.๑ โครงการเดิม เสนอของบประมาณตามระยะเวลาของโครงการที่เสนอไว รวมกับงบประมาณที่ไดรับจัดสรรไมครบในปที่แลว๕.๒ โครงการใหม เสนอของบประมาณตามที่กําหนดไวในปแรกของโครงการนั้น๖. โครงการตามขอผูกพันพิเศษ เสนอของบประมาณตามขอผูกพันที่มีอยู และตามแผนที่ไดรับจากหนวยเหนือไวแลว๗. เงินอุดหนุนโรงพยาบาล ใชเกณฑสถิติการใชจายที่ประเมินไวสําหรับการบริการตอบุคคลภายนอก ซึ่งสํานักงบประมาณจะสนับสนุนใหเปนป ๆ ไป---------------------------------------------------------------------


๑๙รายละเอียดหนวยควบคุมและรับผิดชอบงบประมาณหนวยยอดคาใชจาย๑. กง.ทร. - หมวดเงินเดือน และคาจางประจํา๑.๑ เงินเดือน๑.๒ คาจางประจํา- หมวดคาจางชั่วคราว๑.๓ คาจางชั่วคราว- หมวดคาตอบแทน ใชสอยและวัสดุ๑.๔ คาสอนและคาสมนาคุณวิทยากร๑.๕ คารางวัลกรรมการสอบ๑.๖ คาเชาบาน๑.๗ คารักษาพยาบาลทหาร๑.๘ คาเบี้ยประชุมกรรมการ และคาพาหนะกรรมการเหมาจาย๑.๙ คาอาหารทําการนอกเวลา๑.๑๐ คาปฏิบัติงานบนอากาศยาน๑.๑๑ คาฝาอันตรายเปนครั้งคราว๑.๑๒ คาระวางบรรทุกและคาจางเหมาบริการ๑.๑๓ คาบอกรับวารสาร๑.๑๔ คาโฆษณาและเผยแพรกิจการ๑.๑๕ คาธรรมเนียมและเบี้ยประกัน๑.๑๖ คารับรองของขวัญ๑.๑๗ คาเชาทรัพยสิน๑.๑๘ คาเบี้ยเลี้ยงเดินทาง คาพาหนะและคาเชาที่พัก๑.๑๙ คาเบี้ยเลี้ยงทหารกองประจําการ๑.๒๐ คาเครื่องกีฬาและมหรสพ๑.๒๑ คาใชจายในการแขงขันกีฬา ทร.๑.๒๒ คาใชจายอื่น ๆ๑.๒๓ คาใชจายกิจการทูต๑.๒๔ คาใชจายฝก ศึกษา ดูงาน ประชุมและสัมมนา ณ ตางประเทศ๑.๒๕ คาใชจายฝกอบรม และศึกษาในประเทศ (ใน ทร.)๑.๒๖ คาใชจายฝกอบรม และศึกษาในประเทศ (นอก ทร.)


๒๐หนวยยอดคาใชจาย๑.๒๗ คาชดใชความเสียหาย๑.๒๘ คาฌาปนกิจศพทหาร๑.๒๙ คาใชจายในการฝกในประเทศ (เฉพาะคาเบี้ยเลี้ยงฯ โดยประสานงาน ยก.ทร.)๑.๓๐ คาใชจายในการดําเนินคดี๑.๓๑ คาเบี้ยเลี้ยงเดินทาง คาพาหนะและคาเชาที่พัก (ฝกผสมและศึกษาในประเทศใน ทร.)๑.๓๒ คาธรรมเนียมธนาคารและชดเชยอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา๑.๓๓ คาใชจายฝก ศึกษา ดูงาน ประชุมและสัมมนา ณ ตางประเทศ (นอกแผน)๑.๓๔ คาใชจายในการดําเนินการระบบสารสนเทศ๑.๓๕ เงินประกันสังคมลูกจาง๑.๓๖ คาเครื่องอุปโภคสําหรับทหารในถิ่นทุรกันดาร๑.๓๗ คาตอบแทนคณะกรรมการตรวจการจางและควบคุมงานกอสราง- หมวดคาสาธารณูปโภค๑.๓๘ คาไปรษณีย โทรเลขและสื่อสารอื่น ๆ๑.๓๙ คาโทรศัพท๑.๔๐ คาน้ําประปา๑.๔๑ คาไฟฟา๑.๔๒ คาบริการสารสนเทศ- หมวดเงินอุดหนุน๑.๔๒ คาใชจายฝกอบรม และศึกษา ณ ตางประเทศ๑.๔๓ เงินอุดหนุนการศึกษาภายในประเทศ๑.๔๔ คาฌาปนกิจศพทหาร๑.๔๕ เงินบํารุงและอุดหนุนองคการระหวางประเทศ- หมวดคาตอบแทน ใชสอยและวัสดุ หมวดคาครุภัณฑ ที่ดินและสิ่งกอสราง๒. อร. ๒.๑ พัสดุทั่วไป อร.๒.๒ คาซอมบํารุงเรือ๒.๓ คาซอมบํารุงยานเกราะและยานสะเทินน้ําสะเทินบก๒.๔ คาซอมบํารุงอูเรือและคานเรือ๒.๕ คาใชจายในการสนับสนุนการตอเรือในประเทศ๒.๖ คาใชจายในการตอเรือและดัดแปลงเรือ๒.๗ คาเครื่องจักร เครื่องมือกลและเครื่องทุนแรง สาย อร.


หนวยยอดคาใชจาย๓. สพ.ทร. ๓.๑ คาสรรพาวุธ๓.๒ คาใชจายสุนัขทหาร (ประสานงานกับ นย.เกี่ยวกับความตองการ งป.ของ นย.ในยอดคาใชจายนี้ดวย)๔. พธ.ทร. ๔.๑ พัสดุทั่วไป พธ.๔.๒ พัสดุอุปกรณการพิมพ๔.๓ ยุทธอาภรณ๔.๔ น้ํามันเชื้อเพลิงและหลอลื่น๔.๕ ถาน ฟน แก็ส๔.๖ คาพัสดุเครื่องคอมพิวเตอร เครื่องฝกยุทธกีฬาและอื่น ๆ(เฉพาะพัสดุสิ้นเปลืองที่ใช งป.หมวดคาตอบแทน ฯ)๔.๗ คาจางเหมา บริการและขนสงพัสดุ๔.๘ ครุภัณฑประจําสํานักงาน๔.๙ คาเชาเครื่องคอมพิวเตอร๔.๑๐ คาซอมบํารุงครุภัณฑ๔.๑๑ พัสดุการเชื้อเพลิง๕. กร. ๕.๑ พัสดุทั่วไปการบิน๖. ขส.ทร. ๖.๑ พัสดุทั่วไป ขส.๖.๒ คาซอมบํารุงยานพาหนะ๖.๓ ยานพาหนะ๗. พร. ๗.๑ คายา เวชภัณฑและวัสดุสิ้นเปลือง๗.๒ คาเครื่องมือและอุปกรณทางการแพทย๗.๓ คาเครื่องมือและอุปกรณทางการแพทย รพ.สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์๗.๔ คาใชจายในการบริหารงานของรพ.สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์๗.๕ คากอสรางที่พักอาศัยของกรมแพทยทหารเรือ๗.๖ เงินอุดหนุนโรงพยาบาล (เงินอุดหนุน)๗.๗ เงินเพิ่มพิเศษแพทย ทันตแพทย เภสัชกร ที่ไมทําเวชปฏิบัติสวนตัวนอกเวลาราชการ๘. วศ.ทร. ๘.๑ คาใชจายกิจการวิทยาศาสตร๙. สส.ทร. ๙.๑ คาเครื่องมือ อุปกรณสื่อสาร และโทรคมนาคม๑๐. อศ. ๑๐.๑ คาเครื่องมืออุปกรณการเดินเรือ แผนที่และอุตุนิยมวิทยา๑๑. ชย.ทร. ๑๑.๑ พัสดุทั่วไป ชย.๑๑.๒ คาซอมเครื่องจักร เครื่องมือกล และเครื่องทุนแรง๒๑


๒๒หนวยยอดคาใชจาย๑๑.๓ คาซอมแซมอาคารและสิ่งกอสราง๑๑.๔ คาเครื่องจักร เครื่องมือกล และเครื่องทุนแรงสาย ชย.๑๑.๕ คาซอมแซมสาธารณูปโภค๑๑.๖ คาจางสํารวจ ออกแบบ ควบคุมงานและจางที่ปรึกษา๑๑.๗ คาขุดลอกรองน้ํา ทาเรือ และฐานทัพเรือ๑๒. อล.ทร. ๑๒.๑ คาพัสดุเครื่องคอมพิวเตอร เครื่องฝกยุทธกีฬาและอื่น ๆ(เฉพาะการจัดหาคอมพิวเตอรและอุปกรณตาง ๆ ที่ใช งป.หมวดคาครุภัณฑ ฯ)๑๒.๒ คาซอมบํารุงเครื่องคอมพิวเตอร เครื่องฝกยุทธกีฬาและอื่นๆ๑๒.๓ คาซอมบํารุงเครื่องมือ อุปกรณสื่อสารและโทรคมนาคม๑๒.๔ พัสดุทั่วไป อล.๑๓. ยศ.ทร. ๑๓.๑ คาเครื่องชวยการศึกษาและตํารา๑๔. กพ.ทร. ๑๔.๑ คาผลิตกําลังพลสํารองประเภท นศท.(แจงความตองการ งป.ให กง.ทร.ทราบดวย)๑๔.๒ คาใชจายในการเตรียมกําลังสํารองตามแผนปองกันประเทศ๑๔.๓ คาใชจายศึกษา และฝกอบรม ณ ตางประเทศ(แจงความตองการ งป.ให กง.ทร.ทราบดวย)๑๔.๔ คาใชจายศึกษา และฝกอบรมนอกหนวย(แจงความตองการ งป.ให กง.ทร.ทราบดวย)๑๕. ยก.ทร. ๑๕.๑ คาใชจายในการฝกภาคตางประเทศของ นนร.๑๕.๒ คาใชจายในการฝกผสมกับตางประเทศ๑๕.๓ คาใชจายในการฝกในประเทศ (ประสานกับ กง.ทร.ในเรื่องของเบี้ยเลี้ยง ฯ)๑๕.๔ คาใชจายในการอบรมประมงเพื่อความมั่นคงของชาติ (งบปกติ)๑๕.๕ คาใชจายในการอบรมประมงเพื่อความมั่นคงของชาติ (งบลับ)๑๖. กพร.ทร. ๑๖.๑ คาใชจาย ปจว./ปชส.๑๗. กบ.ทร. ๑๗.๑ คากอสรางและซื้อที่ดิน๑๘. สวพ.ทร. ๑๘.๑ คาใชจายในการวิจัยและพัฒนาดานยุทธการ๑๘.๒ คาใชจายในการวิจัยและพัฒนาดานการสงกําลังบํารุง๑๘.๓ คาใชจายในการวิจัยและพัฒนาดานการบริหารทั่วไป๑๘.๔ คาใชจายในการวิจัยและพัฒนาดานคอมพิวเตอร๑๘.๕ คาใชจายในการวิจัยและพัฒนาดานการแพทย---------------------------------------------------------------------


บทที่ ๓การอนุมัติงบประมาณของ ทร.ตาม พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ พ.ศ.๒๕๐๒ มาตรา ๒๓ สวนราชการตางๆ จะจายเงินหรือกอหนี้ผูกพันไดแตเฉพาะที่ไดกําหนดไวใน พ.ร.บ.งบประมาณรายจายประจําปเทานั้น และมิใหจายเงินหรือกอหนี้ตาม พ.ร.บ.งบประมาณรายจายประจําป จนกวาจะไดรับอนุมัติเงินประจํางวดแลว ในสวนของ ทร.การใชจายงบประมาณในแตละป โดยเฉพาะอยางยิ่งการจัดซื้อ/จางของหนวยตางๆ สวนใหญจะมีขอขัดของในการที่จะเบิกจายงบประมาณใหแลวเสร็จภายในปงบประมาณนั้นๆ เนื่องจากมีรายละเอียดและขั้นตอนในการปฏิบัติมาก ดังนั้นเพื่อใหหนวยตางๆ ใน ทร.สามารถเตรียมการในการใชจายงบประมาณไดอยางรวดเร็ว ทันทีที่ พ.ร.บ.งบประมาณรายจายประจําปประกาศและมีผลใชบังคับ ทร.จึงจะตองเตรียมการใชจายงบประมาณไวเปนการลวงหนา โดยมีรายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติดังนี้๑. สปช.ทร.เตรียมการแบงสรรงบประมาณรายจายประจําปประมาณเดือน มิถุนายน – กรกฎาคม ของทุกป เมื่อคณะรัฐมนตรีใหความเห็นชอบการจัดทํางบประมาณรายจายประจําป และทร.ไดรับแจงวงเงินงบประมาณที่จะไดรับจัดสรร จนถึงขั้นที่รางพ.ร.บ.งบประมาณรายจายประจําป ผานการพิจารณาของสภาผูแทนราษฎรในวาระที่ ๑ แลว สปช.ทร.จะเชิญหนวยตางๆ ในกรมฝายอํานวยการ และหนวยรับผิดชอบงบประมาณ มารวมประชุมหารือ และแบงสรรงบประมาณในรายการตางๆ โดยคํานึงถึงความสอดคลองของงาน และโครงการตางๆ กับนโยบายและแผนการปฏิบัติงานของ ทร.ที่จะดําเนินการในปนั้น ความพรอมและขีดความสามารถของหนวยในการบริหารงบประมาณ สถิติการใชจายในรอบปที่ผานมา ความสําคัญเรงดวนของงาน/โครงการ และภาระรายจายที่ผูกพันตามมติคณะรัฐมนตรี สัญญาซื้อ/จาง และขอผูกพันอื่นๆ๒. สปช.ทร.เสนอ ทร.ขออนุมัติแผนการจัดสรรงบประมาณรายจายประจําปเมื่อไดประชุมพิจารณาแบงสรรงบประมาณในรายการตางๆ เรียบรอยแลว สปช.ทร.จะรวบรวมเสนอ ทร.ขออนุมัติแผนการจัดสรรงบประมาณรายจายประจําป เพื่อใหหนวยตางๆ สามารถจายเงินหรือกอหนี้ผูกพันตอไป โดยการจัดสรรงบประมาณของ ทร.ตามที่กลาวนี้ มีผลเพื่อเปนการเตรียมการในการจัดทํา และขออนุมัติแผนการปฏิบัติการประจําป รวมทั้งการเตรียมดําเนินการจัดซื้อ/จัดจาง ในงานตางๆเทานั้น สวนการจัดซื้อ/จัดจาง และทําสัญญากอหนี้ผูกพันจะดําเนินการไดเมื่อไดรับอนุมัติเงินประจํางวดแลวเทานั้น ซึ่ง สปช.ทร.จะไดแจงใหหนวยตางๆ ใน ทร.ทราบอีกครั้งหนึ่งตอไป รายละเอียดแนวทางในการจัดสรรงบประมาณ ตามผนวกที่แนบเนื่องจากงบประมาณรายจายประจําปของ ทร.ที่นํามาจัดสรรนี้ เปนเพียงวงเงินตามรางพ.ร.บ.งบประมาณรายจายประจําป ที่นําเขาสูการพิจารณาของรัฐสภาเทานั้นซึ่งในการพิจารณาอาจถูกปรับลดงบประมาณบางสวนลงไปบางในระหวางการพิจารณาของรัฐสภา แตก็จะมีจํานวนไมมากนัก และสปช.ทร.จะไดเสนอ ทร.ปรับแตงแผนการจัดสรรงบประมาณ โดยไมใหมีผลกระทบกับการดําเนินงานสวนรวมหรือนโยบาย ทร.อีกครั้งหนึ่ง๒๓


๓. หนวยตางๆ จายเงิน หรือกอหนี้ผูกพันงบประมาณเมื่อ พ.ร.บ.งบประมาณรายจายประจําปมีผลบังคับใช และ ทร.ไดรับอนุมัติเงินประจํางวดจากสํานักงบประมาณเรียบรอยแลว รวมทั้ง ทร.ไดอนุมัติแผนการจัดสรรงบประมาณรายจายประจําปเรียบรอยแลวหนวยตางๆ ก็จะสามารถจายเงินหรือกอหนี้ภายในวงเงินที่ไดรับจัดสรรนั้นได แตอยางไรก็ตามยังมีรายจายสวนหนึ่งซึ่งยังจะไมสามารถดําเนินการดังกลาวไดในทันที จําเปนจะตองมีการตรวจสอบการใชจายใหเปนไปโดยเหมาะสม สอดคลองกับความจําเปนที่แทจริงเสียกอน ซึ่งจะไดกลาวในรายละเอียดตอไป๔. หนวยรับผิดชอบงบประมาณ จัดทําแผนปฏิบัติการ ประจําปงบประมาณที่หนวยรับผิดชอบงบประมาณตางๆ ไดรับจัดสรรตามแผนการจัดสรรงบประมาณรายจายประจําปที่ ทร.อนุมัติตามที่กลาวนั้น เนื่องจากงบประมาณที่ ทร.ไดรับจัดสรรมีจํานวนคอนขางจํากัดมาก จึงจําเปนตองควบคุมใหมีการใชจายงบประมาณใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และเปนประโยชนตอ ทร.มากที่สุด โดยหนวยรับผิดชอบงบประมาณตางๆ จะตองจัดทําแผนปฏิบัติการ ประจําปเสนอ ทร. ผานกรมฝายอํานวยการที่เกี่ยวของ เพื่อพิจารณาความจําเปนและเหมาะสม ในขั้นตนกอน(แบบฟอรมที่ใชในการจัดทําแผนปฏิบัติการ ประจําป เปนไปตามแบบประกอบระเบียบ ทร.วาดวยการงบประมาณ พ.ศ.๒๕๔๒) และเมื่อ ทร.อนุมัติแผนปฏิบัติการ ประจําป ในรายการนั้นๆ แลว หนวยที่รับผิดชอบจึงไปดําเนินการตามที่กําหนดไวในแผนดังกลาวตอไป ซึ่งรายจายที่กําหนดใหตองจัดทําแผนการปฏิบัติการประจําป ไดแก๔.๑ งบจัดซื้อ/จัดจาง๔.๒ งบปฏิบัติการ๔.๓ งบบริการรักษาพยาบาล๔.๔ งบการฝกในประเทศ๔.๕ งบการศึกษาและอบรม๔.๖ งบอื่นๆ ที่ ทร.จะกําหนด๕. ทร.อนุมัติแผนปฏิบัติการประจําปการขออนุมัติแผนการปฏิบัติการประจําป ตามปฏิทินการบริหารงบประมาณประจําป ทร.ไดกําหนดให หนวยรับผิดชอบงบประมาณตางๆ ดําเนินการ จนถึงขั้นไดรับอนุมัติแผนปฏิบัติการประจําปจาก ทร.ไดภายใน ๑ ตุลาคม ของทุกป เพื่อใหหนวยตางๆ ใน ทร.สามารถใชจายงบประมาณไดอยางรวดเร็วทันทีที่ พ.ร.บ.งบประมาณรายจายประจําปประกาศและมีผลใชบังคับ ซึ่งเมื่อ ทร.อนุมัติแผนปฏิบัติการประจําป เรียบรอยแลว หนวยตางๆ จะใชเปนแผนในการการดําเนินงานในปนั้น รวมถึงเปนเปาหมายหรือกําหนดการ ในการตรวจสอบการใชงบประมาณ ซึ่งหนวยถืองบประมาณ จะตองรายงานผลการใชงบประมาณ ตามระยะเวลาที่กําหนดดวย---------------------------------------------------------------------๒๔


บทที่ ๔การบริหารงบประมาณของ ทร.การบริหารงบประมาณของ ทร. หมายถึง กระบวนการในการควบคุมการใชจายงบประมาณใหเปนไปตามรายการ และแผนงานที่ไดรับอนุมัติ เพื่อใหการจายงบประมาณเปนประโยชนตอ ทร.มากที่สุดโดยวิธีการอนุมัติเงินประจํางวด การใชจายงบประมาณ การโอนเปลี่ยนแปลง การเบิกจายเงิน และการตรวจสอบ ซึ่งจะเกี่ยวของกับเรื่องตางๆ ดังนี้การอนุมัติเงินประจํางวด๑. เงินประจํางวด หมายถึง สวนหนึ่งของงบประมาณที่แบงใหจายหรือกอหนี้ผูกพันในระยะเวลาหนึ่ง๒. การขอเงินประจํางวด๒.๑ เมื่อ ทร.ไดอนุมัติจัดสรรงบประมาณ และแผนการปฏิบัติการประจําปแลว ใหหนวยรับผิดชอบงบประมาณ และหรือหนวยถืองบประมาณขออนุมัติเงินประจํางวดที่ ๑ ครั้งที่ ๑ ตอสปช.ทร. ภายใน ๑๕ ต.ค.ของทุกป โดยในการขอเงินประจํางวดดังกลาว ใหหนวยรับผิดชอบงบประมาณและหรือหนวยถืองบประมาณ สงแผนการใชจายงบประมาณให สปช.ทร.เพื่อประกอบการพิจารณาอนุมัติเงินประจํางวดดวย สําหรับการขออนุมัติเงินประจํางวดครั้งตอๆ ไป ใหเสนอ สปช.ทร.กอนวันที่จะใชจายงบประมาณ ไมนอยกวา ๑๕ วัน๒.๒ การขออนุมัติเงินประจํางวดของแตละแผนงาน งาน และโครงการใหเปนไปตามแบบและรายละเอียดที่ สปช.ทร.กําหนด๒.๓ หนวยรับผิดชอบงบประมาณและหรือหนวยถืองบประมาณ ตองดําเนินการใชจายเงินประจํางวดที่ไดรับอนุมัติใหเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาของงวดนั้นๆ กรณีที่มีความจําเปนไมสามารถใชจายไดทันตามระยะเวลาที่กลาว ใหหนวยรับผิดชอบงบประมาณหรือหนวยถืองบประมาณนําไปสมทบกับเงินประจํางวดตอไปได สําหรับเงินประจํางวดที่หมดความจําเปนในการใชจายใหสงคืน สปช.ทร.ทันทีการใชจายงบประมาณ๑. ใหหัวหนาหนวยรับผิดชอบงบประมาณและหรือหนวยถืองบประมาณ ใชจายงบประมาณตามแผนการจัดสรรงบประมาณรายจายประจําป และแผนการปฏิบัติการประจําป ภายในวงเงินงบประมาณที่ไดรับอนุมัติแตละรายการ๒. การใชจายงบประมาณแตละรายการ ใหเปนไปตามหลักเกณฑดังนี้๒.๑ รายจายประเภทใดหรือรายการใดจะเบิกจายในหมวดรายจายใด ใหเปนไปตามหลักการจําแนกประเภทรายจายตามงบประมาณที่สํานักงบประมาณ กําหนด๒.๒ การใชจายตามแผนงาน งาน และโครงการ ตามโครงสรางงบประมาณของทร.ใหเปนไปตามที่ สปช.ทร.กําหนด๒๕


๒.๓ รายจาย และเงินประจํางวด ที่กําหนดไวในรายการใด จะโอนหรือนําไปใชจายในรายการอื่นมิได เวนแตจะไดรับอนุมัติจาก ทร. แลวเทานั้น๒.๔ การเบิกจายหรือกอหนี้ผูกพัน ตองมีงบประมาณ และเงินประจํางวดที่ไดรับการสั่งจายไวครบถวนตามจํานวนเงินที่จะใชจาย หรือกอหนี้ผูกพัน๒.๕ การใชจายงบประมาณสําหรับการจัดซื้อจาง ใหหนวยรับผิดชอบงบประมาณและหรือหนวยถืองบประมาณ ดําเนินการจัดซื้อจางไดทันทีเมื่อทราบวงเงินจัดสรรงบประมาณ โดยยังไมมีการกอหนี้ผูกพัน และเมื่อไดรับอนุมัติเงินประจํางวดแลวใหเรงรัดกอหนี้ผูกพันและเบิกจายใหเสร็จสิ้นภายในงวดนั้น หรือตามกําหนดการชําระเงินในสัญญาหรือขอตกลง๓. การใชจายงบประมาณตามแผนการจัดซื้อ/จัดจาง ประจําป๓.๑ การเปลี่ยนแปลงแผนการใชจายเงิน ฯ ใหเสนอขออนุมัติตอ ทร.ทุกกรณียกเวน๓.๑.๑ การเปลี่ยนแปลงรายละเอียดของรายการจัดซื้อจัดจาง อันเนื่องมาจากผูผลิตยกเลิกหรือเปลี่ยนแปลงหมายเลขพัสดุ การเปลี่ยนแปลงคุณลักษณะเฉพาะและยกเลิกสายการผลิตตามสภาพของตลาดและเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป๓.๑.๒ พัสดุที่จะจัดซื้อจัดจาง มีรายการกําหนดไวในบัญชีราคามาตรฐานวัสดุที่กระทรวงการคลังกําหนด หรือในบัญชีราคามาตรฐานครุภัณฑที่สํานักงบประมาณกําหนดแลวแตกรณีเมื่อหนวยรับผิดชอบงบประมาณและหรือหนวยถืองบประมาณไดดําเนินการจัดซื้อจัดจางแลว มีราคาสูงไมเกินกวารอยละ ๑๐ ของวงเงินที่ไดรับอนุมัติไว ตามแผนการปฏิบัติการประจําป และสามารถใชงบประมาณรายการสํารองไวปรับแตงวงเงินที่หนวยถืองบประมาณสนับสนุนได๓.๑.๓ การลดจํานวนพัสดุที่จะจัดซื้อจัดจางอันเนื่องมาจากราคาที่สูงขึ้นและไมสามารถใชงบประมาณรายการสํารองไวปรับแตงวงเงินที่หนวยถืองบประมาณสนับสนุนได๓.๒ การใชจายงบประมาณรายการสํารองไวแกไขเหตุการณเฉพาะหนาและปรับแตงวงเงินตามแผนการจัดซื้อ/จัดจาง ประจําป ใหหนวยรับผิดชอบงบประมาณและหรือหนวยถืองบประมาณสั่งจายไดตามหลักเกณฑดังนี้๓.๒.๑ รายจายเพื่อปรับแตงวงเงินจัดซื้อจัดจาง๓.๒.๒ รายจายเพื่อชําระเปนคาธรรมเนียมธนาคาร ที่เกี่ยวของกับการจัดซื้อจัดจาง และคาชดเชยผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา๓.๒.๓ รายจายเพื่อการจัดซื้อจัดจางกรณีฉุกเฉินและเรงดวน ครั้งหนึ่ง ๆ ซึ่งมีราคาไมเกินวงเงินจัดซื้อจัดจางโดยวิธีตกลงราคา๓.๒.๔ รายจายอื่น ๆ ที่ ทร.จะกําหนดเพิ่มเติมตามความจําเปน๔. หนวยรับผิดชอบงบประมาณและหรือหนวยถืองบประมาณ ตองพิจารณาใชจายงบประมาณใหเปนไปในทางประหยัดและใหทันในปงบประมาณ โดยเฉพาะงบประจําตองพิจารณาและ๒๖


ดําเนินการใชจายใหเพียงพอตลอดปงบประมาณ สวนงบอื่น ๆ จะตองเรงรัดดําเนินการใหเสร็จสิ้นโดยเร็วเพื่อใหสามารถเบิกจายไดทันในปงบประมาณ หากมีงบประมาณเหลือใหสงคืน สปช.ทร.ทันที๕. การใชจายงบประมาณหรือกอหนี้ผูกพัน ซึ่งเปนการฝาฝนระเบียบแบบแผนของทางราชการที่เกี่ยวของกับการงบประมาณ ผูสั่งใหกระทํา หรือผูกระทําอันฝาฝน ตองรับผิดในการกระทํานั้นความรับผิดดังกลาว ไมใชบังคับแกผูที่ไดทักทวงคําสั่งของผูบังคับบัญชาเปนลายลักษณอักษร๖. การโอนเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณและเงินประจํางวด๖.๑ การโอนเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณและเงินประจํางวด ที่เปนการโอนขามแผนงานงาน และหมวดรายจายตามที่ระบุไวในพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําป ให สปช.ทร.รายงานขอความเห็นชอบตอ ทร. กอนที่จะเสนอสํานักงบประมาณ๖.๒ การโอนเปลี่ยนเงินประจํางวดของหนวยรับผิดชอบงบประมาณและหรือหนวยถืองบประมาณ ที่กําหนดใหเบิกกับกรมบัญชีกลาง หรือสํานักงานคลังจังหวัด หรือสํานักงานคลังอําเภอแลวแตกรณีให สปช.ทร.เปนผูพิจารณาอนุมัติ๗. การโอนและการรับโอนงบประมาณเบิกจายแทนกัน๗.๑ การโอนงบประมาณและการรับโอนงบประมาณเบิกจายแทนกัน ระหวางทร.และสวนราชการอื่น ใหดําเนินการดังนี้๗.๑.๑ กรณีโอนงบประมาณ ใหหนวยรับผิดชอบงบประมาณและหรือหนวยถืองบประมาณ แจงรายการและวงเงินงบประมาณที่จะขอโอนให สปช.ทร.ภายในเดือน มิ.ย.โดยให สปช.ทร.เปนผูลงนามในใบแจงการเบิกเงินงบประมาณแทนกัน ในฐานะหัวหนาสวนราชการเจาของงบประมาณและแจงใหสวนราชการผูเบิกแทนดําเนินการตอไป๗.๑.๒ กรณีรับโอนงบประมาณให สปช.ทร.ลงนามในใบแจงการเบิกเงินงบประมาณแทนกันในฐานะหัวหนาสวนราชการผูเบิกแทน และลงนามในหนังสือขอทําความตกลงกับกระทรวงการคลัง๗.๒ ให สปช.ทร.จัดสรรและสั่งจายงบประมาณที่ ทร.ไดรับโอนตามขอ ๕.๑ และใหหนวยรับผิดชอบงบประมาณและหรือหนวยถืองบประมาณ ใชจายงบประมาณตามวัตถุประสงคและขอบเขตที่ระบุไวในใบแจงการเบิกเงินงบประมาณแทนกัน ทั้งนี้หนวยจะตองเบิกจายและหรือกอหนี้ผูกพันใหแลวเสร็จกอนสิ้นปงบประมาณ๘. การตัดยอดและการสงคืนงบประมาณ๘.๑ หนวยรับผิดชอบงบประมาณและหรือหนวยถืองบประมาณตรวจสอบงบประมาณที่ไดรับจัดสรรทุกรายการ พรอมกับประมาณการวงเงินที่จะตองใชจายหรือกอหนี้ผูกพันจนถึงสิ้นปงบประมาณ และตัดยอดงบประมาณที่ไดรับจัดสรรทุกรายการภายใน ๓๐ มิ.ย.๔๒ หากมีงบประมาณหรือมีเงินประจํางวดเหลือจาย ใหสงคืน สปช.ทร.ภายใน ๑๕ ก.ค.๔๒๒๗


๘.๒ ให สปช.ทร.กําหนดวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับ การปดรับเรื่องการขอโอนเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณ และเงินประจํางวด และการปฏิบัติเกี่ยวกับการตัดยอดงบประมาณ การสงคืนงบประมาณและเงินประจํางวด ไดตามความจําเปนและเหมาะสม๙. การกันเงินไวเบิกเหลื่อมป๙.๑ งบประมาณรายการใดที่ไดกอหนี้ผูกพันไวกอนสิ้นปงบประมาณ หากเห็นวาไมสามารถเบิกจายไดทันภายในปงบประมาณ ใหดําเนินการขอกันเงินไวเบิกเหลื่อมปตามแบบและวิธีการที่กระทรวงการคลัง และ สปช.ทร.กําหนด ในกรณีที่ไมไดกอหนี้ผูกพัน หรือมีหนี้ผูกพันอยูแตไมสามารถเบิกจายใหแลวเสร็จภายในระยะเวลาที่ไดรับความตกลงจากกระทรวงการคลัง และมีความจําเปนจะตองใชจายเงินนั้นตอไปอีกใหหนวยถืองบประมาณรายงาน สปช.ทร. เพื่อขอทําความตกลงกับกระทรวงการคลังเมื่อไดรับอนุมัติจากรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังแลว ใหขอกันเงินไวเบิกเหลื่อมปตอไป๙.๒ การเปลี่ยนคูสัญญาระหวางการกันเงินไวเบิกเหลื่อมป ใหหนวยถืองบประมาณดําเนินการดังนี้๙.๒.๑ กรณีไมเพิ่มวงเงินกอหนี้ผูกพัน ใหหนวยถืองบประมาณที่เปนคูสัญญาเสนอขออนุมัติเปลี่ยนแปลงคูสัญญาตอผูมีอํานาจสั่งซื้อสั่งจาง โดยปฏิบัติตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ และระเบียบแบบแผนของทางราชการที่เกี่ยวของ๙.๒.๒ กรณีเพิ่มวงเงินกอหนี้ผูกพัน ใหหนวยถืองบประมาณที่เปนคูสัญญาขออนุมัติงบประมาณสวนที่เพิ่มตอ ทร. แลวดําเนินการขอทําความตกลงกับกระทรวงการคลัง สําหรับการขออนุมัติสั่งซื้อสั่งจางใหปฏิบัติตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ และระเบียบแบบแผนของทางราชการที่เกี่ยวของ๑๐. การควบคุมและการรายงาน๑๐.๑ หนวยรับผิดชอบงบประมาณและหรือหนวยถืองบประมาณ จัดทําทะเบียนคุมงบประมาณที่ไดรับจัดสรรตามแบบที่ สปช.ทร.กําหนด๑๐.๒ หนวยรับผิดชอบงบประมาณและหรือหนวยถืองบประมาณ จัดทํารายงานสถานภาพงบประมาณ รายงานสถานภาพเงินประจํางวด และรายงานสถานภาพงบประมาณที่กันไวเบิกเหลื่อมป ตามแบบที่ สปช.ทร.กําหนด ณ วันสิ้นเดือน เสนอ สปช.ทร.ภายในวันที่ ๗ ของเดือนถัดไป๑๐.๓ สปช.ทร.จัดทํารายงานฐานะเงินงบประมาณ รายงานสถานภาพเงินประจํางวดรายงานฐานะเงินประจํางวด และรายงานสถานภาพงบประมาณที่กันไวเบิกเหลื่อมป ณ วันสิ้นเดือน เสนอผบ.ทร.ภายในเดือนถัดไป๑๐.๔ สปช.ทร.จัดทํารายงานฐานะเงินงบประมาณ รายงานสถานภาพเงินประจํางวดรายงานฐานะเงินประจํางวด แบบสอบถามประกอบการรายงานสถานภาพงบประมาณ และรายงานการใชจายเงินตราตางประเทศของกองทัพเรือ เปนประจํางวด ตามแบบและวิธีการที่ กห.กําหนด เสนอ กห.ภายใน๖๐ วันนับตั้งแตวันสิ้นงวด และสําเนาให สปช.ทหาร จํานวน ๑ ชุด---------------------------------------------------------------------๒๘

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!