อ่านรายละเอียด

อ่านรายละเอียด อ่านรายละเอียด

13.07.2015 Views

หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๑ -วิชา หลักยุทธวิธีบทที่ ๑กองร้อยปื นเล็กนาวิกโยธิน(อจย.๒๒ - ๒๒๓)ก. ภารกิจ ทําลายกําลังข้าศึกและยึดพื ้นที่ด้วยการวางกําลังเข้าประชิดข้าศึกด้วยการยิง และการดําเนินกลยุทธ์ ผลักดันการเข้าตีของข้าศึกด้วยการยิงและการรบประชิดและปฏิบัติการพิเศษข. การแบ่งมอบ เป็นหน่วยในอัตราของกองพันทหารราบค. ขีดความสามารถ๑) ทําการรบได้ทั้งการยุทธ์สะเทินนํ ้าสะเทินบก การรบทางบก และการรบพิเศษ๒) จัดให้มีฐานยิงและการดําเนินกลยุทธ์ได้๓) ใช้การยิง การเคลื่อนที่เข้าประชิด และการทําลายกําลังข้าศึก๔) ผลักดันการเข้าตีของข้าศึกด้วยการยิง การรบประชิด หรือการตีโต้ตอบได้๕) ยึดและรักษาภูมิประเทศได้๖) เคลื่อนที่ได้ทุกภูมิประเทศและลมฟ้ าอากาศ๗) ปฏิบัติการรบโดยอิสระได้ชั่วระยะเวลาจํากัดง. ผังการจัดกองร้อยปื นเล็ก (อจย.๒๒-๒๒๓)บก.ร้ อย มว.อาวุธ มว.ปื นเล็กบก.มว. ตอน ปก. ตอนโจมตี ตอนเครื่องยิงลูกระเบิดรูปที่ ๑ การจัดกองร้อยปื นเล็กจ. คุณลักษณะ๑. กองร้อยปื นเล็ก เป็นส่วนดําเนินกลยุทธ์หลักของกองพันทหารราบและมีขีดความสามารถในการปฏิบัติการรบได้หลายอย่าง ลักษณะการจัดหน่วยและอาวุธยุทโธปกรณ์ของกองร้อยปื นเล็กทําให้สามารถปฏิบัติภารกิจการรบได้หลายแบบ โดยปกติเมื่อไม่มียานยนต์มาสนับสนุนกองร้อยปื นเล็กจะเคลื่อนย้ายด้วยเท้า กองร้อยปื นเล็กสามารถเคลื่อนย้ายด้วย ฮ. หรือเครื่องบินลําเลียงได้ ขีดความสามารถในการเคลื่อนย้ายในภูมิประเทศจะเพิ่มขึ ้นเมื่อได้รับการสนับสนุนยานพาหนะที่เหมาะสม ลักษณะการจัดหน่วยของกองร้อยปื นเล็กอํานวยให้สามารถจัดหน่วยสนับสนุนการรบและหน่วยสนับสนุนทางการช่วยรบที่จะมาสมทบหรือสนับสนุน เพื่อปฏิบัติภารกิจเฉพาะใด ๆ ให้บรรลุความสําเร็จได้ การจัดกําลังพื ้นฐานนี ้

หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๑ -วิชา หลักยุทธวิธีบทที่ ๑กองร้อยปื นเล็กนาวิกโยธิน(อจย.๒๒ - ๒๒๓)ก. ภารกิจ ทําลายกําลังข้าศึกและยึดพื ้นที่ด้วยการวางกําลังเข้าประชิดข้าศึกด้วยการยิง และการดําเนินกลยุทธ์ ผลักดันการเข้าตีของข้าศึกด้วยการยิงและการรบประชิดและปฏิบัติการพิเศษข. การแบ่งมอบ เป็นหน่วยในอัตราของกองพันทหารราบค. ขีดความสามารถ๑) ทําการรบได้ทั้งการยุทธ์สะเทินนํ ้าสะเทินบก การรบทางบก และการรบพิเศษ๒) จัดให้มีฐานยิงและการดําเนินกลยุทธ์ได้๓) ใช้การยิง การเคลื่อนที่เข้าประชิด และการทําลายกําลังข้าศึก๔) ผลักดันการเข้าตีของข้าศึกด้วยการยิง การรบประชิด หรือการตีโต้ตอบได้๕) ยึดและรักษาภูมิประเทศได้๖) เคลื่อนที่ได้ทุกภูมิประเทศและลมฟ้ าอากาศ๗) ปฏิบัติการรบโดยอิสระได้ชั่วระยะเวลาจํากัดง. ผังการจัดกองร้อยปื นเล็ก (อจย.๒๒-๒๒๓)บก.ร้ อย มว.อาวุธ มว.ปื นเล็กบก.มว. ตอน ปก. ตอนโจมตี ตอนเครื่องยิงลูกระเบิดรูปที่ ๑ การจัดกองร้อยปื นเล็กจ. คุณลักษณะ๑. กองร้อยปื นเล็ก เป็นส่วนดําเนินกลยุทธ์หลักของกองพันทหารราบและมีขีดความสามารถในการปฏิบัติการรบได้หลายอย่าง ลักษณะการจัดหน่วยและอาวุธยุทโธปกรณ์ของกองร้อยปื นเล็กทําให้สามารถปฏิบัติภารกิจการรบได้หลายแบบ โดยปกติเมื่อไม่มียานยนต์มาสนับสนุนกองร้อยปื นเล็กจะเคลื่อนย้ายด้วยเท้า กองร้อยปื นเล็กสามารถเคลื่อนย้ายด้วย ฮ. หรือเครื่องบินลําเลียงได้ ขีดความสามารถในการเคลื่อนย้ายในภูมิประเทศจะเพิ่มขึ ้นเมื่อได้รับการสนับสนุนยานพาหนะที่เหมาะสม ลักษณะการจัดหน่วยของกองร้อยปื นเล็กอํานวยให้สามารถจัดหน่วยสนับสนุนการรบและหน่วยสนับสนุนทางการช่วยรบที่จะมาสมทบหรือสนับสนุน เพื่อปฏิบัติภารกิจเฉพาะใด ๆ ให้บรรลุความสําเร็จได้ การจัดกําลังพื ้นฐานนี ้


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๒ -วิชา หลักยุทธวิธีอํานวยให้สามารถจัดกําลังเฉพาะกิจได้ชั่วคราว โดยกองร้อยสามารถควบคุมส่วนกําลังรบ ส่วนสนับสนุนการรบ และส่วนสนับสนุนทางการช่วยรบ ในการปฏิบัติภารกิจที่ได้รับมอบให้สําเร็จ๒. หมวดปื นเล็ก เป็นส่วนดําเนินกลยุทธ์หลักของกองร้อยปื นเล็ก และมีคุณลักษณะที่สําคัญเช่นเดียวกับกองร้อยปื นเล็ก๓. หมวดอาวุธ เป็ นส่วนยิงสนับสนุนหลักของกองร้อยปื นเล็ก มีการจัดกําลังและยุทโธปกรณ์เพื่ออํานวยให้มีความอ่อนตัว การควบคุมและความง่ายต่อการใช้ในการสนับสนุนหมวดปื นเล็กให้มากที่สุดฉ. การใช้๑. กองร้อยปื นเล็ก ปกติกองร้อยปื นเล็กจะปฏิบัติการเป็นส่วนดําเนินกลยุทธ์ของกองพัน แต่สามารถปฏิบัติการเป็ นอิสระได้ในช่วงระยะเวลาสั ้น ๆ เมื่อได้รับการเพิ่มเติมกําลังตามความเหมาะสมกองร้อยปื นเล็กจะเป็นหลักในการจัดส่วนสนับสนุนที่เหมาะสมมาสมทบ เพื่อประกอบเป็ นกําลังเฉพาะกิจในการปฏิบัติภารกิจเฉพาะอันใดอันหนึ่งก) ในการเข้าตี หมวดปื นเล็กของกองร้อยซึ่งได้รับการยิงสนับสนุนจากอาวุธในอัตรา และ/หรืออาวุธภายนอกหน่วย จะดําเนินกลยุทธ์ไปยังตําบลที่ซึ่งจะสามารถเข้าประชิดและทําลายข้าศึกได้ข) ในการตั ้งรับ กองร้อยปื นเล็กจะทําการตั้งรับเป็นส่วนหนึ่งของกองพันและปฏิบัติการเป็นอิสระได้ในบางครั้ง จะดําเนินการขัดขวางมิให้ข้าศึกเข้าถึง และ /หรือยึดพื ้นที่ โดยการทําลายข้าศึกด้วยการยิงตามแผนของอาวุธทุกอย่างที่มี และการรบประชิด กองร้อยสามารถปฏิบัติการเป็นส่วนหนึ่งของการตั้งรับแบบยึดพื ้นที่หรือการตั้งรับแบบคล่องตัว๒. หมวดปื นเล็ก ปกติจะทําการรบเป็นส่วนหนึ่งของกองร้อยปื นเล็ก เมื่อสถานการณ์จําเป็นอาจได้รับการเพิ่มเติมกําลังที่เหมาะสม เพื่อปฏิบัติการเป็นอิสระในระยะเวลาจํากัด เช่น การปฏิบัติการลาดตระเวนก) ในการเข้าตี หมู่ปื นเล็กของหมวดซึ่งได้รับการยิงสนับสนุนจากอาวุธในอัตรา และ/หรืออาวุธภายนอกหน่วย จะดําเนินกลยุทธ์ไปยังตําบลที่ซึ่งจะสามารถเข้าประชิดและทําลายข้าศึกข) ในการตั ้งรับ หมวดปื นเล็กทําการตั้งรับเป็นส่วนหนึ่งของกองร้อยปื นเล็ก ดําเนินการขัดขวางไม่ให้ข้าศึกเข้าถึง และ/หรือยึดพื ้นที่ โดยการยิงของอาวุธในอัตราและการรบประชิด สนับสนุนด้วยการยิงตามแผนของอาวุธนอกอัตรา๓. หมวดอาวุธ เป็นหน่วยยิงสนับสนุนในอัตราของกองร้อยปื นเล็ก ประกอบด้วย ปื นกล ค .๖๐และ คจตถ. มีหน้าที่ยิงสนับสนุนและ/หรือสมทบ เพิ่มเติมกําลังให้กับหมวดปื นเล็ก เพื่อปฏิบัติการเฉพาะก) ในการเข้าตี หมวดอาวุธจะทําการยิงสนับสนุน ส่วนดําเนินกลยุทธ์ของกองร้อย ด้วยการยิงของปื นกล ค .๖๐ และคจตถ. รวมทั้งการต่อสู ้รถถังในระยะประชิดและการสนับสนุนด้วยการทําลายอย่างจํากัดข) ในการตั้งรับ หมวดอาวุธทําการตั้งรับเป็นส่วนหนึ่งของกองร้อยปื นเล็ก เมื่อไม่คํานึงถึงการยิงของอาวุธนอกอัตรา ตอนปื นกลของหมวดอาวุธจะเป็ นหลักในการยิงป้ องกันขั ้นสุดท้ายของกองร้อย ตอน


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๕ -วิชา หลักยุทธวิธีเลือกที่อยู ่ให้สามารถอํานวยการรบได้ดีที่สุด กิจการใดที่กองร้อยกระทําไปสําเร็จหรือล้มเหลว ผบ.ร้ อย.ต้องรับผิดชอบแต่เพียงผู ้เดียว๑.๑.๒ รอง ผบ.ร้ อย.ปื นเล็ก(ร.ท. ๑)- เป็นผู ้ช่วยของผบ.ร้ อย. และทํางานตามที่ผบ.ร้ อย.สั่งหรือมอบหมายให้ รอง ผบ.ร้ อยรับผิดชอบในการจัดตั้งที่บังคับการ และรักษาการติดต่อสื่อสารระหว่างหมวดต่าง ๆ กับผบ.ร้ อย. และผบ.พัน.ควบคุมและกํากับดูแลในเรื่องงานธุรการและการส่งกําลัง๑.๑.๓ พันจ่ากองร้อย (พันจ่าเอกพิเศษ ๑)- ช่วยเหลือผบ .ร้ อย.และรอง .ผบ.ร้ อย. รับผิดชอบในการปฏิบัติงานธุรการและการส่งกําลังบํารุงภาย ในกองร้อย ช่วยเหลือและทําการแทนรอง ผบ.ร้ อย.เมื่อไม่อยู่๑.๑.๔ จ่าพัสดุ(จ่า ๑)-.ควบคุมการเบิก - จ่ายและรวบรวม - เก็บรักษาพัสดุทุกประเภทในกองร้อยตามคําสั่งของผู ้บังคับกองร้อย๑.๑.๕ เสมียนกองร้อย (จ่า ๑)- เป็นผู ้ช่วยพันจ่ากองร้อย ทํางานเกี่ยวกับหนังสือภายในบก .ร้ อย.จัดทําใบเบิก - จ่ายเบี ้ยเลี ้ยงทหาร เสนอยอดบัญชีพลต่อผบ.ร้ อย.๑.๑.๖ ผู ้ช่วยเสมียน (จ่าตรีกองประจําการ / พลทหาร ๒)- ช่วยเหลือเสมียนกองร้อยในกิจการทางธุรการทั้งมวล๑.๑.๗ พลนําสาร (พลทหาร ๒)-.เป็นผู ้สื่อข่าวทั ้งด้วยวาจาและทางสาส์น ปฏิบัติหน้าที่เป็ นเจ้าหน้าที่ระวังป้ องกันภายในกองร้อย คอยรับ - ส่งข่าวทางโทรศัพท์และเป็นผู ้ตรวจการณ์ด้วย๑.๑.๘ พลแตรเดียว (พลทหาร ๑)- เป่ าแตรสัญญาณตามคําสั่ง ผบ.ร้ อย.และปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ ตามคําสั่ง ผบ.ร้ อย.๒.หมวดปื นเล็ก๒.๑.กองบังคับการหมวดปื นเล็ก กองบังคับการหมวดปื นเล็กประกอบด้วย ผบ .หมวด, รอง.ผบ.หมวด, จ่าประจําหมวด และพลนําสาร ๒ นาย๒.๑.๑. ผู้บังคับหมวด.(ร.ท.๓)- มีหน้าที่และรับผิดชอบในเรื่องการฝึก วินัย และการใช้หมวดปื นเล็กทางยุทธวิธีตามคําสั่งของผู ้บังคับกองร้อย๒.๑.๒. รองผู ้บังคับหมวด (พันจ่าเอกพิเศษ ๑, พันจ่า ๒)- ช่วยเหลือผู ้บังคับหมวดในงานด้านธุรการและการส่งกําลั งบํารุง รับผิดชอบการจัดบก.หมวดและรักษาการติดต่อกับหมู ่ต่าง ๆ ทําหน้าที่แทนเมื่อ ผบ.หมวดไม่อยู่


่่่้หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๖ -วิชา หลักยุทธวิธี๒.๑.๓. จ่าประจําหมวด (จ่า ๓)- ช่วยเหลือผบ.หมวดและรอง.ผบ.หมวด ในการปฏิบัติงานทางด้านธุรการและการส่งกําลังบํารุง๒.๑.๔ พลนําสาร (พลทหาร ๖)- เป็ นผู้ สื่อข่าวทั้งด้วยวาจาและทางสาส์น ปฏิบัติหน้าที่เป็นเจ้าหน้าที่ระวังป้ องกันภายในหมวด คอยรับ - ส่งข่าวทางโทรศัพท์และเป็นผู ้ตรวจการณ์ด้วย๒.๒.หมู่ปื นเล็ก๒.๒.๑.ผู ้บังคับหมู่ / พลยิงลูกระเบิด (พันจ่า ๙)- มีหน้าที่และรับผิดชอบในเรื่อง การฝึก วินัยแ ละการใช้หมู่ปื นเล็กทาง ยุทธวิธีตามคําสั่งของผู้บังคับหมวด มีหน้าที่ในการใช้อาวุธเครื่องยิงลูกระเบิด เอ็ม.๒๐๓๒.๓.พวกยิง๒.๓.๑.นายพวกยิง (จ่า ๒๗)- มีหน้าที่และรับผิดชอบทหารภายในพวกยิงในการดําเนินกลยุทธ์ตามคําสั่งของผู บังคับหมู่๒.๓.๒.พลปื นเล็กกล (พลทหาร ๒๗)- เคลื่อนที่และปฏิบัติการยิงในกรอบของพวกยิง ตามคําสั่งผู ้บังคับหมู๒.๓.๓.พลปื นเล็กกลผู ้ช่วย (พลทหาร ๒๗)- เคลื่อนที่และปฏิบัติการยิงในกรอบของพวกยิง ตามคําสั่งผู ้บังคับหมู๒.๓.๔.พลปื นเล็ก(พลทหาร ๒๗)- เคลื่อนที่และปฏิบัติการยิงในกรอบของพวกยิง ตามคําสั่งผู ้บังคับหมู๓.หมวดอาวุธ๓.๑. กองบังคับการหมวดอาวุธ ประกอบด้วย ผบ .หมวด, รอง ผบ.หมวด และพล นําสาร๓.๑.๑. ผบ.หมวดอาวุธ (ร.ท.๑)- มีหน้าที่และรับผิดชอบในเรื่อง การฝึก วินัยและการใช้หมวดอาวุธทางยุทธวิธีผบ.มว. จะต้องเป็นผู ้เสนอแนะการใช้หมวดอาวุธ เป็นผู ้เลือกบริเวณที่ตั้งยิงและวางแผนในการเปลี่ยนที่ตั้งยิง๓.๑.๒ รอง ผบ.หมวดอาวุธ (พันจ่าเอกพิเศษ ๑)- เป็ นผู้บังคับบัญชาอันดับสองต่อจากผบ .หมวด หน้าที่หลักของรอง.ผบ.หมวดคือ กํากับดูแลในเรื่องการเพิ่มเติมกระสุน ช่วยเหลือผบ.หมวดในการควบคุมขณะทําการยิง การเปลี่ยนที่ตั้งยิง และในขณะเคลื่อนที่๓.๑.๓.พลนําสาร (พลทหาร ๑)


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๗ -วิชา หลักยุทธวิธี- เป็นผู ้สื่อข่าวทั ้งด้วยวาจาและทางสาส์น ปฏิบัติหน้าที่เป็ นเจ้าหน้าที่ระวังป้ องกันภายในหมวด คอยรับ - ส่งโทรศัพท์และเป็นผู ้ตรวจการณ์ด้วย๓.๒.ตอนปื นกล๓.๒.๑.ผู้บังคับตอน(พันจ่า ๑)- รับผิดชอบในเรื่องการฝึ ก วินัยและอํานวยการในการใช้ตอนปื นกล เป็นผู ้เลือกและกําหนดบริเวณที่ตั้งของหมู ่ปื นกล ภายในบริเวณที่ตอนได้รับมอบจากผบ .หมวด ควบคุมตอนปื นกลในการเคลื่อนที่เข้าที่ตั้งยิง การยิงและการเปลี่ยนที่ตั้งยิง๓.๓.หมู่ปื นกล (๓ หมู่)๓.๓.๑.ผู ้บังคับหมู่(จ่า ๓)- เป็นผู ้เลือกที่ตั้งยิงแน่นอนให้แก่ปื นทั้งสองกระบอก ตรวจการณ์และควบคุมการยิงของหมู ่ และกํากับการใช้พลกระสุนชุดปื นกล(๖ ชุด ปก.)๓.๓.๒.ผู ้บังคับชุด / พลยิง (จ่า ๖)- เข้าประจําปื น ปฏิบัติการเคลื่อนที่เข้าที่ตั้งยิง ทําการยิงและการเปลี่ยนที่ตั้งยิง ตามคําสั่งของ ผบ.หมู่ปื นกล๓.๓.๓.พลยิงผู ้ช่วย (พลทหาร ๖)- ช่วยเหลือผู ้บังคับชุด / พลยิง ในการบรรจุกระสุน การเคลื่อนที่เข้าที่ตั ้งยิง การยิงและการเปลี่ยนที่ตั้งยิง๓.๓.๔.พลกระสุน (พลทหาร ๑๒)- มีหน้าที่ลําเลียงกระสุน บรรจุกระสุนเข้าสายกระสุน ตรวจสอบความเรียบร้อยของกระสุนก่อนนํามามอบให้พลยิงผู ้ช่วย๓.๓.ตอนโจมตี๓.๓.๑.ผู้บังคับตอน(พันจ่า ๑)- รับผิดชอบในเรื่อง การฝึก วินัยและอํานวยการใช้ตอนเครื่องยิงจรวดต่อสู้รถถังเป็ นผู ้เลือกและกําหนดบริเวณที่ตั้งยิงของหมู ่ภายบริเวณที่ตอนได้รับมอบจากผบ.หมวด ควบคุมการเคลื่อนที่เข้าที่ตั้งยิง การยิงและการเปลี่ยนที่ตั้งยิง๓.๔.หมู่โจมตี (๓ หมู่)๓.๔.๑.ผู ้บังคับหมู่(พันจ่า ๓)- เป็นผู ้เลือกที่ตั้งยิงแน่นอนให้แก่ปืนทั ้ง ๒ กระบอก ตรวจการณ์และควบคุมการยิงของหมู ่และกํากับการใช้พลกระสุน๓.๔.๒.พลโจมตี (จ่า ๓ )


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๘ -วิชา หลักยุทธวิธี๓.๔.๓.ผู ้ช่วยพลโจมตี(พลทหาร ๓ )๓.๔.ตอนเครื่องยิงลูกระเบิด๓.๔.๑.ผู้บังคับตอน(พันจ่า ๑)- รับผิดชอบในเรื่องการฝึก วินัยและอํานวยการใช้ตอนเครื่ องยิงลูกระเบิด เป็ นผู้เลือกและกําหนดบริเวณที่ตั้งยิงของหมู ่ภายในบริเวณที่ตอนได้รับมอบจากผบ .หมวด ควบคุมการเคลื่อนที่เข้าที่ตั้งยิง การยิงและการเปลี่ยนที่ตั้งยิงหมู ่เครื่องยิงลูกระเบิด ( ๓ หมู่)๓.๔.๒.ผู ้บังคับหมู่ / พลยิง (พันจ่า ๓)- เป็ นผู้ เลือกที่ตั้งยิงที่แน่นอน ตรวจการณ์และควบคุมการยิงของหมู ่ และกํากับการใช้พลกระสุน๓.๔.๓.พลยิงผู ้ช่วย (จ่า ๓)- ช่วยเหลือผู ้บังคับหมู่ / พลยิง ในการบรรจุกระสุน การเคลื่อนที่เข้าที่ตั ้งยิง การยิงและการเปลี่ยนที่ตั้งยิง๓.๔.๔.พลกระสุน (พลทหาร ๖)- มีหน้าที่ลําเลียงกระสุน ตรวจสอบความเรียบร้อยของกระสุนก่อนนํามามอบให้พลยิงผู ้ช่วย-----------------------------


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๙ -วิชา หลักยุทธวิธีบทที่ ๒บุคคลทําการรบตอนที ่ ๑การกําบัง, การซ่อนพราง และการพรางกล่าวโดยทั ่วไปถ้าข้าศึกสามารถเห็นท่านได้ก็สามารถที่จะยิงท่านได้ ฉะนั ้ นจําเป็ นต้องมีการซ่อนพรางจากการตรวจการณ์และกําบังจากการยิงของข้าศึก เมื่อภูมิประเทศไม่เกื ้อกูลต่อการกําบังและการซ่อนพราง ท่านจําเป็ นต้องจัดเตรียมการกําบังโดยใช้วัสดุทางธรรมชาติหรือที่มนุษย์สร้างขึ ้นเพื่อพรางตัวท่าน , อาวุธยุทโธปกรณ์และที่มั่นของท่าน ในบทนี ้จะเป็ นแนวทางในการเตรียมการและการใช้การกําบัง, การซ่อนพรางและการพรางการกําบังการกําบังเป็นการป้ องกันจากกระสุน สะเก็ดระเบิด เปลวไฟผลของอาวุธนิวเคลียร์และการใช้นคช.การกําบังยังสามารถซ่อนพรางจากการตรวจการณ์ของข้าศึกได้อีกด้วยโดยสามารถใช้ภูมิประเทศตามธรรมชาติหรือสิ่งที่สร้างขึ ้นการกําบังโดยธรรมชาติสามารถใช้ซุง, ต้นไม้, ตอไม้, ร่องนํ ้าและหลุมการกําบังโดยการสร้างขึ ้นเช่น หลุมบุคคล, คูติดต่อ, กําแพง,สิ่งปรักหักพังและหลุมระเบิด แม้แต่ร่องและคันดินขนาดเล็กก็สามารถใช้เป็นที่กําบังได้ พยายามค้นหาและใช้ประโยชน์สิ่งต่าง ๆ ที่อยู ่ในภูมิ การกําบังประเทศเป็นกําบัง ในการรบจําเป็นต้องป้ องกันได้ทั้งการยิงตรงและยิงจําลองของข้าศึกในการตั้งรับที่มั่นที่เราสร้างขึ ้นเป็นสิ่งจําเป็นเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการกําบังนอกจากใช้ภูมิ ประเทศและสิ่งต่างที่มีอยู ่ตามธรรมชาติเพื่อป้ องกันการยิงจากข้าศึกในขณะที่เข้าตีหรือเมื่อกําลังเคลื่อนที่ควรใช้เส้นทางซึ่งให้การกําบังระหว่างทางและสถานที่ต่าง ๆ ซึ่งคาดว่าจะมีข้าศึก โดยการใช้ร่องนํ ้า ,เนินเขาที ่มั ่นมีการกําบังพื ้นที่ที่เป็นป่ ามีต้นไม้ กําแพงหรือสิ่งกําบังอื่น ๆ ที่ข้าศึกไม่สามารถมองเห็นและยิงมายังเราได้หลีกเลี่ยงพื ้นที่โล่งแจ้งอย่าเคลื่อนที่ได้ตัดกับแนวขอบฟ้ า โดยเฉพาะการเดินบนยอดเนินหรือสันเนินการเคลื ่อนที ่โดยใช้ร่องนํ้าในภูมิประเทศ


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๑๐ -วิชา หลักยุทธวิธีการซ่อนพรางการซ่อนพราง คือการทําอย่างไรก็ได้ที่จะไม่ให้ข้าศึกตรวจการณ์เห็น แต่ไม่ป้ องกันการยิงจากข้าศึก การซ่อนพรางสามารถกระทําได้ทั้งการใช้ธรรมชาติในภูมิประเทศให้เป็ นประโยชน์หรือการ ใช้วัสดุที่มนุษย์สร้ างขึ ้นการซ่อนพรางโดยการใช้สิ่งธรรมชาติ เช่นการใช้พุ่มไม้ , หญ้ า, ต้นไม้และเงา ถ้าเป็ นไปได้ไม่ควรเปลี่ยนสภาพสิ่งเหล่านีเมื่อใช้ซ่อนพราง ้การซ่อนพรางโดยใช้สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ ้น เช่น การใช้เครื่องแบบ ชุดพราง ตาข่ายพราง สีพรางหน้าและวั สดุธรรมชาติในบริเวณพื ้นที่นํามาใช้ในการซ่อนพรางซึ่งต้องพรางให้กลมกลืนกับลักษณะภูมิประเทศบริเวณนั้นทหารในพื้นที ่ที ่มีการซ่อนพรางวินัยในการใช้ แสงเสียง, การเคลื่อนที่ และการพราง ล้วนแล้วแต่ช่วยให้การซ่อนพรางได้ผล วินัยในการใช้แสง คือการควบคุมการใช้แสงในเวลากลางคืน เช่น การไม่สูบบุหรี่ในที่โล่งแจ้ง ไม่เดินฉายไฟฉายและการพรางไฟเมื่อใช้ยานยนต์ สําหรับวินัยการใช้เสียง เช่น ไม่ใช้เสียงใด ๆ ที่จะทําให้ข้าศึกรู ้ถึงการปฏิบัติของฝ่ ายเรา การใช้การติดต่อสื่อสารโดยไม่ต้องใช้เสียง เช่น สัญญาณมือ วินัยการเคลื่อนที่ เช่นไม่เคลื่อนที่จากที่มั่นโดยไม่จําเป็น ไม่เคลื่อนที่บนเส้นทางที่ไม่มีการกําบังและการซ่อนพราง ในการตั้งรับควรสร้างที่มั่นที่มีการพรางอย่างดี และหลีกเลี่ยงการเคลื่อนที่ในบริเวณรอบ ๆ ในการรุกต้องซ่อนพรางตัวของท่านและยุทโธปกรณ์ด้วยการพราง และเคลื่อนที่ในป่ าหรือภูมิประเทศที่ให้การซ่อนพราง ค วามมือไม่สามารถซ่อนท่านจากการตรวจการณ์ของข้าศึกได้ อุปกรณ์ที่ใช้ตรวจการณ์เวลากลางคืน และเครื่องมือตรวจจับอื่น ๆ ข้าศึกสามารถตรวจพบท่านได้ไม่ว่าจะเป็นกลางวันหรือกลางคืนการพรางการพราง คือการใช้สิ่งใด ๆ ทั้งจากธรรมชาติหรือที่มนุษย์สร้างขึ ้นเพื่อทําให้ตัวท่ าน, ยุทโธปกรณ์และที่มั่นให้กลมกลืนกับสภาพภูมิประเทศโดยรอบการเปลี่ยนและปรับปรุงการพรางบ่อย ๆ ขึ ้นอยู ่กับลักษณะอากาศและวัสดุที่ใช้ วัสดุทางธรรมชาติมักจะตาย สีจาง เช่นเดียวกับการพรางที่ใช้วัสดุที่สร้างขึ ้นด้วยมนุษย์อาจจะพัง, ชํารุด หรือสีซีดจางซึ่งจะทําให้ตัวท่าน ยุทโธปกรณ์และที่มั่นของท่านไม่กลมกลืนกับลักษณะภูมิประเทศโดยรอบ ซึ่งจะทําให้ข้าศึกสามารถตรวจพบได้ง่ายข้อพิจารณาในการพรางการเคลื่อนที่จะดึงดูดความสนใจ เมื่อท่านให้สัญญาณมือหรือเดินรอบ ๆ ที่มั่น ข้าศึกอาจจะเห็นท่านด้วยตาเปล่าจากระยะไกล ในการตั ้งรับทํา ตัวให้ตํ่า และเคลื่อนที่เมื่อจําเป็นเท่านั้น ในการรุกเคลื่อนที่บนเส้นทางที่มีการกําบังและการซ่อนพรางเท่านั้น


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๑๑ -วิชา หลักยุทธวิธีที่มั่นต่าง ๆ ต้องไม่อยู ่ในที่ที่ข้าศึกคาดการณ์ได้ว่าจะพบฝ่ ายเรา ควรสร้างที่มั่นต่าง ๆ ด้านข้างของเนินให้ห่างจากสี่แยกถนนหรือสิ่งก่อสร้างที่อยู ่โดดเดี่ยวและต้องเป็นพื ้นที่ที่มีการกําบังและการซ่อนพรางหลีกเลี่ยงพื ้นที่โล่งแจ้วที่กําบังด้านหน้าช่องยิงที ่มั ่นหน้าเนินซึ ่งมีการกําบังและการซ่อนพรางขอบลายเส้นและเงาอาจจะทําให้เปิ ดเผยที่มั่นหรือยุทโธปกรณ์ในการตรวจการณ์ทางอากาศและภาคพื ้นดินการไม่ทําให้เกิดขอบลายเส้นและเงาของตัวคนและยุทโธปกรณ์ก็โดยใช้การพรางและเคลื่อนที่ในร่มเงาให้มากที่สุดแสงสะท้อนอาจจะทําให้ข้าศึกสนใจ เช่น แสงจากการสูบบุหรี่ หรือไฟฉาย ในเวลากลางวัน แสงสะท้อนอาจจะเกิดจากอุปกรณ์ปรุงอาหาร, หมวกเหล็ก, กระจกหน้ารถ, นาฬิกาข้อมือหรือผิวหนังส่วนที่ไม่ได้พรางอาจจะทําให้ข้าศึกตรวจพบที่มั่นฝ่ ายเราได้ เพื่อลดแสงสะท้อนควรพรางหน้าและผิวหนังที่ไม่มีสิ่งใดปกปิ ด อย่างไรก็ตามในการโจมตีด้วยนิวเคลียร์การใช้สีพรางเข้มทาผิวหนังก็จะสามารถดูดพลังงานความร้อนได้มากกว่าปกติและทําให้ผิวหนังไหม้เร็วกว่าเมื่อไม่ได้พราง นอกจากนั ้นต้อง ผบ.หน่วยและทหารในร่มเงาต้นไม้พรางผิวภายนอกของยุทโธปกรณ์ต่าง ๆ, ยานพาหนะด้วยสีพราง, โคลนหรือวัสดุพรางต่าง ๆทหารช่วยกันพรางซึ ่งกันและกัน


้หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๑๒ -วิชา หลักยุทธวิธีรูปทรง คือขอบลายเส้นหรือรูปร่าง รูปทรงของหมวกเหล็กง่ายต่อการจดจําและรับรู ้, รูปทรงของมนุษย์ก็รับรูได้ง่ายเช่นกัน ใช้การพรางและการซ่อนพรางเพื่อไม่ทําให้เกิดรูปทรงที่คุ ้นตาและต้องกลมกลืนกับสภาพแวดล้อมการพรางหมวกเหล็กสีต่าง ๆ ของผิวหนัง , เครื่องแบบ และยุทโธปกรณ์ อาจจะทําให้ข้าศึกตรวจพบฝ่ ายเราได้ ถ้าสีเหล่านั้นตัดกับฉากหลัง ตัวอย่างเช่น เครื่องแบบสีเขียวอาจะตัดกับฉากหลังซึ่งภูมิประเทศปกคลุมด้วยหิมะซึ่งเป็นสีขาวตั้งพรางตัวของท่านและยุทโธปกรณ์ของท่านให้กลมกลืนกับสภาพแวดล้อมการกระจายกําลังหรือขยายระยะต่อระยะเคียงของทหาร, ยานพาหนะและยุทโธปกรณ์ให้เป็นบริเวณกว้าง เป็นสิ่งที่พึงกระทํา ซึ่งระยะต่าง ๆ จะขึ ้นอยู ่กับภูมิประเทศ, ทัศนวิสัยและสถานการณ์ข้าศึกปกติแล้ว ผบ.หน่วยขณะนั้นจะเป็นผู ้กําหนดการพรางในภูมิประเทศที ่มีหิมะการกระจายกําลังของพวกยิง


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๑๓ -วิชา หลักยุทธวิธีวิธีพรางก่อนที่จะทําการพรางต้องศึกษาภูมิประเทศ, พืชพันธุ์ของพื ้นที่ปฏิบัติการแล้วจึงเลือกวัสดุที่จะใช้พรางให้กลมกลืนต่อพื ้นที่ปฏิบัติการมากที่สุด เมื่อเคลื่อนที่จากพื ้นที่หนึ่งไปยังพื ้นที่หนึ่ง เปลี่ยนแปลงการพรางให้กลมกลืนกับสภาพแวดล้อมใหม่โดยใช้กิ่งไม้, ใบไม้, หญ้ า, พุ ่มไม้ และวัสดุต่าง ๆ ในบริเวณนั ้นในการพรางตัว, ยุทโธปกรณ์และใช้สีพรางหน้าพรางหน้าและผิวหนังที่เปิ ดเผยทหารที ่ได้รับการพรางแล้วที่มั่นและหลุมบุคคล เมื่อสร้างที่มั่น , หลุมบุคคลจะต้องพรางทั้งก้นหลุมเพื่อป้ องกันการตรวจพบจากการตรวจการณ์ทางอากาศ, ดินหรือวัสดุที่ขุดขึ ้นมาเพื่อใช้กําบังทั้งด้านหน้า, ด้านหลัง, ทางปี กและด้านบน (เหนือหัว) จะต้องพรางด้วย ถ้าจําเป็นต้องนําดินหรือวัสดุที่ขุดขึ ้นมาและไม่ต้องการใช้นําไปทิ ้งให้ไกลจากบริเวณที่มั่นหรือหลุมบุคคลอย่างพรางมากเกินไปเพราะอาจจะเป็ นการเปิ ดเผยที่มั่นของฝ่ ายเราได้ การนําวัสดุที่ใช้พรางมาทําการพรางควรนํามาจากพื ้นที่กว้าง ๆ ไม่ควรนํามาจากบริเวณเดียวกัน เช่น หักกิ่งไม้หรือใบไม้พุ ่มไม้จากบริเวณเดียวกันอาจจะเป็นที่สงสัยของฝ่ ายตรงข้าม ไม่ควรรอจนที่มั่นเสร็จ แล้วจึงพรางควรจะเริ่มพรางตั้งแต่เริ่มแรกที่เริ่มสร้างที่มั่นหรือขุดหลุมบุคคลปรับปรุงที ่มั ่นในการพราง


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๑๔ -วิชา หลักยุทธวิธีอย่าทิ ้งยุทโธปกรณ์ที่สะท้อนแสง เช่น ภาชนะปรุงอาหาร, กระจก, กระป๋ องบรรจุอาหาร, ชุดชั้นในและผ้าขนหนูสีขาวไว้ข้างนอก ข้าศึกอาจตรวจการณ์เห็ น ไม่ควรถอดเสื ้อชั้นในในที่โล่งแจ้งเพราะผิวหนังสะท้อนแสงได้ ไม่ควรจุดไฟเพราะเปลวไฟอาจทําให้ข้าศึกเห็นหรือได้กลิ่นควันไฟนอกจากนี ้ควรปกปิ ดร่องรอยที่เกิดจากการเดินหรือการเคลื่อนย้ายการใช้กิ ่งไม้เพื ่อพรางเส้นทางเดินเมื่อพรางเสร็จเรียบร้อย, ตรวจที่มั่นจากทิศทางด้านที่คิดว่าข้าศึกจะตรวจการณ์เห็น ควรจะตรวจในระยะประมาณ ๓๕ เมตรจากที่มั่น แล้วตรวจสอบการพรางเป็นระยะ ๆ เพื่อให้แน่ใจว่าเข้ากับสภาพแวดล้อมและซ่อนพรางที่มั่นหมวกเหล็ก พรางหมวกเหล็กของท่านด้วยผ้าคลุมหมวกเหล็กที่มีสีกลมกลืนกับภูมิประเทศการใช้หญ้ า, กิ่งไม้ใบไม้เสียบไว้ที่ผ้าคลุมจะช่วยลดรูปทรงที่คุ ้นตาได้การพรางหมวดเหล็กเครื่องแบบ เครื่องแบบที่สวมใส่จะตัดเย็บจากวัสดุที่เป็นสีพรางอยู ่แล้ว อย่างไรก็ตามอาจจะมีความจําเป็นต้องพรางเพิ่มเติมเพื่อให้เข้ากับสภาพแวดล้อมมากยิ่งขึ ้น ซึ่งอาจจะใช้โคลน , ใช้ใบไม้, หญ้ าหรือกิ่งไม้เล็ก ๆ แต่อย่าพรางมากจนเกินไปจะดึงดูดความสนใจข้าศึกได้เมื่อต้องปฏิบัติภารกิจบนภูมิประเทศที่ปกคลุมด้วยหิมะต้องสวมเครื่องแบบสีขาวเพื่อให้กลมกลืนกับหิมะถ้าไม่มีเครื่องแบบสีขาวอาจใช้วัสดุสีขาว เช่น ผ้าขนหนูหรือผ้าปูที่นอนสีขาว


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๑๕ -วิชา หลักยุทธวิธีผิวหนัง ผิวหนังส่วนที่ไม่ได้ป กปิ ดสามารถสะท้อนแสงซึ่งจะดึงดูดความสนใจข้าศึกแม้แต่ผู ้ที่มีผิวหนังสีดํา หรือคลํ ้าเนื่องจากผิวหนังชั้นนอกนั้นจะมีนํ ้ามันตามธรรมชาติเพื่อช่วยทําให้ผิวหนังดูชุ ่มชื ้นไม่แห้งวัสดุที่ใช้พรางการใช้สีในการพรางตารางต่อไปนี้เป็ นคําแนะนําในการใช้สีพรางหน้าพรางผิวหนังผิวขาว หรือดําทหารทุกคนใช้ในพื ้นที่สีดิน และสีเขียวอ่อนที่มีพืชพันธุ ์สีเขียวสีทราย และสีเขียวอ่อน ทหารทุกคนใช้ในพื ้นที่ไม่มีพืชพันธุ ์สีเขียวสีดิน และสีขาว ทหารทุกคนใช้ในพื ้นที่ที่ปกคลุมด้วยหิมะถ่านไม้ หรือดินหม้อ ทหารทุกคน, ถ้าไม่มีสีพรางโคลนสีอ่อนทหารทุกคน, ถ้าไม่มีสีพรางสีผิว ส่วนที่สะท้อนแสง ส่วนที่มีเงาดําหน้าผาก,โหนกแก้ม,หู,จมูก และคางใช้สีดินใช้สีเขียวอ่อนใช้สีดินใช้รอบตา,ใต้จมูกใต้คางใช้สีเขียวอ่อนใช้สีทรายใช้สีขาวในการใช้สีพรางเพื่อทาผิวหนังจะใช้ระบบคู่ คือ ๒ คนช่วยกันพราง และพรางอย่าให้เป็นรูปแบบในส่วนของใบหน้าที่สะท้อนแสง (หน้าผาก, โหนกแก้ม, จมูก, หูและคาง) พรางด้วยสีทึบส่วนบริเวณที่เกิดเงา(รอบ ๆ ตา, ใต้จมูกและใต้คาง) พรางด้วยสีอ่อน นอกเหนือจากใบหน้า, ส่วนผิวหนังที่ไม่ได้ปกปิ ด เช่น หลังคอ แขน และมือ สําหรับฝ่ ามือถ้าต้องใช้สัญญาณมือไม่ต้องพราง เครื่องประดับต่าง ๆ ที่สะท้อนแสงไม่ควรสวมใส่ เมื่อไม่มีแท่งสีพรางใช้ถ่าน, ดินหม้อ, เขม่า หรือโคลนไม่ใช้ไม่ใช้ใช้


่่หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๑๖ -วิชา หลักยุทธวิธีตอนที่ ๒การเคลื่อนที่กล่าวโดยทั ่วไปโดยปกติแล้วในการรบทหารจะใช้เวลาในการเคลื่อนที่มากกว่าในการรบ ท่านต้องใช้เทคนิคในการเคลื่อนที่เพื่อหลีกเลี่ยงการปะทะกับข้าศึกเมื่อท่านไม่ได้เตรียมตัวสําหรับการปะทะหลักพื ้นฐานของการเคลื่อนที่ที่ทหารทุกคนต้องเรียนรู ้และฝึกจะเป็นสัญชาติญาณเทคนิคต่าง ๆ ในการเคลื ่อนทีขีดความสามารถของหน่วยในการเคลื่อนที่ขึ ้นอยู ่กับความชํานาญของทหารทุก ๆ คน เทคนิคต่อไปนี ้สามารถนํามาใช้ได้เพื่อหลีกเลี่ยงการตรวจพบหรือได้ยินจากข้าศึก- พรางตัวและยุทโธปกรณ์ของท่าน- ป้ ายแสดงชื่อซึ่งแขวนอยู ่ที่คอจํานวน ๒ อัน จะต้องใช้เทปพันเพื่อไม่ให้กระทบกันและเลื่อนไปมาชิ ้นส่วนของอาวุธและยุทโธปกรณ์ประจํากายที่จะทําให้เกิดเสียง ต้องใช้เทปพันเช่นเดียวกัน แต่ต้องระวังอย่าให้กีดขวางการทํางานของอาวุธ ทดสอบโดยกระโดดขึ ้นลงเพื่อฟังเสียงที่เกิดขึ ้นแล้วแก้ไข- สวมเครื่องแต่งกายด้วยผ้าอ่อนนุ ่มและพอดีกับร่างกาย- ยุทโธปกรณ์ที่ไม่จําเป็ นไม่ต้องนําไป การเคลื่อนที่จากที่กําบังหนึ่งไปยังอีกที่กําบังหนึ่ง ใช้เวลาไม่ควรเกิน ๓ - ๕ วินาที- หยุดตรวจการณ์และฟังเสียงก่อนที่จะเคลื่อนที่มองหาที่มั่นใหม่ก่อนเคลื่อนที่จากที่มั่นเดิม- ใช้เส้นทางที่มีการกําบังและซ่อนพรางในการเคลื่อนที่- เปลี่ยนทิศทางเล็กน้อยเป็นช่วง ๆ เมื่อเคลื่อนที่ผ่านทุ ่งหญ้าสูง- หยุด, ตรวจการณ์และฟังเมื่อนกหรือสัตว์แตกตื่น (ข้าศึกอาจอยู ่ในบริเวณนั ้น)- ใช้เสียงการสู ้รบ เช่น เสียงปื นหรืออาวุธอื่น ๆ เพื่อพรางเสียงในการเคลื่อนที่- ข้ามถนนและเส้นทางบริเวณที่มีการกําบังและซ่อนพรางดี เช่น ทางโค้ง, สะพาน, ร่องนํ, ้า พื ้นตํ่า- หลีกเลี่ยงบริเวณลาดชันที่พื ้นที่เป็นดินร่วนหรือหินกรวดวิธีการต่าง ๆ ในการเคลื ่อนทีนอกจากการเดินแล้วอาจเคลื่อนที่ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น คลานคืบ, คลานศอก หรือการโผ


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๑๗ -วิชา หลักยุทธวิธีการเคลื ่อนที ่การเคลื่อนที่ด้วยการคลานคืบจะทําให้เกิดภาพเงาตํ่าที่สุด ใช้เคลื่อนที่ในพื ้นที่ ๆ มีการซ่อนพรางน้อยและการยิงและการตรวจการณ์จากข้าศึกทําให้ท่านไม่สามารถลุกขึ ้นได้ ทําตัวให้ตํ่าติดพื ้นดินมากที่สุดใช้มือข้างที่ยิงปื นจับสายสะพายตรวจหูกระวินบนปล่อยให้ครอบปื นส่วนบนวางอยู ่บนแขนโดยให้ปลายลํากล้องปื นพ้นจากพื ้นดิน ปล่อยให้พานท้ายปื นลากไปตามพื ้นดินเมื่อต้องการเคลื่อนที่ เหยียดแขนไปข้างหน้า และชักขาด้านที่มือถือปื นไปข้างหน้า แล้วใช้ทั้งแขนและขาดึงและดันไปข้างหน้าจนถึงที่มั่นที่คาดหมายไว้คลานคืบคลานศอกการคลานการคลานศอกจะทําให้สามารถเคลื่อนที่ได้รวดเร็วกว่าการคลานคืบแต่ยังคงเกิดภาพเงาตํ่า จะใช้การคลานศอกเมื่อมีการซ่อนพรางที่ดี ภายใต้การยิงของข้าศึกไม่สามารถลุกขึ ้นได้ การคลานศอกลําตัวจะยกสูงจากพื ้นดิน โดยใช้แขนท่อนล่างโดยที่ขายังคงอยู ่ติดพื ้นดินวางปื นไว้ระหว่างแขนท่อนล่างทั้งสองรักษาปากลํากล้องปื นให้อยู ่พ้นพื ้นดินในการเคลื่อนที่ไปข้างหน้าใช้ศอกและเข่าเคลื่อนที่สลับกัน, ศอกขวาเข่าซ้าย, ศอกซ้ายเข่าขวาการเคลื่อนที่ด้วยวิธีการโผเป็นวิธีการเคลื่อนที่จากที่มั่นหนึ่งไปยังอีกที่มั่นหนึ่งเร็วที่สุด การโผแต่ละช่วงใช้เวลา ๓ ถึง ๕ วินาที โดยโผแต่ละช่วงในระยะสั ้น ๆ เพื่อไม่ให้ข้าศึกเล็ง ยิงได้ แต่ทั้งนี ้ก็ขึ ้นอยู ่กับภูมิประเทศถ้าเป็นที่โล่งแจ้งก็อาจจะใช้เวลามากขึ ้น ถ้าเป็นไปได้ควรหมอบลงกับพื ้นที่กําบัง ก่อนที่จะเคลื่อนที่ต้องกําหนดที่มั่นข้างหน้าที่กําบังและซ่อนพรางและเลือกเส้นทางเคลื่อนที่ ๆ ดีที่สุดการเคลื่อนที่เริ่มจากท่านอนควํ่าตามลําดับดังนี ้- เงยหน้าขึ ้นช้า ๆ เพื่อมองดูที่มั่นและเส้นทางที่จะใช้- ควํ่าหน้าลงช้า ๆ- ดึงแขนเข้าหาตัว- ชักขาขวามาข้างหน้า- ยกตัวขึ ้นโดยดันแขนให้ตรง- ลุกขึ ้นอย่างรวดเร็ว- เคลื่อนที่ไปยังที่มั่นข้างหน้าการโผ


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๑๘ -วิชา หลักยุทธวิธีเมื่อพร้อมที่จะหยุดการเคลื่อนที่ในการโผปฏิบัติดังนี ้- หยุดอยู ่กับที่โดยการวางเท้าทั้งสองข้างในลักษณะที่มั่นคง- งอเข่าทั้งสองข้างวางเข่าทั้งสองข้างลงกับพื ้นขณะเดียวกันเลื่อนมือขวามาจับพานท้ายปื น- ล้มไปข้างหน้าโดยใช้พานท้ายปื นยันพื ้น- กลับไปอยู ่ในลักษณะท่านอนยิงถ้าท่านยิงจากที่มั่นเดียวตลอดเวลาข้าศึกจะรู ้ที่อยู ่ของท่านและจะรอจนท่านลุกขึ ้นจากที่กําบังและเล็งยิง ดังนั้นก่อนที่จะเคลื่อนที่ด้วยการโผไปข้างหน้า ควรจะกลิ ้งหรือคลานเป็นระยะสั้น ๆ จากที่มั่นแล้วจึงลุกขึ ้นอาจจะทําให้ข้าศึกเล็งยิงผิดเมื่อเส้นทางที่ต้องเคลื่อนที่ไปที่มั่นใหม่เป็นพื ้นที่โล่งแจ้งให้เคลื่อนที่โดยการวิ่งซิกแซกถ้าจําเป็นหมอบลงกับพื ้นกลิ ้งทางซ้ายหรือขวาแล้วโผอีกครั ้งการเคลื ่อนที ่เข้าหาโดยการลักลอบการเคลื่อนที่โดยการลักลอบ คือการเคลื่อนที่อย่างช้า ๆ เงียบและระมัดระวังซึ่งต้องใช้ความอดทนสูงมากการเคลื่อนที่ด้วยการลักลอบใช้เทคนิคต่อไปนี ้- ถือปื นด้วยท่าเฉียงอาวุธพร้อมใช้- รักษานํ ้าหนักตัวให้ลงบนเท้าอย่างมั่นคงบนพื ้นดินขณะก้าวเดิน- ยกขาข้างที่เคลื่อนที่ให้สูงพ้นจากพุ ่มไม้, ใบหญ้ า- ค่อย ๆ วางปลายเท้าข้างที่เคลื่อนที่โดยให้นํ ้าหนักตัวอยู ่ที่ขาหลัง- ค่อย ๆ วางส้นเท้าข้างที่เคลื่อนที่ลงเมื่อวางปลายเท้าในที่มั่นคงแล้ว- ย้ายนํ ้าหนักตัวและสมดุลของร่างกายลงบนเท้าหน้าก่อนเคลื่อนเท้าหลัง- ก้าวสั้น ๆ เพื่อรักษาสมดุลร่างกายเวลากลางคืนและเมื่อกําลังเคลื่อนที่ผ่านพื ้นที่รกทึบ หลีกเลี่ยงการทําเสียงดัง ถือปื นด้วยมือข้างเดียวอีกมือหนึ่งยื่นไปข้างหน้าเพื่อคลําสิ่งกีดขวางเมื่อจะหมอบให้ใช้เทคนิคต่อไปนี ้- ถือปื นด้วยมือเดียวและค่อย ๆ ลดตัวลงอย่างช้า ๆ- ใช้มืออีกข้างหนึ่งเพื่อคลําหาลวดสะดุด, ทุ ่นระเบิดและสิ่งอันตรายอื่น ๆ- วางเข่าลงทีละข้าง จนนํ ้าหนักตัวอยู ่บนเข่าทั ้งสองข้างและมือข้างที่ไม่ได้ถือปื น- ถ่ายนํ ้าหนักตัวมายังมือข้างที่ไม่ได้ถือปื นและเข่าข้างตรงข้าม- ยกขาอีกข้างหนึ่งขึ ้นเหยียดไปข้างหลังและวางลงกับพื ้น- เหยียดขาอีกข้างหนึ่งในลักษณะเดียวกัน


่หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๑๙ -วิชา หลักยุทธวิธี- กลิ ้งให้อยู ่ในลักษณะท่านอนยิงใช้เทคนิคต่อไปนี ้เมื่อต้องการใช้ท่าคลาน- คลานด้วยมือและเข่า ถือปื นด้วยมือข้างที่ใช้ยิง ใช้มืออีกข้างหนึ่งคลําพื ้นที่ที่ต้องการวางมือและเข่า- เลื่อนเข่าและมือวางบนพื ้นที่นั้นด้วยความระมัดระวังการปฏิบัติฉับพลันขณะกําลังเคลื ่อนทีใช้เมื่อข้าศึกใช้การยิงจําลองและพลุส่องสว่างการปฏิบัติเมื ่อข้าศึกใช้การเล็งยิงจําลองถ้าข้าศึกยิงด้วยอาวุธเล็งจําลองขณะท่านกําลังเคลื่อนที่ให้ดูที่ ผบ.หน่วย และคอยรับคําสั่งอาจจะสั่งให้ท่านรีบเคลื่อนที่ออกจากตําบลกระสุนตกไปในทิศทางที่กําหนด หรือให้ตามเขาไป ถ้าท่านมองไม่เห็น ผบ.หน่วย ให้ตามคนอื่น ๆ ที่ท่านมองเห็นถ้าท่านไม่เห็นใคร เลยก็ให้วิ่งออกไปในทิศทางที่พ้นจากการยิงของข้าศึกเป็นการยากในการที่จะเคลื่อนที่ในภูมิประเทศที่ยากลําบาก, รกทึบได้อย่างรวดเร็ว แต่ก็สามารถใช้ลักษณะภูมิประเทศเช่นนี ้ในเรื่องการกําบัง และรอจนกว่าพลุส่องสว่างจะดับลงจึงเคลื่อนที่ออกจากพื ้นที่นั ้นอย่างรวดเร็ววิ่งตาม ผบ.หน่วย ออกจากตําบลกระสุนตกการปฏิบัติเมื ่อข้าศึกใช้พลุส่องสว่างบนพื้นดินข้าศึกจะใช้พลุส่องสว่างในการเตือนภัยบนพื ้นดินโดยใช้ลวดสะดุดในพื ้นที่ ๆ คาดว่าฝ่ ายตรงข้ามจะเข้ามาซึ่งฝ่ ายข้าศึกสามารถที่จะเฝ้ าดูได้


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๒๐ -วิชา หลักยุทธวิธีการปฏิบัติเมื ่อพลุส่องสว่างบนพื้นดินถ้าท่านอยู ่ในพื ้นที่ ๆ เกิดการส่องสว่างจากพลุบนพื ้นดินเคลื่อนที่ออกจากพื ้นที่นั้นโดยรวดเร็วเพราะข้าศึกพร้อมที่จะยิงเข้าไปในพื ้นที่นั้นได้ทันทีที่มีการส่องสว่างเกิดขึ ้นขณะที่เคลื่อนที่ออกจากพื ้นที่มองหาคนอื่น ๆ ภายในหมู ่เพื่อที่จะสามารถรวมกันเพื่อปฏิบัติภารกิจต่อไปได้การปฏิบัติเมื ่อเกิดการส่องสว่างบนอากาศข้าศึกจะใช้การยิงส่องสว่างบนอากาศในพื ้นที่สําคัญที่ได้มีการเตรียมการไว้แล้ว อาจจะยิงจากค., ปื นใหญ่, เครื่องยิงลูกระเบิดหรือทิ ้งจากเครื่องบินถ้าท่านได้ยินเสียงพลุส่องสว่างถูกยิงขึ ้นบนท้องฟ้ า ขณะกําลังเคลื่อนที่หมอบลงกับพื ้น (ถ้ าเป็ นไปได้ให้อยู ่หลังสิ่งกําบัง) ขณะที่พลุส่องสว่างกําลังวิ่งขึ ้นบนฟ้ าก่อนที่จะระเบิดและเกิดแสงส่องสว่างถ้ากําลังเคลื่อนที่อยู ่ในพื ้นที่ ๆ สามารถทําให้กลมกลืนกับฉากหลัง (เช่นอยู ่ในป่ า) เมื่อเกิดการส่องสว่างบนอากาศให้หยุดอยู่กับที่นิ่ง ๆ จนกว่าพลุส่องสว่างจะดับลงถ้าท่านอยู ่ท่ามกลางส่องสว่างขณะอยู ่ในพื ้นที่โล่งแจ้วให้รีบหมอบหรือนอนลงกับพื ้นถ้าท่านกําลังข้ามสิ่งกีดขวาง เช่น รั้วลาดหนาม หรือกําแพงและเกิดการส่องสว่างขึ ้น ให้รีบหมอบหรือทําตัวให้ตํ่าที่สุดจนกว่าแสงจะดับ แสงที่เกิด ขึ ้นนั ้นทันทีทันใดจากพลุส่องสว่างอาจจะทําให้ทั ้งตาของท่านและข้าศึกพร่าไปชั่วขณะ ฉะนั้นเพื่อป้ องกันควรหลับตาเสียงข้างหนึ่งเมื่อแสงดับลงก็ยังไม่เสียความสามารถในการมองเห็นเวลากลางคืนการปฏิบัติเมื ่อพลุส่องสว่างบนอากาศ


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๒๑ -วิชา หลักยุทธวิธีการเคลื ่อนที ่เป็ นชุดหรือพวกยิงปกติการเคลื่อนที่ของพวกยิงจะใช้รูปขบวนรูปลิ่ม โดยทหารแต่ละคนในพวกยิงจะอยู ่ในตําแหน่งที่เหมาะสมกับชนิดของอาวุธที่ตนนําพาไป แต่ก็สามารถเปลี่ยนแปลงได้แล้วแต่สถานการณ์ระยะปกติระหว่างทหารแต่ละคนเท่ากับ ๑๐ เมตรพวกยิงรูปลิ่ม(ในภาพเป็นรูปขบวนของ ทบ.สหรัฐ ฯ จะดัดแปลงจากนี ้โดยอนุโลม ซึ่งใช้หลักการเดียวกัน)ท่านอาจจะต้องเปลี่ยนรูปขบวนเมื่อเคลื่อนที่ผ่านภูมิประเทศบังคับหรือรกทึบเป็นรูปขบวนแถวตอนเรียงหนึ่ง จนกว่าจะผ่านพ้นพื ้นที่นั้น จึงขยายระยะออกไปเป็นรูปขบวนรูปลิ่มเหมือนเดิมโดยไม่ต้องรอคําสั่งเพียงแต่ต้องรักษาระยะให้สามารถเห็นทหารคนอื่น ๆ ในรูปขบวนและเห็น ผบ.หมู ่ หรือนายพวกยิงด้วยนายพวกยิงหรือ ผบ .หมู ่ จะต้องนําโดยการทําเป็นตัวอย่าง เช่น ตามข้าพเจ้ามา และทําตามข้าพเจ้า เช่น เมื่อ ผบ .หมู ่ เคลื่อนที่ไปทางซ้ายก็ต้องไปทางซ้าย เคลื่อนที่ไปทางขวาก็ต้องไ ปทางขวาผบ.หมอบลงกับพื ้นท่านก็ต้องหมอบลงกับพื ้นเมื่อทัศนวิสัยจํากัด การควบคุมระหว่างการเทปเรืองแสงเคลื่อนที่อาจจะยากขึ ้น การใช้แถบเทปสะท้องแสดงขนาดกว้าง ๑ นิ ้ว จํานวน ๒ แผ่น เย็บติดข้างหลังหมวกเหล็กเป็น


่หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๒๒ -วิชา หลักยุทธวิธีแนวนอนซ้อนกัน ระยะห่างระหว่างแถบเทปเท่ากับ ๑ นิ ้ว จะช่วยให้พิสูจน์ฝ่ ายเวลากลางคืนได้ง่ายขึ ้นการใช้เครื่องหมายพิสูจน์ฝ่ ายเวลากลางคืน สําหรับการลาดตระเวนที่ใช้หมวกกระบังอ่อนใช้แถบสะท้องแสงขนาด ๑ นิ ้ว คูณ ๑ นิ ้วครึ่ง เย็บติดด้านหลังหมวกเป็นแนวตั้ง ระยะห่างระหว่างแถบประมาณ ๑นิ ้วแถบสะท้อนแสดงพิสูจน์ฝ่ายเวลากลางคืนการยิงประกอบการเคลื ่อนทีเมื่อหน่วยปะทะกับข้าศึก ปกติจะเริ่มด้วยการยิงและเคลื่อนที่เข้าหาข้าศึก หรือบางครั ้งหน่วยอาจต้องเคลื่อนที่ออกห่างข้าศึก ซึ่งเทคนิคเหล่านีเรียกว่า ้ “การยิงประกอบการเคลื่อนที่” เป็นการปฏิบัติเพื่อเคลื่อนที่เข้าประชิดและทําลายข้าศึก หรือเคลื่อนที่ออกจากข้าศึกในกรณีต้องการผละจากการปะทะการยิงประกอบการเคลื่อนที่เกิดขึ ้นในเวลาเดียวกัน จะแบ่งเป็นส่วนยิงและส่วนเคลื่อนที่อาจจะแบ่งโดยใช้ทหารคนเดียวเป็นบัดดี ้๒ คน เป็นพวกยิงหรือเป็นหมู ่ โดยไม่คํานึงถึงขนาดของส่วนต่าง ๆ การปฏิบัติก็ยังคงทําการยิงประกอบการเคลื่อนที่ส่วนยิงคุ้มกั นการเคลื่อนที่ของส่วนเคลื่อนที่โดยการยิงไปยังข้าศึก ซึ่งจะทําให้ข้าศึกยิงโต้ตอบมายังส่วนกําบังโดยไม่สนใจส่วนเคลื่อนที่ ส่วนเคลื่อนที่ไม่เคลื่อนที่เข้าประชิดข้าศึกก็เคลื่อนที่ไปยังที่มั่นที่ดีกว่า ที่สามารถยิงไปยังข้าศึกได้ ส่วนเคลื่อนที่ไม่ควรเคลื่อนที่จนกว่าส่วนยิงเริ่มยิงขึ ้นอยู ่กับระยะทางถึงที่มั่นข้าศึกและสิ่งกําบังที่มีอยู ่ ส่วนยิงและส่วนเคลื่อนที่จะสับเปลี่ยนหน้าที่กันเพื่อให้เคลื่อนที่ต่อไปข้างหน้าได้ก่อนที่ส่วนเคลื่อนที่จะเคลื่อนที่พ้นจากระยะสนับสนุนของส่วนยิง (ระยะที่ส่วนยิงสามารถยิงสนับสนุนส่วนเคลื่อนที่ได้) ควรจะเป็นที่มั่นที่สามารถยิงไปยังข้าศึกได้แล้วส่วนที่เคลื่อนที่ก็จะเป็นส่วนยิง,ส่วนยิงก็จะเป็นส่วนเคลื่อนที่ถ้าส่วนของท่านปะทะข้าศึก ผบ .ส่วนหรือนายพวกยิงควรสั่งให้เคลื่อนที่หรือยิงเขาควรจะบอกว่ายิงจากส่วนไหนไปที่ไหน หรือเคลื่อนที่ไปที่ไหน การเคลื่อนที่ใช้การคลานคืบ, คลานศอกหรือการโผการเคลื ่อนที ่ไปกับรถถังบางครั้งจําเป็นต้องเคลื่อนที่ไปกับรถถัง ถ้าจะให้เร็วเท่ากับรถถังก็ควรจะขึ ้นไปกับรถถัง แต่การขึ ้นไปอยู ่บนรถถังนั้นทําให้ข้าศึกเล็งยิงท่านด้วยอาวุธใด ๆ ก็ได้นอกจากนั ้นยังลดความคล่องตัวขอ งรถถังและการหันป้ อมปื นรถถังด้วย ถ้ามีการปะทะกับข้าศึกท่านต้องรีบลงจากรถถังทันทีทันใดการขึ ้นไปกับรถถังนั ้นต้องได้รับอนุญาตจาก ผบ.รถถัง และขึ ้นทางขวาด้านหน้าของรถถังห้ามขึ ้นทางด้านซ้ายเนื่องจากเป็ นที่ติดตั ้งปื นกลร่วมแกน เมื่อขึ ้นไปแล้วไปยืนทางด้านท้ายรถถังหรือถ้าที่ด้านท้ายรถไม่พอก็อาจจะยืนทางด้านข้างป้ อมปื นจับยึดให้แน่นเมื่อขึ ้นไปกับรถถังต้องระมัดระวังกิ่งไม้หรือรถถังอาจจะหลบสิ่งกีดขวางกระทันหันและต้องระมัดระวังข้าศึกซึ่งรถถังอาจจะหันป้ อมปื นทันทีทันใดเพื่อยิงไปยังข้าศึก


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๒๓ -วิชา หลักยุทธวิธีรวดเร็วการขึ ้นไปกับรถถังนั ้นค่อนข้างอั นตรายจะใช้วิธีการนี ้ก็ต่อเมื่อจําเป็นต้องเคลื่อนที่ไปข้างหน้าอย่างขึ ้นทางขวาด้านหน้าของรถทหารราบขึ้นรถถัง


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๒๔ -วิชา หลักยุทธวิธีกล่าวโดยทั ่วไปตอนที่ ๓การตรวจการณ์ในห้วงระยะเวลาการปฏิบัติทุกรูปแบบท่านจะต้องค้นหาข้าศึกเพื่อให้รู ้การปฏิบัติของข้าศึกซึ่งอาจจะตรวจการณ์จากที่ตรวจการณ์ที่ตรวจการณ์ คือจุดที่ใช้ตรวจการณ์ในเขตที่ได้รับมอบและรายงานการปฏิบัติต่าง ๆ ของข้าศึกทั้งที่เห็นและได้ยิงวิธีตรวจการณ์หัวข้อต่อไปนี ้จะได้กล่าวถึงเทคนิคการตรวจการณ์ทั ้งเวลากลางวันและกลางคืนการตรวจการณ์เวลากลางวันใช้เทคนิคการกวาดสายตาเพื่อตรวจการณ์ภูมิประเทศโดยปฏิบัติเป็น ๒ ขั ้นตอนขั้นตอนที่ ๑ ตรวจการณ์อย่างรวดเร็วทั่วทั้งเขตสําหรับเป้ าหมายที่เด่นชัด และเป้ าหมายที่มีสีผิดธรรมชาติ เป้ าหมายที่เป็ นรูปทรง หรือเคลื่อนที่ ตรวจการณ์ดูพื ้นที่ด้านหน้าก่อน แล้วกวาดสายตาทั่วทั้งพื ้นที่ระยะไกลสุดที่ท่านต้องตรวจการณ์ ถ้าเขตที่ได้รับมอบกว้างมากแบ่งและตรวจการณ์เป็นเขตย่อย ๆตามขั้นตอนที่ ๒ตรวจการณ์ตลอดทั ่วทั้งเขตขั้นตอนที่ ๒ ตรวจการณ์จากเราออกไปเป็ นห้วงทุก ๆ ห้วงระยะ ๕๐ เมตร จนสุดระยะทําเช่นนี ้จากซ้ายไปขวาและขวาไปซ้ายสลับกันจนทั่วพื ้นที่ทั้งเขต เมื่อตรวจพบจุดที่น่าสงสัยก็ทําการตรวจการณ์อย่างละเอียดอีกครั้ง


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๒๕ -วิชา หลักยุทธวิธีตรวจการณ์เป็ นห้วงระยะ ๕๐ เมตรการตรวจการณ์เวลากลางคืนในเวลากลางคืนใช้เทคนิคการตรวจการณ์กลางคืนแบบใดแบบหนึ่งใน ๓ แบบการปรับสายตาให้ชินกับความมืดก่อนอื่นต้องปรับสายตาให้ชินกับความมืดโดยอยู ่บริเวณที่มืดประมาณ ๓๐ นาที หรือบริเวณพื ้นที่ที่มีแสงสีแดงประมาณ ๒๐ นาที ต่อด้วยที่มืดอีกประมาณ ๑๐ นาที วิธีนี ้จะทําให้ประหยัดเวลา ท่านสามารถจะมีเวลาในการรับคําสั่งตรวจสอบอุปกรณ์หรือทํางานอื่น ๆ ก่อนที่จะเริ่มเคลื่อนที่ไปในความมืดเทคนิคการมองออกนอกศูนย์กลางเมื่อต้องการมองวัตถุหรือสิ่งต่าง ๆ ในความมืดให้มองออกจากจุดศูนย์กลางของวัตถุนั้นเล็กน้อยแต่จิตของเรามุ ่งไปที่วัตถุนั้น จะมองเห็นภาพได้ชัดกว่าการมองตรง ๆเทคนิคการมองกวาดสายตาจิตมุ ่งไปที่ที่ต้องการมอง แต่ไม่มองตรง ๆ ค่อย ๆ กวาดสายตาไปรอบ ๆ สิ่งนั้นด้วยวิธีหยุดครั ้งละ๒ - ๓ วินาที เพื่อพิจารณาแล้วจึงกวาดสายตาต่อไป ทําเช่นนี ้จนครบรอบสิ ่งต่าง ๆ ที ่จะต้องตรวจการณ์และฟังเสียงในการค้นหาข้าศึกภายในเขตการตรวจการณ์ ควรตรวจการณ์และฟัง เพื่อค้นหาสัญลักษณ์การปรากฏของข้าศึก อันได้แก่- เสียงต่าง ๆ- ฝุ ่ นหรือควันจากท่อไอเสียยานพาหนะ- การเคลื่อนที่- ที่มั่นต่าง ๆ- รูปทรงมีขอบหรือภาพเงาดํา- แสงและเงาสะท้อน


่หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๒๖ -วิชา หลักยุทธวิธี- สีต่าง ๆ ที่ตัดกันเสียงต่าง ๆฟังเสียงต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ ้นจาก เสียงก้าวเดิน , เสียงกิ่งไม้หัก, เสียงกรอบแกรบของใบไม้,เสียงไอ, จาม, เสียงยานพาหนะหรือเครื่องมือต่าง ๆ ซึ่งเป็นการยากที่จะแยกออกจากเสียงอื่น ๆ ในสนามรบหรือเสียงสัตว์เสียงสามารถจะเตือนท่านถึงทิศทางและที่มั่นของข้าศึก ถึงจะไม่รู ้อย่างแน่ชัดว่าข้าศึกอยู ่ที่ไหนแต่ก็จะทําให้ท่านสามารถหาที่อยู ่ของข้าศึกได้ง่ายขึ ้นฝุ ่ นหรือควันจากท่อไอเสียยานพาหนะการเคลื่อนที่ของหน่วยทหารหรือยานพาหนะมักจะทําให้ฝุ ่ นฟุ ้ งกระจาย เช่นเดียวกับควันที่เกิดจากท่อไอเสียซึ่งสามารถตรวจการณ์เห็นได้ระยะไกลการเคลื ่อนทีมองหาการเคลื่อนที่ภายในเขตตรวจการณ์ของท่านโดยใช้เทคนิคการตรวจการณ์ด้วยสายตาที ่มั ่นต่าง ๆค้นหาที่มั่นข้าศึกในภูมิประเทศที่เด่นชัด เช่น สี่แยก , ยอดเนิน, สิ่งก่อสร้างที่อยู ่โดด ๆ และให้ตรวจการณ์ดูพื ้นที่ที่การกําบังและซ่อนพรางด้วย เช่น ในพุ ่มไม้, ชายป่ าและร่องนํ ้ารูปทรงมีขอบหรือภาพเงาดําค้นหารูปทรงมีขอบหรือภาพเงาดําของทหาร, ยุทโธปกรณ์, ยานพาหนะหรือปื น ข้าศึกอาจจะใช้เงาของต้นไม้หรือตึกในการซ่อนพรางทั้งบุคคลและอาวุธยุทโธปกรณ์ ฉะนั ้นต้องตรวจการณ์ในบริเวณร่มเงาดําเหล่านี ้ด้วยแสงและเงาสะท้อนในความมือค้นหาแหล่งกําเนิดแสง เช่น แสงจากบุหรี่, ไฟฉาย, ไฟรถหรือแสงจากไม้ขีดไฟ ในเวลากลางวันค้นหาแสงสะท้อนที่อาจเกิดจาก กระจกหน้ารถ , ไฟหน้ารถ, อุปกรณ์เครื่องครัว, นาฬิกาหรือผิวหนังที่ไม่ได้พรางสีต่าง ๆ ที ่ตัดกันค้นหาสิ่งต่าง ๆ ที่อาจจะตัดกับฉากหลัง เช่น สีของเครื่องแบบ , ยุทโธปกรณ์และผิวหนัง เช่นเสื ้อยืดคอกลม หรือผ้าขนหนูที่ทหารใช้ ซึ่งสีอาจจะตัดกับฉากหลังการกะระยะวิธีต่าง ๆ ในการกะระยะในภูมิประเทศมีดังนี ้คือ- การกะระยะโดยการแบ่งเป็นช่วง ๆ ละ ๑๐๐ เมตร- การกะระยะจากขนาดของวัตถุที่คุ ้นตา- การกะระยะโดยการใช้แสงและเสียง


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๒๗ -วิชา หลักยุทธวิธีการกะระยะโดยการแบ่งเป็ นช่วง ช่วงละ ๑๐๐ เมตร (เวลากลางวัน)ต้องจดจําภาพต่าง ๆ ในภูมิประเทศในระยะทาง ๑๐๐ เมตร บนพื ้นดินสําหรับระยะทางไม่เกิน๕๐๐ เมตร กะระยะเป็นช่วง ๆ ละ ๑๐๐ เมตร จนถึงจุดเป้ าหมายถ้าระยะเกิน ๕๐๐ เมตร กําหนดจุดกึ่งกลางระหว่างท่านกับเป้ าหมายแล้วกะระยะเป็นช่วง ๆ ละ ๑๐๐ เมตรจนถึงจุดกึ่งกลางแล้วคูณด้วย ๒จะได้ระยะทางถึงเป้ าที่ท่านต้องการพื ้นดินที่เป็น SLOPE อาจจะทําให้ระยะ ๑๐๐ เมตร ผิดจากความเป็นจริง สําหรับเนินที่ลาดขึ ้นจะทําให้มองดูว่าระยะ ๑๐๐ เมตร จะไกลขึ ้น สําหรับเนินที่ลาดลงจะทําให้มองดูว่าระยะ ๑๐๐ เมตร มองดูใกล้ ฉะนั้นการกะระยะสําหรับเนินลาดขึ ้นให้กะระยะช่วง ๑๐๐ เมตร ไกลกว่าปกติ และสําหรับเนินลาดลงให้กะระยะช่วง ๑๐๐ เมตร ใกล้กว่าปกติการกะระยะจากขนาดของวัตถุที ่คุ ้นตา (เวลากลางวัน)วิธีนีเป็นวิธีการกะระยะที่ใช้อยู้่ในชีวิตประจําวันอยู ่แล้ว เช่น ผู ้ขับขี่รถยนต์พยายามจะแซงรถคันข้างหน้าโดยกะระยะจากรถที่สวนมาด้วยการคาดคะเนจากขนาดของรถที่มองเห็นโดยไม่สนใจระยะทางที่แน่นอนเพียงแต่ให้มีที่ว่างข้างหน้าที่จะแซงขึ ้นไปอย่างปลอดภัย สมมุติว่าในระยะทาง ๑ ไมล์ ภาพของรถที่สวนมามีขนาดกว้าง ๑ นิ ้ว สูง ๖ นิ ้ว ระยะระหว่างไฟหน้าสองดวงเท่ากับ ๑/๒ นิ ้ว เมื่อไรก็ตามที่เขาเห็นรถคันที่สวนมานั ้นมีขนาดเท่ามิตินั้น เขาจะรู ้ได้ว่ารถที่กําลังจะส่วนมานั้นห่าง ๑ ไมล์เช่นเดียวกันท่านสามารถใช้เทคนิคในการจดจําขนาด, รูปร่าง, ลักษณะของทหาร, อาวุธยุทโธปกรณ์ในระยะต่าง ๆ ที่แน่นอนได้เมื่อท่านตรวจการณ์ในสนามรบและพบสิ่งต่าง ๆ ที่ท่านได้ฝึกในการจดจําการเห็นขนาด, รูปร่างในระยะต่าง ๆ แล้วท่าก็จะกะระยะได้ว่าสิ่งที่ท่านเห็นนั้นห่างจากที่ตรวจการณ์เท่าไร แต่วิธีนี ้อาจจะจํากัดด้วยทัศนวิสัยไม่ดี , มีควัน, หมอกหรือในความมืดการกะระยะโดยใช้หลาย ๆ วิธีรวมกันสภาวะในสนามรบไม่เกื ้อกูลต่อการกะระยะด้วยวิธีการใดวิธีการหนึ่ง เช่น ถ้าไม่สามารถมองเห็นภูมิประเทศได้ทั่วจนถึงที่หมาย ท่านก็ยังคงใช้การกะระยะด้วยการจดจําขนาดและรูปร่างของเป้ าหมายได้หมอกอาจจะทําให้มองเห็นรายละเอียดของเป้ าหมายไม่ได้ชัดเจนนัก แต่ก็ยังพอกะระยะได้จากขนาดของเป้ าหมายหรือใช้การกะระยะโดยการแบ่งระยะทางเป็ นช่วง ๆ ละ ๑๐๐ เมตร โดยการใช้วิธีการใดวิธีการหนึ่งหรือทั้งสองวิธีก็สามารถกะระยะได้ใกล้เคียงมากที่สุดการกะระยะทางด้วยแสงและเสียง (ได้ผลดีที ่สุดเวลากลางคืน)เสียงเดินทางผ่านอากาศด้วยความเร็ว ๓๐๐ เมตร (๑,๑๐๐ ฟุต) ต่อ ๑ วินาที ซึ่งท่านสามารถจะกะระยะได้ถ้าท่านเห็นแสงและได้ยินเสียงจากอาวุธหรือวัตถุระเบิด เมื่อท่านเห็นแสงไฟหรือควันจากอาวุธหรือฝุ ่ นที่ฟุ ้ งขึ ้นมาก็ให้เริ่มนับทันทีทันใดและหยุดนับเมื่อท่านเริ่มได้ยินเสียงจากอาวุธนั้น จํานวนเลขที่ท่านนับได้คูณด้วย ๓ จะได้ระยะทางโดยประมาณจากอาวุธนั้น เป็ นจํานวนร้อยเมตร เช่น ถ้าหยุดนับแค่ ๑ จะได้ระยะทางประมาณ ๓๐๐ เมตร ถ้าหยุดนับที่ ๓ จะได้ระยะทางประมาณ ๙๐๐ เมตร ถ้าท่านจําเป็นต้องนับมากกว่า ๙ ให้เริ่มนับ ๑ ใหม่


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๒๘ -วิชา หลักยุทธวิธี๑. กล่าวทั ่วไปเมื่อกําลังพลในหมูต้องได้รับความรูบทที่ ๓เทคนิคการยิงตอนที ่ ๑ นําเรื ่อง่ได้รับการฝึกพลแม่นปื นแล้ ว ก่อนที่จะนําความรู ้ในเรื่องการยิงเข้าใช้ในการรบ้เกี่ยวกับเทคนิคการยิงของปื นเล็ก, ปื นกลและเครื่องยิงลูกระเบิดเสียก่อน เทคนิคเหล่านีเพื่อ้ควบคุมและประสานการยิงของหน่วย เป็นการรวมอํานาจการยิงของทุกคนในหน่วยโดยการควบคุมและกํากับของ ผบ.หน่วย ทุกคนในหน่วยยิงจึงต้องรู ้เทคนิคการยิงของหมู ่และพวกยิง๒. การฝึ กขั้นตอนในการฝึกเทคนิคการยิง และเรียนรู ้รายละเอียดตามลําดับใน ๘ หัวข้อซึ่งอาจศึกษาเพิ่มเติมรายละเอียดได้จากตําราฝึ กพลแม่นปื น และตําราเทคนิคการยิงในสนามคือก. ทิศทางเป้ าหมายข. ที่ตั้งยิงในสนามค. การกะระยะง. การยิงและผลการยิงของปื นเล็กและปื นกลจ. เครื่องยิงลูกระเบิดจากปื นเล็ก และผลการยิงฉ. คําสั่งยิงช. ประโยชน์การยิงซ. การยิงเป้ าในสนามตอนที ่ ๒ การหาระยะ๑. ความสําคัญและวิธีหาระยะการหาระยะเป็นขั้นตอนในการกําหนดระยะจากผู ้ตรวจการณ์ไปยังที่หมายโดยประมาณระยะที่ได้ช่วยให้กําลังพลในหมู ่สามารถตั้งศูนย์ปื น และยิงไปยังที่หมายข้าศึกได้อย่างถูกต้อง วิธีหาระยะโดยประมาณมีอยู่อยู่ด้วยกัน ๓ วิธคือ การกะระยะด้วยสายตา, สูตร ๕ องศา และการตรวจมุมยิง๒. การกะระยะด้วยสายตาการกะระยะด้วยสายตาแบ่งเป็นวิธีย่อยได้อีก ๒ วิธีด้วยกันคือ การกําหนดระยะในใจและการกําหนดระยะจากภาพที่หมายที่ปรากฏ การฝึกและหัดทําบ่อย ๆ จะช่วยให้กะระยะได้ถูกต้อง และการกะระยะได้ถูกต้องนี ้จะทําให้ผลการยิงจู ่โจมและทําลายข้าศึกอย่างได้ผล


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๒๙ -วิชา หลักยุทธวิธีก. การกําหนดระยะในใจ๑) ด้วยการแบ่งระยะไปยังเป้ าหมายทุก ๑๐๐ เมตร และนับรวมจํานวนทั้งหมด (ดูรูป ๒-๑)ในการฝึกสามารถตรวจสอบระยะในภูมิประเทศด้วยการวัดก้าว โดยเฉลี่ยประมาณ ๑๓๐ ก้าว/๑๐๐ เมตร๒) ถ้าระยะที่จะหาเกินกว่า ๕๐๐ เมตรการกะระยะด้วยวิธีนี ้ให้แบ่งครึ่งระยะที่จะหาเสียก่อนและใช้วิธีตามข้อ ๑) กําหนดระยะในแต่ละครึ่งแล้วนํามารวมกัน (ดูรูป ๒-๑)ข. การกําหนดระยะจากภาพของที่หมาย เมื่อมีเนิน ป่ าไม้ หรือสิ่งกีดขวางอื่น ๆ ขวางระหว่างผู ้ตรวจการณ์และที่หมาย หรือมีลักษณะภูมิประเทศบังที่หมายทําให้ใช้วิธีกําหนดระยะในใจไม่ได้ผลจะสามารถหาระยะได้ด้วยวิธีกําหนดระยะจากภาพที่หมายที่ปรากฎ เนื่องจากภาพที่หมายที่ปรากฏจะเปลี่ยนแปลงไปตามระยะที่มองเห็น จะสามารถฝึกหัดได้โดย มองคนในท่ายืนระยะ ๑๐๐ เมตร และจดจําภาพที่เห็นเกี่ยวกับขนาดรายละเอียดของภาพและยุทโธปกรณ์ที่ปรากฎไว้และเปลี่ยนท่าของเป้ าหมายเป็นท่าคุกเข่าและท่านอนแล้วเปลี่ยนระยะในการฝึ กสามารถตรวจสอบระยะที่กําหนดได้ด้วยการวัดระยะไม่เกิน 500 เมตร หาระยะได้ด้วยการแบ่งระยะเป็ น 100 เมตรระยะเกินกว่า 500 เมตร เลือกจุดแนวกึ ่งกลางระยะและระยะในแต่ละครึ ่งแล้วนํามารวมกันรูปที่ ๒-๑ การกะระยะด้วยสายตา


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๓๐ -วิชา หลักยุทธวิธี๓. สูตร ๕ องศาถ้าสถานการณ์ทางยุทธวิธีอํานวยและเวลาเพียงพอ จะสามารถใช้สูตร ๕ องศาในการหาระยะได้โดยใช้เข็มทิศและความรู ้ในการนับก้าวก. กําหนดจุดเริ่มต้นไปยังที่หมายข. จากจุดเริ่มต้น วัดมุมภาคทิศไปยังที่หมายที่ต้องการหาระยะค. หันไปทางขวาหรือทางซ้าย ให้ได้ทิศทาง ๙๐ องศา จากมุมภาคทิศไปยังที่หมายง. เดินไปทางขวาหรือทางซ้ายตามทิศทาง ๙๐ องศา ให้ได้ระยะหนึ่งจึงหยุดแล้ววัดมุมจากจุดที่หยุดไปยังที่หมายจ. เมื่อเดินและวัดมุมภาคตาม ข้อ ง .จนมุมภาคจากจุดที่วัดได้ใหม่แตกต่างจากมุมภาคจากจุดเริ่มต้นไปยังที่หมายได้ ๕ องศา พอดีฉ. เดินกลับไปยังจุดเริ่มต้นตามแนวเดิม และนับก้าวโดยก้าวให้ได้ก้าวละ ๓๖-๔๐ นิ ้ว(ประมาณ๑ เมตร)ช. เมื่อนับก้าวถึงจุดเริ่มต้นแล้ว ให้คูณจํานวนก้าวที่นับได้ด้วย ๑๑ จํานวนที่คูณได้คือระยะจากจุดเริ่มต้นไปยังที่หมาย เช่นนับได้ ๑๐๐ ก้าว คูณด้วย ๑๑ เท่ากับ ๑,๑๐๐ เมตร ระยะที่หาได้โดยประมาณคือ ๑,๑๐๐ เมตร (ดูรูป ๒-๒)TP TP เดินไปด้วยทิศทาง 90วัดมุมภาคทิศจากจุด 5 o จากแนว SP-TP จนมุมเริ่มต้น SP ไปยังภาคทิศไปยังที่หมายที่หมาย TP เปลี่ยนไป 5 องศา จากมุมภาคทิศที่วัดได้เดิมSPSPขั ้นที่ ๑ 90 o ขั ้นที่ ๒TPSPนับก้าวกลับไป SP ให้5 o ๑ ก้าวเท่ากับ ๑ เมตรคูณจํานวนก้าวด้วย ๑๑ผลคูณคือระยะเป็นเมตรจาก SP-TP90 o ขั ้นที่ ๓รูปที่ ๒-๒ การหาระยะโดยใช้สูตร ๕ องศา


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๓๑ -วิชา หลักยุทธวิธี๔. การหาระยะจากการตรวจผลการยิงการหาระยะที่แท้จริงสามารถกระทําได้โดยการตรวจสอบผลการยิงจากกระสุนส่องวิถีหรือกระสุนธรรมดาการใช้ผู ้ตรวจการณ์อีกคนหนึ่งเป็นสิ่งจําเป็นเพราะเป็ นการยากที่ผู ้ยิงจะตรวจผลการยิงขอ งตนเอง การหาระยะด้วยวิธีนี ้จะทราบระยะได้เร็วและใกล้เคียงมากที่สุด แต่จะเสียผลในการจู ่โจม และเปิ ดเผยที่ตั ้งต่อข้าศึก ขั้นตอนการปฏิบัติคือ.ก. ยิงไปยังที่หมายด้วยการตั้งศูนย์ปื น ตามระยะที่ประมาณได้ในขั้นต้นข. ตรวจการณ์ตามวิถีกระสุนถ้าใช้กระสุนส่องวิถี และการกระทบเป้ าหมายของกระสุนค. หากการยิงครั้งแรกไม่ถูกที่หมาย ให้ตั้งศูนย์ปื นใหม่ โดยเพิ่มหรือลดจากศูนย์ปื นที่ตั้งไว้เดิมง. ทําการยิงใหม่ จนถูกที่หมาย แล้วกําหนดระยะจากศูนย์ปื นที่ตั้งไว้๑. กล่าวทั ่วไปตอนที ่ ๓ การยิงและผลการยิงของปื นเล็กและปื นเล็กกลการยิงและผลการยิงของปื นเล็กและปื นกล มีขั ้นตอนของเทคนิคในการฝึกการยิง ๒ ประการคือความรู ้เกี่ยวกับการโคจรของกระสุน และความเข้าใจเกี่ยวกับผลการยิงต่อเป้ าหมายข้าศึก ซึ่งจะช่วยให้ผู ้ยิงหวังผลจากการยิงได้สูงสุด๒. วิถีกระสุนวิถีกระสุนคือ ทางเดินหรือทางโค จรของหัวกระสุนที่พุ ่งออกไปในอากาศเมื่อทําการยิง วิถีกระสุนจะเป็นเส้นตรงในระยะใกล้ ถ้าระยะเพิ่มขึ ้นความสูงของวิถีกระสุนจะลดลง (ดูรูป ๒-๓)พื ้นที่ระหว่างปื น และที่หมายที่วิถีกระสุนจะไม่สูงเกินศีรษะคนยืน (ประมาณ ๖๘ นิ ้ว) เรียกว่าย่านอันตราย (ดูรูป ๒-๔) กระสุนที่ยิงจากปื นที่อยู ่ในระดับพื ้น (ท่านอน) ไปยังที่หมายก็จะเกิดย่านอันตรายนี ้ถ้าพื ้นยิงเป็นหุบหรือไม่ราบเรียบ ย่านอันตรายก็จะเป็นเพียงบางส่วนของพื ้นที่ระหว่างปื นกับที่หมายเท่านั้น เพราะอีกบางส่วนวิถีกระสุนจะสูงเลยศีรษะคน ถ้าวิถีกระสุนสูงเกินศีรษะคนยืนบริเวณ นั้นเรียกว่าย่านอับกระสุน (DEAD SPACE)๓. กรวยการยิงกระสุนที่ยิงจากปื นเล็กไปยังเป้ าหมายเดียวกันแต่ละนัดจะมีวิถีกระสุนที่แตกต่างกัน ความแตกต่างกันเพียงเล็กน้อยของวิถีกระสุนเหล่านั้น เกิดจากการเล็ง, การจับปื น, การเหนี่ยวไก, ดินปื นที่บรรจุ,ลมหรือบรรยากาศ ตั้งแต่หัวกระสุนพ้นปากลํากล้องปื น เส้นวิถีของกระสุนเหล่านั้นจะมีรูปร่างเหมือนรูปกรวย ซึ่งเรียกว่ากรวยการยิง (ดูรูป ๒-๔)๔. ย่านกระสุนตกกรวยการยิงจะถูกเป้ าหมายในแนวราบ ด้วยย่านกระสุนตกซึ่งจะมีรูปร่างยาวและแคบ ย่านกระสุนตกบนเป้ าหมายพื ้นราบจะเปลี่ยนไปตามระยะยิง ถ้าระยะยิงเพิ่มขึ ้นความยาวของย่านกระสุนตกจะลดลงความลาดเอียงของพื ้นที่ก็มีผลต่อขนาดและรูปร่างของย่านกระสุนตกเช่นกัน พื ้นที่ลาดสูงขึ ้นรูปพื ้นที่ของย่าน


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๓๒ -วิชา หลักยุทธวิธีกระสุนตกจะสั้นพื ้นที่ลาดลงของรูปพื ้นที่ย่านกระสุนตกจะยาว ถ้าความลาดลงของพื ้นที่เป็ นมุมมากกว่าความโค้งของวิถีกระสุน หัวกระสุนจะไม่ตกถูกพื ้นที่นั้น เราเรียกว่าจุดอับกระสุนรูปที่ ๒-๓ แสดงจุดสูงสุดของวิถีกระสุนรูปที่ ๒-๔ ย่านอันตรายและย่านอับกระสุน (DANGER SPACE/DEAD SPACE)รูปที่ ๒-๕ กรวยการยิงและย่านกระสุนตก


่หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๓๓ -วิชา หลักยุทธวิธี๕. ประเภทการยิงสามารถแบ่งประเภทการยิงของปื นเล็กได้ ๒ ประเภทคือ การยิงเกี่ยวกับที่หมายและการยิงเกี่ยวกับผิวพื ้นก. การยิงเกี่ยวกับที่หมาย (ดูรูป ๒-๖ และ ๒-๗)๑) การยิงตรงหน้า เป็ นการยิงตั้งฉากกับด้านหน้าของที่หมาย๒) การยิงทางปี ก เป็นการยิงไปทางปี กของที่หมาย๓) การยิงกราด เป็ นการยิงให้ความยาวของพื ้นที่ตกกระทบ ทาบทับกับความยาวของที่หมายการยิงกราดอาจเป็ นการยิงทั ้งทางปี กและตรงหน้าข. การยิงเกี่ยวกับผิวพื ้น (ดูรูป ๒-๘)๑) การยิงกวาด การยิงชนิดนี ้จะไม่สูงเกินศีรษะคนยืน พลยิงจะใช้ท่านอนทําการยิงกราดได้ถึงระยะ ๖๐๐ เมตร เหนือพื ้นราบ๒) การยิงด้วยมุมกระสุนตกใหญ่ เป็นการยิงต่อผิวพื ้นด้วยมุมยิงสูง ดังนั้นย่านอันตรายจึงมีอยูเฉพาะพื ้นที่ตกกระทบ ความยาวของพื ้นที่ตกกระทบ ความยาวของพื ้นที่ตกกระทบจากการยิงแบบนี ้จะสั ้น ถ้ายิงในระยะไกลขึ ้นก็จะเพิ่มลักษณะการยิงเฉพาะตําบลมากขึ ้น เพาะมุมตกกระทบของกระสุนจะใหญ่ขึ ้น การยิงจากที่สูงไปยังที่หมายตํ่ากว่าก็จัดว่าเป็นการยิงด้วยมุมกระสุนตกใหญ่ การยิงที่หมายที่สูงกว่าก็ใช้ลักษณะการยิงด้วยมุมกระสุนตกใหญ่ เพราะการตกกระทบของกระสุนต่อผิวพื ้นที่หมายเป็นมุมสูงเช่นเดียวกัน๓) การยิงข้ามศี รษะ เป็นการยิงให้กระสุนข้ามศีรษะทหารฝ่ ายเดียวกัน การยิงแบบนี ้ต้องพิจารณาถึงความปลอดภัยของฝ่ ายเดียวกัน เช่นหน่วยข้างหน้ามีที่กําบังหรือแน่ใจว่าอยู ่ในตําแหน่งที่ตํ่ากว่าแนวยิง๖. ผลการยิงการยิงด้วยปื นเล็กจะได้ผลดีที่สุดเมื่อหมู่ปื นเล็กเข้าประชิดข้าศึก หมู่ ปื นเล็กจึงควรใช้ภูมิประเทศในการกําบังและซ่อนพราง และการยิงสนับสนุนจากอาวุธต่าง ๆ ให้สามารถเคลื่อนที่เข้าใกล้ข้าศึกมากที่สุดก่อนที่จะเปิ ดฉากการยิง ปกติจะไม่ยิงก่อนถึงระยะ ๔๖๐ เมตร ซึ่งเป็นระยะยิงหวังผลสูงสุดของปื นเล็กในโอกาสที่ต้องให้การสนับสนุนปื นเล็กอาจใช้ยิงต่อกลุ่มข้าศึกหรือที่หมายเป็ นพื ้นที่ในระยะระหว่าง ๔๖๐ - ๑,๐๐๐ เมตรได้ในพื ้นที่ข้าศึก ปกติสามารถกําหนดตําแหน่งที่อยู ่ข้าศึกได้จากการยิงของข้าศึก หน่วยทหารอาจทําการยิงอย่างต่อเนื่องทั้งทางลึกและทางกว้างให้ครอบคลุมพื ้นที่ จะทําให้ข้าศึกต้องหลบเข้าที่กําบังและการยิงตอบโต้ของข้าศึกเสียผลไป๗. ความเร็วการยิงความเร็วในการยิงของหมู ่ปื นเล็ก เป็นส่วนหนึ่งของอํานาจการยิงของหมู ่ การใช้อาวุธและอํานาจการยิงมิใช่ทหารในหมู ่จะยิงได้เร็วเพียงอย่างเดียว แต่สําคัญอยู ่ที่ทําอย่างไรจึงยิงได้เร็วและถูกที่หมายด้วย ผบ .หมู่และนายพวกยิงต้องสามารถควบคุมความเร็วและผลการยิงของทุกคนในหน่วย ไม่ให้เสียกระสุนไปโดยเปล่าประโยชน์


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๓๔ -วิชา หลักยุทธวิธีก. ยิงช้า อัตราการยิงที่ใช้ในการเล็งยิงของทหารซึ่งเป็นการยิงของปื นเล็กและเครื่องยิงลูกระเบิดM 203 หมู่ปื นเล็กควรใช้อัตราดังนี ้- M 16 : ๑๐ ถึง ๑๒ นัด/นาที- M 203 : ๕ ถึง ๗ นัด/นาทีรูปที่ ๒-๖ การยิงเกี ่ยวกับที ่หมาย ( ตัวอย่างที ่ ๑)รูปที่ ๒-๗ การยิงเกี ่ยวกับที ่หมาย (ตัวอย่างที ่ ๒)รูปที่ ๒-๘ การยิงเกี ่ยวกับผิวพื้น


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๓๕ -วิชา หลักยุทธวิธีข. ยิงต่อเนื่อง การยิงในจังหวะนี ้ใช้กับการยิงกลของปื นเล็กกลและปื นกล เพื่อทําการยิงติดต่อเป็นเวลานานโดยไม่ต้องหยุดยิง หรือปื นต้องติดขัดเพราะปื นร้อนเกินไป อัตราการยิงต่อเนื่องสําหรับปื นเล็กกล คือ ๘๕ นัด/นาที (๑๒ - ๑๕ นัด/นาที ถ้าใช้ M 16 ยิงแทน)ค. ยิงเร็ว การยิงจังหวะนี ้ใช้กับปื นเล็กกลและปื นกล เป็ นการยิงโดยใช้กระสุนจํานวนสูงสุด และให้สามารถยิงถูกเป้ าหมายโดยมีเวลาจํากัด (ปกติไม่เกิน ๒ นาที) โดยไม่ต้องหยุดยิง หรือปื นต้องติดขัดเพราะปื นร้อนเกินไป อัตรายิงเร็วสําหรับปื นเล็กกลคือ ๑๐๐ นัด/นาที (๔๐-๖๐ นัด/นาที ถ้าใช้ M.16 ยิงแทน)ตอนที ่ ๔ เครื ่องยิงลูกระเบิด M.203๑. กล่าวทั ่วไปนายพวกยิง/พลยิงลูกระเบิด จะใช้อาวุธที่เป็นปื นเล็กและเครื่องยิงลูกระเบิดในกระบอกเดียวกันและจะต้องใช้อาวุธ ๒ อย่างนี ้ได้ทุกสถานการณ์ ให้เหมาะสมที่สุดและต้องเข้าใจเกี่ยวกับวิถีกระสุน วิธียิง ตลอดจน ผลการยิง๒. การใช้ก. เข้าตี นายพวกยิง/พลยิงลูกระเบิด ใช้เครื่องยิงลูกระเบิดเพื่อทําลายกลุ ่มข้าศึก และทําการยิงสนับสนุนอย่างใกล้ชิดในการบุก ในการเพิ่มเติมการยิงหรือการยิงสนับสนุนอื่น ๆ๑) นายพวกยิง/พลยิงลูกระเบิด จะเลือกและทําการยิงด้วยเครื่องยิงลูกระเบิดต่อเป้ าหมายในระหว่างเข้าตี จนการบุกเข้าไ ปถึง ๓๕ เมตร เมื่อการยิงอาจเป็นอันตรายต่อฝ่ ายเดียวกันบนที่หมาย นายพวกยิง/พลยิงลูกระเบิดจะใช้ลูกระเบิดชนิด สองความมุ ่งหมาย (สังหารบุคคล/เจาะเกราะ) ทําการยิงจากแนวตะลุมบอนโดยไม่ให้หน่วยตะลุมบอนอื่นได้รับอันตราย และจะใช้ลูกระเบิดยิงชนิดระเบิดแรงสูง(HIGHT EXPLOSIVE) ยิงต่อที่หมายที่อยู ่ไกลพอจะไม่เป็นอันตรายกับหมู ่โจมตีอื่น (ลูกระเบิดยิงชนิดระเบิดแรงสูงต้องการระยะเล็งยิงประมาณ ๓๐ เมตร)๒) ระหว่างการบุก นายพวกยิง /พลยิงลูกระเบิด จะใช้ปื นเล็กทําการยิงจนพบเป้ าหมายที่เหมาะสมหรือจนมีเวลาที่จะใช้ M 203 เป้ าหมายที่เหมาะสมสําหรับ M 203 คือที่ตั้งปื นเล็กกลและปื นกลข้าศึก และอาวุธสนับสนุนอื่น ๆ ในเขตการยิงของพวกยิงข. ตั้งรับ ในการตั้งรับนายพวกยิง /พลยิงลูกระเบิด จะเลือกที่อยู ่ที่สามารถควบคุมการยิงและทําการยิงลูกระเบิดได้ตลอดเขตการยิงของตน ที่ตั้งยิงขั้นต้นและที่ตั้งยิงเพิ่มเติม จะต้องพิจารณาให้มีการกําบังและซ่อนพรางสูงสุด และต้องระมัดระวังอย่างเต็มที่เกี่ยวกับพื ้นยิง ต้องไม่มีสิ่งกีดขวางที่จะทําให้ลูกระเบิดที่ยิงออกไประเบิดขึ ้นก่อน ถ้าข้าศึกเข้ามาใกล้ที่มั่นตั้งรับ แนวทางเคลื่อนที่ของข้าศึกจะเป็นที่หมายหลักและมีคุณค่ามากสําหรับการยิง ในขั้นต้น นายพวกยิง /พลยิงลูกระเบิดจะใช้ปื นเล็กทําการยิง จนข้าศึกเข้ามาใกล้ฝ่ ายเดียวกัน จึงจะใช้เครื่องยิงลูกระเบิด ทําการยิงต่ออาวุธกลและข้าศึกที่เข้ามาในเขตการยิง และจะต้องกําจัดฐานยิงของข้าศึก หรือให้ข้าศึกออกจากที่กําบังโดยพลปื นเล็กต้องทําหน้าที่นี ้


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๓๖ -วิชา หลักยุทธวิธี๓. วิถีกระสุนระยะยิงของเครื่องยิงลูกระเบิดถึงระยะ ๑๕๐ เมตร วิถีกระสุนจะราบ ถ้าทําการยิงประทับไหล่และระยะยิงเพิ่มขึ ้นวิถีกระสุนจะสูงและมีเวลาโคจรนานขึ ้น๔. ท่ายิงก. โดยทั่วไปจะใช้ท่านอน, คุกเข่า, ยืนยิง และประทับสะโพก ท่ายิงที่เหมาะสมที่สุดต้องพิจารณาว่าจะทําอย่างไร จึงมั่นใจว่าลํากล้องเครื่องยิงจะไม่ถูกส่วนใด ๆ ของผู ้ยิงข. การจับปื น เพื่อทําการยิง ๒ วิธี๑) วิธีที่ ๑ มือข้างซ้ายจับที่ซองกระสุน M 16 ใช้นิ ้วชี ้มือซ้ายเหนี่ยวไกเครื่องยิง M 203 มือขวาจับที่ด้ ามปื น๒) วิธีที่ ๒ มือขวาจับที่ซองกระสุน M 16 ใช้นิ ้วชี ้มือขวาเหนี่ยวไกเครื่องยิง M 203 มือซ้ายจับที่รองลํากล้องเครื่องยิงลูกระเบิด (กระโจมมือ) (ดูรูป ๒-๙)รูปที่ ๒-๙ การจับปื นวิธีที ่ ๒รูปที่ ๒-๑๐ การเล็งยิงโดยการชี้


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๓๗ -วิชา หลักยุทธวิธี๕. วิธียิงก. การเล็งยิงที่ระยะไม่เกิน ๑๕๐ เมตร สามาร ถทําการยิงลูกระเบิดได้จากการประทับไหล่กับทุกท่ายิง โดยใช้ศูนย์ในและศูนย์เสี ้ยววงกลม อย่างไรก็ดีเพื่อรักษาการจัดแนวศูนย์ที่มีระยะยิงเกินกว่า ๑๕๐เมตร ต้องปฏิบัติดังนี .- ้๑) ใช้ศูนย์เสี ้ยววงกลมที่ระยะยิงเกิน ๒๐๐ เมตร๒) สําหรับท่านอนยิงดัดแปลง ตําแหน่งของพานท้ายปื นจะขึ ้นอยู ่กับรูปร่างและการวางมือของพลยิงและระยะยิงไปยังเป้ าหมาย๓) สําหรับท่ายิงอื่น ๆ ให้ลดพานท้ายปื นมาอยู ่ในท่าใต้แขนเพื่อรักษาการจัดแนวศูนย์ไว้ข. การเล็งยิงโดยการชี ้(POINTING TECHNIQUE)๑) การเล็งยิงโดยการชี ้ใช้เมื่อต้องการอัตราการยิ งสูงต่อพื ้นที่เป้ าหมาย ถึงแม้ไม่ต้องใช้ศูนย์ปื นการเล็งยิงวิธีนี ้พลยิงก็ต้องมีความชํานาญในการใช้ทั้งศูนย์เสี ้ยววงกลมและศูนย์ใน ท่ายิงใต้แขนดัดแปลงจะช่วยให้พลยิงสามารถใช้มือซ้ายบรรจุกระสุนใหม่ได้อย่างรวดเร็ว การเล็งยิงโดยการชี ้สามารถใช้กับท่ายิงมาตรฐานดัดแปลงได้ทุกท่ายิงแต่ส่วนมากนําไปใช้ในระหว่างเข้าตะลุมบอน (ดูรูป ๒-๑๐)ค. วิธีเล็งยิงโดยการชี ้ให้ถือปื นอยู ่ในท่ายิงใต้แขนดัดแปลง ลืมตาทั้งสองข้างมองไปยังเป้ าหมายผ่านศูนย์หน้า M 16 ผ่านปลอกลดแสง M 16 ให้ปลอกลดแสงตํ่ากว่าย่านการเห็น และปรับมุมสูงของปื นด้วยการคาดคะเนเอาเองว่าระยะถึงเป้ าหมายเท่าไร แก้มุมสูงและทางทิศด้วยการตรวจจากตําบลและกระสุนตก๖. ผลการยิงเครื ่องยิงลูกระเบิดกระสุนระเบิดแรงสูงผลของการระเบิดจะทําให้บาดเจ็บและตายในรัศมี ๕ เมตร ข้าศึกที่อยู ่นอกที่กําบังและอยู ่ในรัศมีระเบิด ๕ เมตร จะบาดเจ็บและตายประมาณ ๕๐ เปอร์เซ็นต์ตอนที ่ ๕ คําสั ่งยิง๑. ประโยชน์และความสําคัญด้วยข้าศึกก็ได้รับการฝึกในการใช้ประโยชน์จากการกําบังและการซ่อนเร้น จึงเป็นการยากที่จะตรวจพบเป้ าหมาย หรืออาจตรวจพบในชั่วขณะหนึ่ง เมื่อพบเป้ าหมายจึงต้องกําหนดที่ตั้งได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว ทุก คนในหมู ่จึงต้องได้รับการฝึ กการชี ้เป้ าหมายได้อย่างถูกต้องและรวดเร็วด้วย และใช้อํานาจการยิงอย่างสูงสู ่เป้ าหมาย จนกระทั่งไม่เห็นข้าศึกอีก เป้ าหมายอาจเป็นตั้งแต่พลซุ่มยิง หรือพลปื นเล็กข้าศึกที่มีจํานวน ๑/๒ คน จนถึงเป้ าหมายขนาดใหญ่ เช่นข้าศึกในแนวตะลุมบอน จึงจําเ ป็ นต้องรวมการยิงทั้งหมดของหมู ่ กําลังพลในหมู ่ต้องทําความคุ ้นเคยกับสภาพภูมิประเทศเพื่อประโยชน์ในการกําหนดที่ตั้งเป้ าหมาย ตัวอย่างลักษณะภูมิประเทศ ได้แก่ ยอดเขา, เนิน, หลุม, เนินดิน, หน้าผา, เหว, ทางแยก และแนวข อ บ ฟ้ า (ดูรูป ๒-๑๑) เมื่อ ผบ.หมู ่ หรือนายพวกยิงตกลงใจที่จะทําการยิงต่อเป้ าหมาย จะต้องมั่นใจว่าจะสั่งอย่างไรจึงจะให้หน่วยของตนทําการยิงลงบนเป้ าหมายได้ โดยใช้รูปแบบของคําสั่งยิงซึ่ง ผบ .หน่วย จะนําไปใช้เพื่อควบคุมและกํากับการยิงด้วยคําสั่งยิง


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๓๘ -วิชา หลักยุทธวิธี๒. ส่วนประกอบของคําสั ่งคําสั่งยิงจะประกอบด้วยส่วนสําคัญพื ้นฐาน ๖ หัวข้อ คํา สั่งยิงสําหรับอาวุธอื่นที่มีลักษณะคล้ายกันก็สามารถใช้รูปแบบของคําสั่งนี ้ได้ ส่วนสําคัญ ๖ หัวข้อ (ADDRAC)คําสั่งเตือน (Alert)ทิศทาง(Direction)ลักษณะที่หมาย (Target Description)ระยะ(Range)การมอบที่หมาย(Target Assigment)การควบคุมการยิง(Fire Control)รูปที่ ๒-๑๑ ลักษณะภูมิประเทศ๓. คําสั ่งเตือนหัวข้อคําสั่งในส่วนนีเป็นการเตือนหน่วยยิงให้พร้อมที่จะรับคําสั่งต่อไปและอาจรวมถึงการบอกว่า้ใครจะเป็ นผู ้ทําการยิง ปกติจะเป็ นการสั่งว่า "หมู่" หรือ "พวกยิง" หรืออาจเตือนเป็ นรายบุคคลด้วยการบอกชื่อ การออกคําสั่งเตือนอาจใช้สัญญาณหรือวิธีอื่นใดที่เหมาะสมที่สามารถจะกระทําได้


้หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๓๙ -วิชา หลักยุทธวิธี๔. ทิศทางการกําหนดทิศทางไปยังเป้ าหมาย อาจบอกได้ด้วยวิธีดังต่อไปนี .- ้ก. ใช้คําพูด คําบอก/คําสั่งเพื่อให้ทราบทิศทางไปยังเป้ าหมาย สามารถกําหนดได้ ตามรูป ๒-๑๒ ซึ่งแสดงให้ทราบถึงการเรียกทิศทางจากหน่วยไปยังที่หมาย เช่นตัวอย่าง "ข้างหน้าทางขวา" ทิศทางในคําสั่งยิงคือ๑) ข้างหน้า ๕) ข้างหลัง๒) ข้างหน้าทางขวา ๖) ข้างหลังทางซ้าย๓) ทางขวา ๗) ทางซ้าย๔) ข้างหลังทางขวา ๘) ข้างหน้าทางซ้ายรูปที่ ๒-๑๒ ทิศทางในคําสั ่งยิงข. ใช้กระสุนส่องวิถี๑) การใช้กระสุนส่องวิถีในการบอกทิศทางไปยังที่หมายจะรวดเร็วและถูกต้องมากอย่างไรก็ตาม ถ้าทําได้ควรบอกทิศทางโดยใช้คําพูด การกําหนดทิศทางด้วยกระสุนส่องวิถีต้องให้ผู ้รับคําสั่งให้คอยสังเกตวิถีกระสุนด้วย เช่นตัวอย่างตรงหน้าดูตามกระสุนส่องวิถีถูกทางขวาที่หมาย (เมื่อยิงนัดแรกและผิดไปทางขวา)ถูกทางซ้ายที่หมาย (เมื่อยิงนัดต่อไปและผิดไปทางซ้าย)๒) การบอกทิศทางด้วยกระสุนส่องวิถี จะเปิ ดเผยที่ตั้งของหน่วยและเป็นการเตือนให้ข้าศึกรูจุงเสียผลการจู ่โจม เพื่อให้เสียผลน้อยที่สุด ผบ .หมู ่อาจสั่งยิงตามหัวข้อคําสั่งยิงส่วนอื่นเสียก่อนที่จะชี ้ทิศทางด้วยกระสุนส่องวิถี การยิงกระสุนส่องวิถีจึงใช้เป็นสัญญาณควบคุมการยิงหรือเริ่มต้นยิงด้วยค. ใช้จุดอ้าง๑) การกําหนดที่ตั้งที่หมายบางครั้งยากที่จะกําหนดให้เข้าใจได้ เช่นไม่เป็นลักษณะภูมิประเทศที่สังเกตง่าย ผบ .หน่วย จึงต้องรู ้จักใช้จุดอ้างในการกําหนดที่หมาย จุดอ้างที่เลือกควรอยู ่ใกล้ที่หมายและสังเกตง่าย


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๔๐ -วิชา หลักยุทธวิธี๒) เมื่อใช้จุดอ้างเพื่อให้ทราบถึงทิศทางและที่ตั้งเป้ าหมาย ต้องหลีกเลี่ยงไม่ให้ผู ้รับคําสั่งสับสนรูปแบบคําสั่งยิงในการกําหนดทิศทางและที่หมาย ตามตัวอย่างเช่นคําสั่งเตือน : หมู่ ๑ทิศทาง :ตรงหน้าจุดอ้าง : จากเสาหินล้มไปทางขวา ๑๕๐ลักษณะที่หมาย : พลซุ่มยิงที่ต้นไม้ใหญ่ต้นแรกระยะ :สามร้ อย๓) เมื่อใช้จุดอ้าง ทิศทางที่บอกเป็นทิศทางไปยังจุดอ้าง สําหรับระยะคือระยะไปยังที่หมาย๔) บางครั้งอาจจําเป็ นต้องใช้จุดอ้างมากกว่า ๑ จุด ตามตัวอย่างคําสั่งเตือน : พวกยิง ๑ทิศทาง :ตรงหน้าจุดอ้าง :คอกวัว อยู ่ทางขวาของกระท่อม จากคอกวัวไปทางขวา ๑๕๐ลักษณะที่หมาย : ปื นกลข้าศึกในกองฟาง๕) การกําหนดระยะจากจุดอ้างด้วยนิ ้วมือ การกําหนดระยะทางข้างจากจุดอ้างไปยังที่หมายบางครั้งก็ยากที่จะกําหนดเป็นมาตรวัดลงไป และให้ผู ้รับคําสั่งเข้าใจตามระยะที่เราประมาณนั้น ซึ่งอาจทําให้ต้องเสียเวลา มีวิธีสําหรับการกําหนดระยะดังกล่าวอีกวิธีหนึ่งคือ กําหนดด้วยนิ ้วมือโดยปฏิบัติดังนี .- ้ก. ยกมือขึ ้นตรงหน้า เหยียดแขนให้สุดหันฝ่ ามือออกข. หลับตาข้างหนึ่งค. เลือกจุดอ้างง. ใช้นิ ้วชี ้วัดจากจุดอ้างไปยังที่หมาย เพิ่มนิ ้วลงไปจนเต็มที่ว่างระหว่างจุดอ้างไปยังที่ หมายตัวอย่างคําสั่ง.-คําสั่งเตือน : หมู่ทิศทาง :ตรงหน้าจุดอ้าง :จากต้นไม้สูงไปทางขวา ๒ นิ ้วมือลักษณะที่หมาย : สุดแนวรั ้ว ปื นกลข้าศึก๕. ลักษณะที ่หมายส่วนที่ ๓ ของคําสั่งยิง เป็นการบรรยายถึงลักษณะที่หมายตามที่เห็นโดยง่าย๖. ระยะระยะที่บอกไว้ในคําสั่งยิงนีเพื่อให้ผู้ ้ยิงจัดการตั้งศูนย์ปื นให้ตรงตามระยะยิง คําพูดว่า "ระยะ" ไม่ต้องกล่าวไว้ในคําสั่งยิง กล่าวเพียงตัวเลขก็พอ เช่น หนึ่งเจ็ดห้า, สองห้าศูนย์ หรือสี่ร้อย


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๔๑ -วิชา หลักยุทธวิธี๗. การมอบที ่หมายคําสั่งยิงในส่วนนีเพื่อเป็นการสั่งว่า ้ใครเป็นผู ้ทําการยิง และให้ทราบความเร็วการยิงคือก. ในขั้นต้น ผบ .หมู ่ ต้องตัดสินใจไว้ก่อนว่าจะให้ทําการยิงพร้อมกันทั้งหมู ่หรือเพียงบางพวกยิงหากต้องการให้ยิงพร้อมกันทั้งหมู ่เหมือนที่สั่งในคําสั่งเตือน ก็จะเว้นคําสั่งในส่วนนี ้หาก ผบ .หมู่ ต้องการเตือนทุกคนในหมู่แต่ต้องการให้ทําการยิงเพียง ๑ หรือ ๒ พวกยิง คําสั่งในส่วนนี ้ต้องมีอยู ่ด้วยข. เพื่อกําหนดว่าจะใช้อาวุธอะไรทําการยิง และกําหนดอัตราความเร็วการยิงของปื นเล็กกล ,ปื นเล็ก และ M 203 ปกติ M 203 จะยิงในจังหวะช้า และปกติแล้วนายพวกยิงจะไม่ใช้ปื นเล็กทํากากรยิงนอกจากในโอกาสจําเป็ นเท่านั ้น นายพว กยิงจะสั่งผู ้ทําการยิงในพวกยิงของตนต่อเป้ าหมายอื่น ๆ ในเขตรับผิดชอบและต่อเป้ าหมายที่ยังหลงเหลืออยู ่จากการสั่งยิงของ ผบ .หมู ่ การยิงที่จะนํามาเป็นรูปแบบของคําสั่ง ในส่วนนี ้คือ.-๑) พลปื นเล็กกล ถ้า ผบ .หมู ่ ต้องการใช้ปื นเล็กกลทําการยิงจังหวะเร็ว ต้องสั่งว่า "ยิงเร็ว"ถ้าหากไม่สั่งให้ยิงเร็ว ปื นเล็กกลจะทําการยิงในจังหวะเร็ว เนื่องจากในขั ้นต้นพลปื นเล็กกลจะทําการยิงในจังหวะต่อเนื่อง สําหรับการยิงเร็วตามคําสั่ง ในขั้นต้นพลปื นเล็กกลจะยิงในจังหวะ ยิงเร็ว ๒ นาที และเปลี่ยนเป็นยิงในจังหวะต่อเนื่อง ทั้งนีเพื่อมิให้ปื ้ นร้อนจัดเกินไป๒) นายพวกยิง/พลยิงลูกระเบิด ถ้า ผบ.หมู ่ ต้องการให้ยิงลูกระเบิดด้วยก็จะสั่ง "ยิงลูกระเบิด"ถ้าไม่สั่ง นายพวกยิง/พลยิงลูกระเบิดจะไม่ทําการยิงค. ต่อไปเป็นตัวอย่างการปฏิบัติตามคําสั่งในการมอบที่หมาย ถ้าในคําสั่งเตือนสั่งว่า "หมู่"๑) ถ้าคําสั่งยิงไม่มีการสั่งมอบที่หมาย ทั้ง ๓ พวกยิงต้องทําการยิงดังนี .- ้ก) พลปื นเล็กและพลปื นเล็กกลผู ้ช่วย ทําการยิงจังหวะช้าข) พลปื นเล็กกล ทําการยิงจังหวะต่อเนื่อง๒) ถ้าคําสั่งยิง สั่งว่า "ยิงลูกระเบิด ยิงเร็ว" ทั ้ง ๓ พวกยิงต้องทําการยิงดังนี .- ้ก) พลปื นเล็กและพลปื นเล็กกลผู ้ช่วย ทําการยิงจังหวะช้าข) นายพวกยิง/พลยิงลูกระเบิด ยิง M 203 ในจังหวะช้าค) พลปื นเล็กกล ทําการยิงจังหวะเร็วง. ถ้าคําสั่งยิงว่า "พวกยิง ๑ ยิงลูกระเบิด ยิงเร็ว" พวกยิงที่ ๑ ทําการยิงดังนี .- ้ก) พลปื นเล็กและพลปื นเล็กกลผู ้ช่วย ทําการยิงจังหวะช้าข) นายพวกยิง/พลยิงลูกระเบิด M 203 ทําการยิงจังหวะช้าค) พลปื นเล็กกล ทําการยิงจังหวะยิงเร็ว๘. การควบคุมการยิงคําสั่งยิงในส่วนนี ้คือสัญญาณให้เริ่มยิงหรือเปิ ดฉากการยิง ถ้าไม่ต้องการจู ่โจมด้วยการยิง คําสั่งควบคุมการยิงก็จะสั่งติดต่อกับคําสั่ งยิงส่วนอื่น ๆ โดยไม่หยุดเว้นระยะ หาก ผบ .หน่วย ต้องการให้อาวุธของหน่วยเปิ ดฉากการยิงพร้อมกันเพื่อผลการจู ่โจมในที่สูงสุด และเพื่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ข้าศึก ก็จะสั่งใน


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๔๒ -วิชา หลักยุทธวิธีส่วนควบคุมการยิงว่า "ตามคําสั่งข้าพเจ้า" หรือ "ตามสัญญาณข้าพเจ้า" หรือ "ทําการยิงเมื่อสั่ง" หรือ "ทําการยิงตามสัญญาณ....." เมื่อทุกคนพร้อม ผบ.หน่วย จะสั่งเริ่มยิงหรือให้สัญญาณต่อไป๙. สัญญาณการสั่งยิงด้วยคําพูดบางครั้งไม่สามารถใช้ได้ผล เพราะเสียงดังจากการรบ หรือ เมื่อไม่ต้องการให้ข้าศึกรู ้ตัวก่อน การใช้สัญญาณในการสั่งยิงจึงจําเป็นต้องใช้และควรเป็นสัญญาณที่เคยฝึกอยู ่เสมอ เพื่อให้เป็ นที่เข้าใจกัน สามารถนําสัญญาณมือและแขนมาใช้เป็นคําสั่งยิงได้ สัญญาณมือและแขนมาตรฐานมีอธิบายในบทที่ ๓๑๐. การออกคําสั ่งยิงตัวอย่างในการสั่งยิงต่อไปนี .- ้๑) ในสถานการณ์ที่ ผบ.หมู่ ต้องการให้หมู่ทําการยิงด้วยปื นเล็กและปื นเล็กกล และหวังผลจู ่โจมจากการยิง ต่อที่หมายที่สังเกตง่ายหมู่ตรงหน้าทหารราบข้าศึกสามร้ อยตามสัญญาณข้าพเจ้า๒) ผบ.หมู ่ ต้องการให้ทุกคนในหมู ่เห็นเป้ าหมายซึ่งสังเกตได้ยาก และต้องการให้ทําการยิงเฉพาะพวกยิงที่ ๒ โดยให้เครื่องยิงลูกระเบิดทําการยิงด้วย และปื นเล็กกลยิงจังหวะเร็วหมู่ตรงหน้าทางขวาจากกระท่อมไปทางขวา ๒ นิ ้วมือปื นกลข้าศึกสองห้าศูนย์พวกยิง ๒ ยิงลูกระเบิด ยิงเร็วยิง๑๑. คําสั ่งยิงต่อมาเป็นการสั่งเกี่ยวกับการยิงหลังจากที่ได้ออกคําสั่งยิงไปแล้ว เพื่อเปลี่ยนบางส่วนของคําสั่งยิงเริ่มแรก (ที่ได้สั่งยิงไปแล้ว) หรือเพื่อเลิกยิงก. เพื่อเปลี่ยนบางส่วนของคําสั่งยิงเริ่มแรก ผบ.หมู ่ จะมีคําสั่งเตือนและบอกถึงส่วนของคําสั่งที่ต้องการเปลี่ยนแปลง ปกติส่วนที่ต้องการเปลี่ยนแปลงมักจะเป็นการมอบที่หมาย และกา รควบคุมการยิงต่อไปนีเป็น ้ ตัวอย่างของคําสั่งยิงต่อมา


่หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๔๓ -วิชา หลักยุทธวิธี๑) ผบ.หมู ่ ต้องการเตือนทั้งหมู ่ แต่ต้องการให้ทําการยิงเพียงพวกยิงเดียว ผบ .หมู่ จะสั่ง.-หมู่ตรงหน้าทหารราบข้าศึกสามร้ อยพวกยิง ๒ยิง๒) ผบ.หมู ่ ต้องการเปลี่ยนให้ทําการยิงทั้งหมู่ นายพวกยิง/พลยิงลูกระเบิดทําการยิงเครื่องยิงลูกระเบิดด้วย และปื นเล็กกลทําการยิงในจังหวะเร็ว ผบ.หมู ่ จะมีคําสั่งยิงต่อมาคือ.-หมู่ยิงลูกระเบิด ยิงเร็วยิงข. หากต้องการเลิกยิง ผบ.หมู ่ จะใช้คําสั่งง่าย ๆ ว่า "เลิกยิง" หรือ "หยุดยิง"ค. การออกคําสั่งยิงต่อมาให้ทุกคนในหมู ่ทราบนั้น ผบ.หมู่ จะต้องระลึกเสมอว่าเสียงดังจากการสู ้รบอาจทําให้คนในหมู ่ไม่ได้ยินคําสั่ง ทางปฏิบัติที่ดีที่สุดคือ การสั่งผ่านนายพวกยิง เพราะปกติแล้วนายพวกยิงจะไม่ทําการยิง แต่ละคอยรับคําสั่งจาก ผบ.หมู่๑. กล่าวทั ่วไปตอนที ่ ๖ ประโยชน์การยิง (APPLICATIONS)อํานาจการยิงของหมู ่ปื นเล็กซึ่งมีกําลังพล ๑๓ นาย หากทําการยิงด้วยอาวุธในหมู ่ จะมีจํานวนกระสุนลงสู ่เป้ าหมายอย่างตํ่า เป็นการเล็งยิงจากปื นเล็กและปื นเล็กกล ๓๗๐ - ๔๐๐ นัด และจากเครื่องยิงลูกระเบิด ๑๕ นัด ต่อ ๑ นาที ต่อไปนี ้เป็ นข้อมูลให้ทราบประโยชน์การยิงก. การยิงตัดรอน เพื่อตอบโต้ข้าศึก ให้หมดสมรรถภาพจากการรบกวนด้วยการปฏิบัติภารกิจพิเศษข. การยิงสนับสนุน เป็นการยิงจากหน่วยใดหน่วยหนึ่ง เพื่อช่วยหรือป้ องกันให้กับหน่วยอื่นในการรบค. การยิงต่อเป้ าหมายตามโอกาส เป็นการยิงต่อเป้ าหมายที่ ปรากฎขึ ้นในการรบและอยู ่ในระยะยิงและเป็ นการยิงต่อต้านด้วยการยิงที่ไม่ได้วางแผนไว้ก่อน๒. ประเภทการยิงก. กล่าวทั่วไป๑) ขนาด และลักษณะของเป้ าหมาย อาจเป็นตัวกําหนดให้ต้องใช้อํานาจการยิงหมดทั้งหมูหรือเพียงบางส่วนของหมู ่ ประเภทเป้ าหมายจึงเป็นตัวกําหนดว่า จะใช้ประเภทการยิงแบบไหนต่อเป้ าหมายผบ.หมู ่ จะรับคําสั่งจาก ผบ.หมวด ซึ่งปกติจะมอบที่หมายเฉพาะหรือทั่วไปให้แต่ละหมู ่จึงต้องมั่นใจว่าจะใช้อํานาจการยิงของตนให้ครอบคลุมที่หมายของหมวด


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๔๔ -วิชา หลักยุทธวิธี๒) นายพวกยิงก็จะรับมอบความรับผิดชอบในการยิงจาก ผบ.หมู่ เช่นเดียวกัน ปกติ ผบ .หมู่จะสั่งการและจํากัดการยิงของพวกยิงด้วยเขตการยิงต่อเป้ าหมายของหมู ่ ด้วยการแยกที่หมาย หรือมอบที่หมายในตามโอกาสข. รวมการยิง เป็นการยิงของหน่วยต่อเป้ าหมายที่มีลักษณะเป็นจุดเพียงแห่งเดียว การยิงจํานวนมากต่อเป้ าหมายจากหลายทิศทาง พื ้นที่ตกกระทบของอาวุธต่างชนิ ดจะลงเข้าครอบคลุมเป้ าหมาย อาวุธกลข้าศึกที่ทําการยิงอย่างหนักต่อส่วนใดส่วนหนึ่งของหน่วย ปกติแล้วจะสามารถตัดรอนอาวุธกลนี ้ได้ด้วยการรวมการยิงจากส่วนอื่น ๆ ของหน่วยที่ไม่อยู ่ใต้อํานาจการยิงของอาวุธนั้น (ดูรูป ๒-๑๓)ค. การยิงกระจาย๑) เป็นการกระจายการยิงทั้งในทางลึกและทางกว้างให้ครอบคลุมที่หมาย พลปื นเล็กและพลปื นเล็กกลผู ้ช่วย จะทําการยิงในขั ้นต้นต่อส่วนเป้ าหมายที่อยู ่ใกล้กับตน แล้วก็จะกระจายการยิงต่อส่วนอื่น ๆของเป้ าหมายโดยไม่ต้องย้ายที่วางตัว (ดูรูป ๒-๑๔)๒) นายพวกยิง/พลยิงลูกระเบิด ทําการยิงลูกระเบิดนัดแรกลงกลางเป้ าหมาย และกระจายการยิงในนัดต่อ ๆ ไปลงบนส่วนอื่น ๆ ของเป้ าหมาย๓) พลปื นเล็กกล กระจายการยิงให้ครอบคลุมตลอดเป้ าหมายของหมู ่ ในการตั้งรับจะทําการยิงให้ครอบคลุมเป้ าหมายในเขตการยิงของแต่ละพวกยิง๔) การกระจายการยิงเป็ นการเปิ ดโอกาสให้ ผบ.หน่วย ที่ทําการยิงได้วางการยิงลงบนที่หมายของตน ดังนั้นข้าศึกที่ถูกตรวจพบหรือไม่ก็ตาม จะอยู ่ใต้อํานาจการยิงนี ้จึงทําให้มั่นใจว่า ทุกส่วนของที่หมายจะถูกครอบคลุมอย่างรวดเร็วจากการยิงด้วยการกระจายอํานายการยิงนี ้ (ดูรูป ๒-๑๕) เมื่อมีความจําเป็ นต้องทําลายเป้ าหมายอื่น ผบ.หมู่ ก็จะแบ่งและกระจายการยิงจากหนึ่ง หรือสองพวกต่อเป้ าหมายนั้นตามที่ต้องการง. การยิงแบบผสม ด้วยหมู ่ปื นเล็กมีพวกยิงเป็นหน่วยในอัตราของหมู ่ ผบ.หมู ่ จึงสามารถที่จะรวมการยิงและกระจายการยิงต่อเป้ าหมาย ๒ แห่งหรือมากกว่าในเวลาเดียวกันได้ เช่น หมู ่ที่กระจายการยิงต่อเ ป้ า หมายแห่งหนึ่ง จะสามารถแบ่งการยิงนี ้ด้วยการยิงจาก ๑ หรือ ๒ พวกยิง ให้รวมการยิงต่อเป้ าหมายตามโอกาสที่เกิดขึ ้นก็ได้ (ดูรูป ๒-๑๖) หรือเมื่อหน่วยไดตกลงใจและสั่งยิงด้วยการรวมการยิงหรือกระจายการยิงแล้วถ้ามีเป้ าหมายลักษณะเป็นจุดเกิดขึ ้นเช่น ปื นกล หรือพลซุ่มยิง ก็สา มารถแบ่งและรวมการยิงต่อเป้ าหมายนั ้นได้ ถ้าเป้ าหมายที่เกิดขึ ้นใหม่ มีลักษณะเป็นพื ้นที่หน่วยยิงก็สามารถกระจายการยิงต่อที่หมายนั้นได้เช่นเดียวกันด้วยการมีคําสั่งมอบภารกิจยิงให้กับพวกยิง๓. หลักการยิงก. ที่ตั้งยิงในการเลือกที่วางตัวซึ่งใช้เป็นที่ตั้งยิง มีลักษณะที่ต้องการสําหรับหมู ่ปื นเล็กดังนี .- ้๑) สามารถยิงสนับสนุนหน่วยอื่นได้๒) พื ้นยิงตรงหน้าดี๓) มีการกําบังและซ่อนเร้นเพียงพอ


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๔๕ -วิชา หลักยุทธวิธี๔) ผบ.หน่วย ควบคุมการยิงได้สะดวกรูปที่ ๒-๑๓ การรวมการยิงโดยหมู ่ปื นเล็กรูปที่ ๒-๑๔ การกระจายการยิงโดยหมู ่ปื นเล็ก


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๔๖ -วิชา หลักยุทธวิธีรูปที่ ๒ - ๑๕ การกระจายการยิงโดยหมู ่ปื นเล็กต่อเป้ าหมาย ๒ แห่งรูปที่ ๒-๑๖ การรวมและการกระจายการยิงโดยหมู ่ปื นเล็กต่อเป้ าหมาย ๒ แห่ง


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๔๗ -วิชา หลักยุทธวิธีข. ในการเข้าตี๑) ฐานยิง จะคุ ้มกันหน่วยดําเนินกลยุทธที่อยู ่ข้างหน้าด้วยการยิง เมื่อสามารถทําได้หน่วยที่ทําการยิงจะกําหนดฐานยิงและย้ายฐานยิงให้อยู ่ในตําแหน่งที่ยากต่อการตรวจพบ การจู ่โจมอย่างสูงจากการยิงที่ข้าศึกไม่ทราบทิศทาง จะมีผลอย่างมากทั ้งด้านจิตวิทยา และสภาพการตั้งรับของข้าศึก ผบ .หน่วยผู ้กําหนดให้มีฐานยิงควรให้ฐานยิงสามารถทําการยิงทางปี ก หรือทางเฉียงไปยังที่ตั ้งข้าศึกได้ แล้วใช้หลักการยิงดังนี .- ้ก) กระจายการยิงได้อย่างหนาแน่นลงบนที่ตั้งข้าศึก และเพิ่มการยิงให้สูงกว่าข้าศึกข) เมื่อมีอํานาจการยิงเหนือกว่า ข้าศึกจะถูกตรึงอยู ่ในที่ตั้ง ก็จะลดอัตราการยิงลง อย่างไรก็ตามต้องคงการยิงให้สูงกว่าข้าศึกไว้ค) เมื่อส่วนดําเนินกลยุทธเข้าใกล้แนวประสานการปฏิบัติ ต้องเพิ่มอัตราการยิงให้สูงขึ ้นเพื่อกดดันข้าศึกให้อยู ่ในที่กําบัง และช่วยให้ส่วนดําเนินกลยุทธเข้าตะลุมบอนก่อนที่ข้าศึกจะมีโอกาสโต้ ตอบง) เมื่อส่วนดําเนินกลยุทธเริ่มเข้าตะลุมบอน ฐานยิงจะหยุดและย้ายการยิงไปยังเป้ าหมายแห่งอื่น หรือยิงนําหน่วยตะลุมบอนบุกผ่านที่หมาย แล้วจึงหยุดยิงหรือย้ายการยิง๒) การยิงในการตะลุมบอน ความสําเร็จของการเข้าตีอยู ่ที่การรุกเข้าหาข้าศึก ด้วยการยิงและการดําเนินกลยุทธ เมื่อทําการตะลุมบอนเข้าหาที่หมาย หน่วยที่เข้าตะลุมบอนจะทําการยิงไปยังที่ตั้งข้าศึกขณะเข้าตะลุมบอนก) พลปื นเล็กและพลปื นเล็กกลผู ้ช่วยทําการเล็งยิงอย่างประณีตจากท่าประทับไหล่(POINTING POSITION) ควรตั้งคันบังคับการยิงไว้ที่ยิงเป็นชุด (THREE-ROUND BURSTS) หรือเหนี่ยวไกยิงทุกครั้งที่ก้าวเท้าซ้าย ด้วยการยิงไปยังที่ตั้งข้าศึก หรือที่ที่คาดว่ามีข้าศึก ด้วยท่ายิงในการตะลุมบอน (ดูรูป ๒-๑๗)ข) พลปื นเล็กกล พลปื นเล็กกลทําการยิง ๓-๕ นัด จากท่ายิงใต้แขน ทําการยิงให้ครอบคลุมที่หมายของหมู ่ ที่หมายที่คุ ้มค่าที่ตั้งอาวุธกลที่ทราบหรือที่สงสัย (ดูรูป ๒-๑๗)ค) นายพวกยิง หน้าที่หลักระหว่างการบุกคือ การควบคุมพวกยิง หากต้องใช้ปื นเล็กทําการยิงก็จะใช้ท่ายิงสําหรับการยิงโดยประมาณ หากเป็นที่หมายแข็งแรงหรือมีลักษณะเป็นพื ้นที่กว้างก็จะยิงลูกระเบิดด้วยการเล็งยิงโดยการชี ้จนเป้ าหมายถูกทําลายหรือถูกตัดรอนหรือจนกระทั่วไม่สามารถทําการยิงได้เนื่องจากจะเป็ นอันตรายกับฝ่ ายเดียวกันค. ในการตั้งรับ พวกยิงเป็นหน่วยยิงมูลฐานของหมวด การยิงของแต่ละคนจะครอบคลุมตลอดเขตการยิงของพวกยิง และจะทําการยิงจากที่ตั้งไปยังเป้ าหมายที่คุ ้มค่า ทุกคนในหน่วยจะเลือกที่วางตัวที่เหมาะสม คือ มีพื ้นยิง การกําบังและการซ่อมพรางดี (ดูภารผนวก H)๑) พลปื นเล็ก พลปื นเล็กกลผู ้ช่วย และพลปื นเล็กกล การยิงของปื นเล็กกลจะทําให้เกิดอํานาจการยิงอย่างสูงแก่หมู ่ปื นเล็ก จึงต้องได้รับการคุ ้มกันในการปฏิบัติ ปื นเล็กกลจะทําการยิงตลอดเขตการยิงของพวกยิงปื นเล็กกลแต่ละกระบอกจะได้รับมอบทิศทางยิงหลัก


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๔๘ -วิชา หลักยุทธวิธี๒) นายพวกยิง หน้าที่หลักของนายพวกยิงในการตั ้งรับคือ การควบคุมพวกยิงหากต้องทําการยิงปื นเล็กก็จะทําการยิงอย่างคุ ้มค่าตลอดเขตการยิงของพวกยิง เมื่อข้าศึกเข้ามาอยู ่ในระยะยิงของ M 203จะทําการยิงลูกระเบิดได้ตลอดเขตการยิงต่อเป้ าหมายที่ เหมาะสมและอยู ่ในระยะยิง เมื่อทําการยิงป้ องกันที่มั่นขั ้นสุดท้าย จะทําการยิงต่อทหารราบข้าศึกที่เป็ นเป้ าหมายใหญ่ที่สุดในเขตการยิงของพวกยิงรูปที่ ๒-๑๗ ท่ายิงในการตะลุมบอน๔. การยิงในทัศนวิสัยจํากัดก. ปื นเล็ก ภายใต้สภาพการมองเห็นจํากัด ปื นเล็กสามารถทํา การยิงตามแผนที่ได้จัดเตรียมไว้ล่วงหน้าด้วยการจัดทําที่รองปื นและที่จํากัดเขตการยิงอย่างง่าย ๆ เมื่อต้องการทําการยิงในสภาพเช่นนี ้การจัดทําเครื่องช่วยต่าง ๆ ต้องกระทําไว้ก่อนในเวลากลางวัน โดยการสร้างเครื่องรองปื นสําหรับพาดยิงและหลักเขตการยิง ตลอดจนการตั้งศูนย์ต่อตําบลที่คาดว่าเป้ าหมายจะเกิดขึ ้น (ดูรูป ๒-๑๘ A)รูปที่ ๒-๑๘ การเตรียมการยิงอย่างง่ายในสนาม


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๔๙ -วิชา หลักยุทธวิธีข. เครื่องยิงลูกระเบิด ก็สามารถทําการยิงในสภาพการมองเห็นจํากัดได้ด้วยการจัดทําที่รองรับและที่พาดปื น เมื่อจะจัดเตรียมการยิงนี ้ผบ.หมู ่ จะแจ้งให้ทราบถึงเส้ นทางเข้ามาและตําแหน่งของข้าศึก ที่คาดว่าจะใช้และเกิดขึ ้น การเตรียมทั ้งหมดจะทําในเวลากลางวันการตั ้งปื นและปรับศูนย์ต้องทําไว้ก่อนมืด (ดูรูป ๒-๑๘ B)๕. อัตราการยิง (จังหวะการยิง)ทหารจะได้รับการฝึ กให้ทําการเล็งยิงในอัตรา ๑๐-๑๒ นัด-นาที (การยิงจังหวะช้า) ความยุ ่งยากจากการต่อสู ้ในสนามรบจะทําให้จังหวะการยิงช้าลง พลปื นเล็กและพลปื นเล็กกลจะทําการยิงได้เร็วที่สุดขึ ้นอยู ่กับความสามารถในการเลือกยิงต่อเป้ าหมาย การใช้และการเล็งศูนย์ตลอดจนการเหนี่ยวไกได้อย่างถูกต้องพลปื นเล็กกลมีประโยชน์อย่างยิ่งต่อเป้ าหมายที่เกิดขึ ้น เช่ นเดียวกับปื นกลและอาวุธกลอื่นจังหวะยิงเร็วของปื นเล็กกลคือ ๑๐๐ นัด/นาที จังหวะต่อเนื่องคือ ๘๕ นัด/นาที อัตราการยิงของปื นเล็กกลขึ ้นอยู ่กับลักษณะเป้ าหมาย เมื่อเปิ ดฉากการยิงใน ๒-๓ ชุดแรกปื นเล็กกลจะยิงจังหวะเร็ว เพื่ออํานาจการยิงที่เหนือกว่าและตรึงข้าศึกไว้ หลังจากนั้นจะยิงช้าลงในจังหวะต่อเนื่อง ซึ่งปกติยังต้องรักษาอัตราการยิงให้เหนือกว่าข้าศึก๖. การควบคุมและวินัยการยิงโดยข้อเท็จจริงแล้ว ผบ.หน่วย จะต้องควบคุมการยิงเพื่อผลการยิงของหน่วย การควบคุมการยิงนี ้มีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงกับการเริ่มยิง และหยุดยิงตามความต้ องการของ ผบ.หน่วย ปรับการยิงให้ถูกเป้ าหมาย,การย้ายยิงทั้งหมดหรือบางส่วนจากที่หมายหนึ่งไปยังที่หมายอื่นตลอดจนการกําหนดอัตราการยิง ผบ.หน่วยต้องฝึกให้ทุกคนในหน่วยมีวินัยการยิงตามที่ต้องการเมื่อมีการควบคุมและกํากับการยิง วินัยการยิงจะมีขึ ้นได้เมื่อหน่วยได้รับการฝึกสอนอย่างเข้มงวดให้ทราบถึงประโยชน์ของปื นเล็ก , ปื นเล็กกลและเครื่องยิงลูกระเบิดและรวมถึงความสามารถในการรวมการยิงเพื่อสนองตอบคําสั่งยิงโดยการปฏิบัติตามคําสั่งอย่างเฉียบขาดผบ.หน่วย ต้องมีความชํานาญและสามารถควบคุมการยิงของคนในหน่วยให้ทําการยิงต่อเป้ าหมายได้อย่างเหมาะสม ซึ่งขึ ้นอยู ่กับการรับคําสั่ง, การสั่งการหรือการรับสัญญาณจาก ผบ.หมวด และความพร้อมของ ผบ.หมู ่ที่จะสั่งคนในหมู ่ปฏิบัติตามภารกิจยิง ซึ่งปกติแล้ว ผบ.หมู่ จะเลือกที่อยู่บริเวณส่วนหลังของหมู ่ในระหว่างทําการยิงปกติ ผบ .หมู ่ จะออกคําสั่งผ่านไปยังนายพวกยิง แต่ไม่จําเป็ นเสมอไปหากผบ.หมู ่ ต้องการควบคุมการยิงของหมู ่ให้ได้ผล ผบ .หมู ่ และนายพวกยิงต้องรู ้จักและเข้าใจการควบคุมการยิงจากความหมายของคําสั่งและสัญญาณ----------------------------------


่หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๕๐ -วิชา หลักยุทธวิธี๑. กล่าวทั ่วไปพวกยิงและหมู ่เป็นกลุเป็ นข้อตกลงใจของ ผบ.หมูบทที่ ๔รูปขบวนรบและท่าสัญญาณตอนที ่ ๑ รูปขบวนรบ่มกําลังพลประกอบขึ ้นมาเป็นหน่วย ซึ่งจะนําไปใช้ทางยุทธวิธี ส่วนประกอบซึ่ง่ ในการเลือกใช้รูปขบวนได้แก่ ภารกิจ, ภูมิประเทศ, สถานการณ์, ลมฟ้ าอากาศ,ความรวดเร็วและระดับความคล่องตัว ผบ.หน่วย จะนํารูปขบวนรบและท่าสัญญาณไปใช้ในการควบคุมการยิงและดําเนินกลยุทธกับหน่วยของตนเมื่อเคลื่อนที่และเข้าปะทะข้าศึก๒. รูปขบวนพื้นฐานก. พวกยิง ปกตินายพวกยิงจะตัดสินใจที่จะใช้รูปขบวนกับหน่วยของตน หมู ่อาจกําหนดและเปลี่ยนแปลงรูปขบวนของพวกยิงได้ทุกโอกาส รูปขบวนที่เปลี่ยนแปลงอาจต้องเปลี่ยนแปลงค รั้ง ตําแหน่งของพวกยิงมีความเกี่ยวข้องกับรูปขบวนของหมู ่และไม่กีดขวางการยิงของพวกยิงอื่น ระยะต่อและระยะเคียงระหว่างบุคคลและพวกยิงไม่กําหนดไว้แน่นอนและสามารถอยู ่ห่างกันได้แต่ต้องไม่ขาดการควบคุมเสียงและทัศนะจะช่วยการติดต่อภายในพวกยิงและระหว่างนายพวกยิงกับ ผบ.หมู ่ การเคลื่อนที่เพื่อเปลี่ยนรูปขบวน ปกติจะใช้แนวทางที่สั้นที่สุดลักษณะทั่วไปของรูปขบวนพวกยิงจะใกล้เคียงกับรูปขบวนของหมูรูปขบวนพวกยิงมีดังนี .- ้ (ดูรูป๓-๑ ถึง ๓-๔)๑) แถวตอนก) เมื่อต้องการความรวดเร็ว ง่ายต่อการเคลื่อนที่ข) สะดวกต่อการยิงและดําเนินกลยุทธทางปี กค) มีจุดอ่อนจากการยิงตรงหน้าและให้ผลการยิงตรงหน้าน้อยที่สุด๒) รูปลิ่มก) การควบคุมดีข) การระวังป้ องกันทําได้รอบทิศทางค) ง่ายต่อการเปลี่ยนรูปขบวนง) ทําการยิงได้อย่างเพียงพอในทุกทิศทาง๓) หน้ากระดาน (ขวา-ซ้าย)ก) มีอํานาจการยิงตรงหน้าสูงสุดข) ใช้เมื่อทราบที่ตั้งและกําลังข้าศึก,ระหว่างการบุก,การกวาดล้างและการผ่านที่โล่งระยะสั ้น ๆ๔) ขั้นบันได (ขวา-ซ้าย)ก) มีอํานาจการยิงอย่างสูงในทางตรงหน้าและทางปี กของขั้นบันไดข) ใช้ ในการป้ องกันปี กเปิ ด


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๕๑ -วิชา หลักยุทธวิธีรูปที่ ๓-๑ รูปขบวนพวกยิงแถวตอนหมายเหตุ นายพวกยิงและพลปื นเล็กกลผู ้ช่วยเปลี่ยนที่อยู ่กันได้รูปที่ ๓-๒ รูปขบวนพวกยิงรูปลิ ่ม


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๕๒ -วิชา หลักยุทธวิธีรูปที่ ๓-๓ รูปขบวนพวกยิงหน้ากระดานรูปที่ ๓-๔ รูปขบวนพวกยิงขั้นบันได


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๕๓ -วิชา หลักยุทธวิธีข. หมู่ ผบ.หมู ่เป็นผู ้กําหนดการใช้รูปขบวนของหมู ่ ทั้ง ผบ.หมวด และ ผบ.หมู ่อาจเป็นผู ้กําหนดรูปขบวนขั้นต้นให้กับหน่วยรองจองตนได้ เมื่อสถานการณ์บังคับหรือเมื่อต้องการ ลักษณะรูปขบวนของหมู ่ก็คล้ายกับรูปขบวนของพวกยิง พวกยิงเป็นส่วนดําเนินกลยุทธของหมู ่ในการจัดรูปขบวน (ดูรูป ๓-๕ ถึง ๓-๑๑)๑) หมู ่แถวตอน พวกยิงอยู ่ในแนวต่อกันไปข้างหลังก) ง่ายต่อการควบคุมและดําเนินกลยุทธข) สะดวกและรวดเร็วในการเคลื่อนที่หรือเมื่อต้องการควบคุมหน่วยค) มีความเหมาะสมที่จะใช้ในโอกาส ผ่านช่องทางปกปิ ดกําบังและแคบ,ผ่านที่ว่างในพื ้นที่การยิงของปื นใหญ่ข้าศึก,ผ่านที่ที่จํากัดในการตรวจการณ์และการเคลื่อนที่ในสภาพทัศนะวิสัยจํากัดง) เป็นจุดอ่อนจากการยิงตรงหน้าจ) ใช้ในการปฏิบัติเวลากลางคืนรูปที่ ๓-๕ รูปขบวนหมู ่แถวตอน


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๕๔ -วิชา หลักยุทธวิธี๒) หมู ่รูปลิ่ม มีลักษณะเช่นเดียวกับรูปขบวนของพวกยิง(พวกยิงรูปขบวนรูปลิ่ม นายพวกยิงอยู ่ในตําแหน่งที่ติดต่อกับ ผบ.หมู่ได้ง่าย)รูปที่ ๓-๖ หมู ่รูปขบวนรูปลิ ่ม๓) หมู่รูปตัววีก) สะดวกในการเปลี่ยนรูปขบวนหน้ากระดานข) อํานาจการยิงตรงหน้าและทางปี กดีค) ทําการระวังป้ องกันรอบตัวได้ดีง) ใช้เมื่อทราบที่ตั้งและกําลังข้าศึกที่อยู ่ข้างหน้าและอาจใช้ในการผ่านพื ้นที่กว้าง(พวกยิงรูปขบวนรูปลิ่ม นายพวกยิงอยู ่ในตําแหน่งที่ติดต่อกับ ผบ.หมู่ได้ง่าย)รูปที่ ๓-๗ หมู ่รูปขบวนตัววี


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๕๕ -วิชา หลักยุทธวิธี๔) หมู ่หน้ากระดาน มีลักษณะเช่นเดียวกับรูปขบวนทางพวกยิง(พวกยิงรูปขบวนรูปลิ่ม)รูปที่ ๓-๘ หมู ่รูปขบวนหน้ากระดาน(พวกยิง ๑ และ ๓ รูปขบวนหน้ากระดานทางขวาพวกยิง ๒ รูปขบวนหน้ากระดานทางซ้าย)รูปที่ ๓-๙ หมู ่รูปขบวนหน้ากระดาน


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๕๖ -วิชา หลักยุทธวิธี๕) หมู ่ขั้นบันได มีลักษณะเช่นเดียวกับรูปขบวนของพวกยิง(พวกยิงรูปขบวนรูปลิ่ม)รูปที่ ๓-๑๐ หมู ่รูปขบวนขั้นบันไดทางขวา(พวกยิงรูปขบวนรูปลิ่ม)รูปที่ ๓-๑๑ หมู ่รูปขบวนขั้นบันไดทางซ้าย


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๕๗ -วิชา หลักยุทธวิธีตอนที่ ๒ ท่าสัญญาณ๑. กล่าวทั ่วไปสัญญาณนํามาใช้เพื่อสื่อความหมายในการสั่งการหรือข่าวสาร เมื่อการใช้เสียงติดต่อกระทําได้ยาก,ไม่สามารถทําได้หรือต้องรักษาความเงียบ ผบ.หน่วยรองจะทวนท่าสัญญาณให้หัวหน้าหน่วยทราบทุกโอกาสที่จําเป็น เพื่อมั่นใจว่าพร้อมและเข้าใจถูกต้อง๒. นกหวีดนกหวีดเป็นเครื่องให้สัญญาณที่ดีอย่างหนึ่งที่เหมาะกับ ผบ .หน่วยขนาดเล็ก เพราะสามารถสื่อความหมายได้รวดเร็วและจํานวนมาก อย่างไรก็ตามหากไม่มีการจัดเตรียมหรือทําความเข้าใจกันไว้ก่อนอาจทําให้เข้าใจความหมายผิด และอาจเกิดอันตรายเพราะความสับสนจากสัญญาณนกหวีดที่ใช้โดยหน่วยซึ่งอยู ่ติดกันนอกจากนั้นเสียงในสนามรบอาจกลบเสียงนกหวีดได้๓. อุปกรณ์พิเศษเครื่องให้สัญญาณพิเศษอาจใช้วิธีการทุกอย่างที่สามารถสื่อความหมายของคําสั่งหรือข่าวสารได้เช่นการปฏิบัติในเวลากลางคืน หมู ่อาจใช้แถบเรืองแสงติดที่หมวกหรือพานท้ายปื น เพื่อใช้ทําสัญญาณ หยุด,อันตราย,ไปข้างหน้าหรือเข้าที่รวมพล สัญญาณเหล่านี ้ต้องใจกันและมีการซักซ้อมก่อนนําไป ใช้ เครื่องส่องแสงหรือทําควันก็อาจนํามาเป็นสัญญาณเข้าตี ,ถอนตัว,หมายแนว,ชี เป้ ้ าหมายและหยุดหรือย้ายยิงได้ ก่อนที่ ผบ .หน่วยจะนําสัญญาณอื่น ๆ มาใช้ ควรตรวจสอบกับ ผบ .หมวดให้แน่ใจว่า พวกเขาจะไม่นําสัญญาณที่ได้จัดเตรียมใช้ไว้แล้วมาใช้เป็นสัญญาณอีกแบบหนึ่ง๔. สัญญาณมือและแขนก. สัญญาณรูปขบวนรบ การอธิบายท่าสัญญาณมือและแขนได้แสดงในรูปที่ ๓-๑๓ และศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้จากตําราที่กล่าวเกี่ยวกับทัศนสัญญาณอธิบายภาพท่าสัญญาณ (รูปที่ ๓-๑๓)๑. ลดความเร็ว เหยียดแขนขึ ้นให้ได้ระดับทางข้าง หันฝ่ ามือไปข้างหน้า ลดแขนลงแ ละยกขึ ้นให้แขนเหยียดตรงหลาย ๆ ครั ้ง การยกแขนอย่าให้เกิดแนวระดับ๒. เปลี่ยนทิศทาง หรือเลี ้ยว ยกแขนข้างที่ต้องการไปทิศทางใหม่ขึ ้นขวางลําตัวระดับไหล่ หันฝ่ ามือไปข้างหน้า สะบัดแขนทางระดับในลักษณะเป็นส่วนของวงกลมเหยียดมือและแขนไปในทิศทางใหม่๓. เห็นข้าศึก ยกปื นขึ ้นแนวระดับพานท้ายประทับไหล่ ลํากล้องชี ้ไปทางข้าศึก๔. บอกระยะ เหยียดแขนตรงเหนือศีรษะและหันไปทางผู ้จะรับสัญญาณ กํามือไว้ ปล่อยนิ ้วขึ ้นเท่าจํานวนระยะที่ต้องการบอก หนึ่งนิ ้วเท่ากับ ๑๐๐ เมตร๕. บอกระยะ เหยียดแขนไปข้างหน้า มือสูงระดับสะโพก หันฝ่ ามือลง ขยับมือในทางระดับไปมาหลาย ๆ ครั ้ง


่หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๕๘ -วิชา หลักยุทธวิธี๖. ยิงเร็วขึ ้น ทําเช่นเดียวกับสัญญาณเริ่มยิง (ข้อ ๕.) สําหรับปื นกลขยับฝ่ ามือให้เร็วขึ ้น๗. ยิงช้าลง ปฏิบัติเช่นเดียวกับสัญญาณเริ่มยิง (ข้อ ๕.) สําหรับปื นกลด้วยการขยับมือให้ช้าลง๘. หยุดยิง ยกมือบังหน้า หันฝ่ ามือไปข้ างหน้า สะบัดแขนท่อนล่างขึ ้นและลงผ่านหน้าตนเองหลาย ๆ ครั ้ง๙. รวมพล เหยียดแขนขึ ้นเหนือศีรษะ นิ ้วทั้ง ๕ เหยียดชิดติดกัน หันฝ่ ามือไปข้างหน้า เหวี่ยงมือให้เป็นวงกลมทางระดับเหนือศีรษะ๑๐. รูปขบวนแถวตอน ยกแขนข้างใดข้างหนึ่งขึ ้นเหนือศีรษะ หมุนแขนไปข้างหลังแ ละยกเลยขึ ้นไปข้างหน้าให้เป็นวงกลมในทางดิ่งขนานกับข้างลําตัว สัญญาณนี ้ใช้กับยานพาหนะได้ด้วย๑๑. ท่านพร้อมหรือยัง เหยียดแขนไปข้างหน้าแนวระดับทางผู ้รับสัญญาณ ตั้งฝ่ ามือขึ ้น นิ ้วทั้ง๕ เหยียดชิดติดกัน หันฝ่ ามือออก๑๒. ผมพร้อมแล้ว ปฏิบัติเช่นเดียวกับท่าสัญญาณท่านพร้อมหรือยัง (ข้อ ๑๑.)๑๓. คอยฟังคําสั่งหรือเตรียมรับสัญญาณ เหยียดแขนขึ ้นทางข้างเหนือแนวระดับหันฝ่ ามือไปข้างหน้าโบกมือเหนือศีรษะหลาย ๆ ครั้ง๑๔. ให้ย้ายที่อยู ่ ชี ้ไปยังคนหรือหน่วยที่จะรับคําสั่ง ทุบอกตัวเองด้วยกํามือทั้งสองข้าง แล้วชี ้ไปยังตําบลที่ต้องการให้ผู ้นั้นหรือหน่วยนั้นย้ายเข้าไปอยู๑๕. รูปขบวนขั ้นบันไดทางขวา (ซ้าย) ผบ.หน่วย อาจให้สัญญาณนี ้ในขณะที่หันหน้าเข้าหน่วยหรือหันไปตามทิศทางเดียวกับหน่วย ด้วยการเหยียดแขนข้างหนึ่งให้ตํ่ากว่าแนวระดับ ๔๕ องศา อีกข้างหนึ่งสูงกว่าแนวระดับ ๔๕ องศา หันฝ่ามือไปข้างหน้า แขนข้างหนึ่งที่อยู ่ตํ่ากว่าแนวระดับเป็นการบอกทิศทางของขั้นบันได เช่น ถ้าต้องการให้จัดรูปขบวนขั้นบันไดทางขวาและหันหน้าเข้าหาหน่วยแขนซ้ายจะอยู ่ตํ่ากว่าแนวระดับถ้าหันหน้าไปในทิศทางเดียวกันแขนขวาจะอยู ่ตํ่ากว่าแนวระดับ อาจให้คําสั่งเพิ่มเติมอีกได้เพื่อมั่นใจว่าพร้อมหรือรับได้ถูกต้อง๑๖. รูปขบวนหน้ากระดาน ยกแขนทั้งสองข้างให้ได้แนวระดับข้างลําตัวเหยียดแขนตรงควํ่าฝ่ ามือลงหากจําเป็นต้องบอกทิศทางหันหน้าของรูปขบวนก็ให้เคลื่อนที่และหันหน้าไปในทิศทางที่ต้องการสําหรับการบอกทิศทางหน้ากระดานของพวกยิง (ขวา/ซ้าย) ก็ให้โบกแขนด้านนั้นขึ ้นลง ทิศทางของหน้ากระดานไม่ขึ ้นอยู ่กับทิศทางที่โบกแขน แต่ให้สังเกตว่าโบกแขนข้างไหน เช่น รูปขบวนขั้นบันไดทางซ้ายให้โบกแขนซ้ายเสมอ๑๗. รูปขบวนรูปลิ่ม เหยียดแขนทั้ง ๒ ข้าง ไปข้างลําตัวให้ตํ่ากว่าแนวระดับ ๔๕ องศาหันฝ่ ามือไปข้างหน้า๑๘. รูปขบวนตัววี เหยียดแขนทั ้ง ๒ ข้าง ไปข้างลําตัวให้สูงกว่าแนวระดับ ๔๕ องศา เห็นรูปตัววีหันฝ่ ามือไปข้างหน้า๑๙. พวกยิง ยกแขนขวาขึ ้นพาดทะแยงขวางลําตัว หันฝ่ ามือเข้าหาตัว


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๕๙ -วิชา หลักยุทธวิธี๒๐. หมู ่ เหยียดมือและแขนไปข้างหน้าทาง ผบ .หมู ่ ควํ่าฝ่ ามือลงโบกฝ่ ามือขึ ้นลง (ขยับที่ข้อมือ) ให้เห็นได้ชัดหลาย ๆ ครั ้ง ยังคอยยกแขนไว้๒๑. หมวด เหยียดแขนทั้งสองข้างไปข้างหน้า ควํ่าฝ่ ามือลง หันไปทาง ผบ.หน่วย หรือหน่วยที่รับสัญญาณ หมุนแขนทั้ง ๒ ข้าง ไปข้างหน้าให้เป็นลักษณะวงกลม๒๒. ปิ ดระยะ เหยียดแขนทั ้ง ๒ ไปข้างลําตัวระดับไหล่ ควํ่าฝ่ ามือลงโบกแขนทั ้ง ๒ ข้าง ไปข้างหน้าหันฝ่ ามือเข้าหากัน หากต้องการทําท่าสัญญาณซํ ้าอีก ให้ดึงแขนกลับไปอยู ่ที่ท่าเริ่มต้น ด้วยการดึงมือเข้ามาตามลําตัว๒๓. เปิ ดระยะหรือขยายระยะ เหยียดแขนทั้ง ๒ ข้าง ไปข้างหน้าระดับไหล่ หันฝ่ ามือเข้าหากันและชิดกัน โบกแขนทั ้งสองไปข้างลําตัวควํ่าฝ่ ามือลง หากต้องการทําท่าสัญญาณซํ ้า ให้ดึงแขนกลับมาตามลําตัวแล้วไปอยู ่ท่าเริ่มต้น ท่าสัญญาณนี ้ให้ทําซํ ้าใหม่จนเข้าใจกัน๒๔. กระจายออกไป เหยียดแขนข้างใดข้างหนึ่งเหนือศีรษะโบกแขนไปข้างหน้าแล้วสะบัดแขนและมือไปทางไหล่ตรงข้าม สะบัดกลับไปข้างลําตัวสูงระดับไหล่ ฝ่ามือหันไปในทิศทางที่มือเคลื่อนที่๒๕. ผบ.หน่วย มาพบข้าพเจ้า เหยียดแขนไปข้างหน้าทาง ผบ.หน่วย หงายฝ่ ามือขึ ้น เรียก ผบ.หน่วย ด้วยการกวักนิ ้วชี ้ขึ ้น๒๖. ไม่เข้าใจ หันหน้าไปหาทางผู ้รับสัญญาณ งอข้อศอกทั้ง ๒ ข้างที่ข้างลําตัว มือสูงประมาณแนวหัวไหล่ หงายฝ่ ามือขึ ้น ขยับไหล่ทั ้ง ๒ ในอาการไม่เข้าใจ๒๗. ไปข้างหน้า, ขวา - ซ้าย หรือข้างหลัง (ใช้จากการหยุด) หันหน้าและเคลื่อนที่ไปในทิศทางที่ต้องการ ขณะเดียวกันเหยียดแขนข้างหนึ่งเหนือศีรษะ ค่อนไปทางหลังโบกมือและแขนไปข้างหน้าในทิศทางเคลื่อนที่จนแขนอยู ่แนวไหล่ฝ่ ามือควํ่าลง๒๘. หยุด ยกมือขึ ้นงอข้อศอกมือสูงระดับไหล่ หันฝ่ ามือไปข้างหน้าเหยียดแขนขึ ้นเหนือศีรษะยกแขนไว้ลักษณะนี ้จนเข้าใจสัญญาณ๒๙. หยุดทํา เหยียดแขนข้างหนึ่งเหนือศีรษะหันฝ่ ามือไปทางข้างหน้า กํามือ๓๐. ลงรถ หรือหมอบลง เหยียดแขนข้างหนึ่งข้างลําตัว แขนเป็นมุ ๔๕ องศา เหนือแนวระดับควํ่าฝ่ ามือลง ลดแขนลงข้างลําตัว ท่าสัญญาณนี ้อาจใช้ทั ้ง ๒ แขนทําซํ ้าจนเข้าใจ๓๑. ขึ ้นรถ หรือลุกขึ ้น เหยียดแขนข้างลําตัวหงายฝ่ ามือออก ยกแขนขึ ้นข้างลําตัวจนเป็นมุม๔๕องศาเหนือแนวระดับ ทําซํ ้าจนเข้าใจ๓๒. ไม่เข้าใจคําสั่ง หันหน้าไปทางหน่วยหรื อผู ้รับสัญญาณ ยกมือทั ้งสองไขว้กันเหนือศีรษะหันฝ่ ามือไปทางข้าง๓๓. ไปทาง ขวา -ซ้าย (ใช้กับรถยนต์, ยานพาหนะหรือคนให้หันพร้อมกัน) เหยียดแขนระดับไหล่ไปในทิศทางที่ต้องการ


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๖๐ -วิชา หลักยุทธวิธี๓๔. เร็วขึ ้น ยกมือระดับไหล่ กํามือ เหยียดแขนยกกําปั้นเหนือศีรษะและกลับลงท่าเดิมทําอย่างเร็วหลายครั ้ง๓๕. เข้าโจมตีฉับพลัน ยกกําปั ้นระดับไหล่ ชกกําปั ้นไปในทิศทางให้โจมตี๓๖. จุดนัดพบ มือข้างหนึ่งแตะที่หัวเข็มขัดแล้วชี ้ไปยังพื ้นดินจุดที่ต้องการใช้เป็นจุดนัดพบ๓๗. จุดนัดพบ ณ ที่หมาย มือข้างหนึ่งแตะที่หัวเข็มขัด ชี ้ไปยังพื ้นดินเหวี่ยงมือใ ห้ เป็ นรูปวงกลม


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๖๑ -วิชา หลักยุทธวิธี


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๖๒ -วิชา หลักยุทธวิธี


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๖๓ -วิชา หลักยุทธวิธีข. สัญญาณใช้กับเฮลิคอปเตอร์ ต่อไปเป็นภาพและอธิบายท่าสัญญาณสําหรับใช้ปฏิบัติงานร่วมเฮลิคอปเตอร์ (ดูรูป ๓-๑๔)๑. พร้อมจะให้สัญญาณ เหยียดแขนทั้ง ๒ ข้างเหนือศีรษะ หันฝ่ ามือไปข้างหน้า๒. เข้ามาได้ เหยียดแขนทั ้ง ๒ ข้าง เหนือศีรษะ หันฝ่ ามือไปข้างหลัง โบกมือเข้าหาตัว คล้ายกับการดึงเฮลิคอปเตอร์เข้ามา๓. ถอยออกไป เหยียดแขนและมือทั ้ง ๒ ข้าง ไว้ข้างลําตัวเป็นมุม ๔๕ องศา โบกมือขึ ้นไปข้างหน้าคล้ายกับการผลักเฮลิคอปเตอร์ออกไป๔. ไปทางขวา-ซ้าย เหยียดแขนเสมอไหล่ไปในทิศทางที่ต้องการหันฝ่ ามือไปข้างหน้า แขนอีกข้างหนึ่งเหยียดเสมอไหล่หงายฝ่ ามือขึ ้นและโบกขึ ้นข้ามศีรษะไปตามทิศทางที่ต้องการ๕. ลงแตะพื ้น เหยียดแขนทั้ง ๒ ไขว้กันหน้าลําตัว ประมาณแนวสะโพกฝ่ ามือหันเข้าหาตัว๖. ขึ ้นไปได้ โบกมือขวาเป็นวงกลมเหนือศีรษะ และหยุดลงด้วยการเหยียดแขนและมือไปในทิศทางที่เฮลิคอปเตอร์จะบินออก๗. ยกตัวขึ ้น เหยียดแขนทั ้ง ๒ ออกไปข้างลําตัวระดับไหล่ ควํ่าฝ่ ามือลง๘. ห้ามลง โบกมือทั้ง ๒ ข้าง ไขว้กันเหนือศีรษะอย่างเร็ว หันฝ่ ามือไปข้างหน้า๙. ดึงของขึ ้น ยื่นกําปั้นทั้งสองข้างไปหน้าลําตัว กํามือทั้งสองข้างมือซ้ายอยู ่เหนือมือขวาในท่าไต่เชือก๑๐. ปล่อยของลง เหยียดแขนซ้ายไปข้างหน้าระดับไหล่ กํามือซ้าย โบกมือขวาใต้กําปั ้นซ้ายฝ่ ามือขวาควํ่าลง-----------------------------------


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๖๔ -วิชา หลักยุทธวิธี


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๖๕ -วิชา หลักยุทธวิธีบทที่ ๕การดําเนินการของหมวดอาวุธตอนที ่ ๑หลักยิงปื นกล เอ็ม.๖๐ขอบเขตการศึกษาหลักยิง ปก.เอ็ม.๖๐๑. หลักการยิงในระหว่างทัศนวิสัยดีก) พื ้นฐานเบื ้องต้ นข) การควบคุมการยิงค) หลักการของการปฏิบัติการยิงง) การปฏิบัติการยิงต่อเป้ าหมายเล็งตรงจ) การยิงตะลุมบอนฉ) การยิงข้ามช) ที่ตั้งยิงกําบัง๒. หลักการยิงในระหว่างทัศนวิสัยจํากัดก) หลักการยิงเป้ าหมายที่เห็นในระหว่างทัศนวิสัยจํากัดข) หลักการยิงตามหลักฐานที่เตรียมการยิงไว้ล่วงหน้าค) การทําแผ่นจดระยะหลักการยิงในระหว่างทัศนวิสัยดีก. พื้นฐานเบื้องต้น๑. ลักษณะของการยิงก) กระสุนวิถี คือทางเดินของลูกกระสุนที่แล่นออกไปในอากาศ ซึ่งเกือบจะราบในระยะ ๓๐๐เมตรแรกหรือน้อยกว่า หลังจากระยะ ๓๐๐ เมตร ไปแล้วกระสุนวิถีจะเริ่มโค้ง และความโค้งของกระสุนวิถีจะมากขึ ้นตามระยะที่ไกลขึ ้น (รูปที่ ๑)รูปที่ ๑ กระสุนวิถีและยอดกระสุนวิถี


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๖๖ -วิชา หลักยุทธวิธีข) ยอดกระสุนวิถี คือจุดที่สูงที่สุดของกระสุนวิถีซึ่งจะเกิดขึ ้น ณ จุดประมาณ ๒ ใน ๓ ของระยะที่ตั้งปื นกับเป้ าหมาย ยอดกระสุนวิถีจะสูงขึ ้นตามระยะที่เพิ่มขึ ้น (รูปที่ ๑)ค) กรวยกระสุนวิถี เมื่อทําการยิงกระสุนออกไปหลาย ๆ นัด ย่อมเกิดการสั่นสะเทือนของตัวปื นและขาหยั่ง การเปลี่ยนแปลงของกระสุนและสภาพอากาศย่อมทําให้กระสุนวิถีแต่ละนัดที่ยิงออกไปแตกต่างกันเล็กน้อย จึงเกิดเป็นรูปร่างขึ ้นมา เรียกว่า กรวยกระสุนวิถี (รูปที่ ๒)ง) รูปอาการกระจายและกึ่งกลางของกลุ่มกระสุนตก พื ้นที่ซึ่งกรวยการยิงไปตกยังพื ้นดินหรือบนเป้ าหมาย เรียกว่า รูปอาการกระจาย (รูปที่ ๒) รูปอาการกระจายจะมีรูปร่างเป็ นรูปยาวรีเสมอ รูปอาการกระจายนี ้ย่อมเปลี่ยนแปลงไปตามระยะ เมื่อทําการยิงปื นในระยะไกล รูปอาการกระจายทางยาวน้อยรูปอาการกระจายทางกว้างมาก เมื่อทําการยิงปื นในระยะใกล้ รูปอาการกระจายทางยาวมาก รูปอาการกระจายทางกว้างน้อย (รูปที่ ๓) รูปอาการกระจายย่อมเปลี่ยนแปลงไปตามลักษณะภูมิประเทศ เมื่อทําการยิงลงบนพื ้นที่ลาดตํ่ารูปอาการกระจายจะยาว เมื่อทําการยิงลงบนพื ้นที่ลาดขึ ้นรูปอาการกระจายทางยาวจะสั ้น ส่วนความกว้างของรูปอาการกระจาย ลักษณะภูมิประเทศไม่ค่อยมีผลกระทบกระเทือนมากนักกึ่งกลางรูปอาการกระจายเรียกว่า กึ่งกลางกลุ ่มกระสุนตก (จุดปานกลางมณฑล) กึ่งกลางกลุ ่มกระสุนตกอยู ่ ณ ตําบลเล็งในเมื่อปื นได้ทําการปรับศูนย์ถูกต้องแล้วจ) ย่านอันตราย คือพื ้นที่ระหว่างปื นและเป้ าหมาย ซึ่งกระสุนวิถีจะสูงไม่เกินความสูงเฉลี่ยของคนยืน (๑.๘ เมตร) ทั้งนี ้รวมทั้งพื ้นที่รูปอาการกระจายเข้าไว้ด้วย (รูปที่ ๔)กรวยการยิงรูปอาการกระจายรูปที่ ๒ กรวยกระสุนวิถีและรูปอาการกระจาย


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๖๗ -วิชา หลักยุทธวิธีรูปที่ ๓ ขนาดและรูปร่างอาการกระจายย่านอันตรายย่านอันตรายโดยตลอดย่านอันตรายบางส่วนรูปที่ ๔ ย่านอันตราย


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๖๘ -วิชา หลักยุทธวิธี๒. ประเภทการยิง การยิงของปื นกล แบ่งประเภทออกได้ ๓ ประเภทคือก) การยิงเกี่ยวกับพื ้นที่ ได้แก่ (รูปที่ ๕)(๑) การยิงกวาด คือกึ่งกลางกรวยกระสุนวิถีสูงไม่เกิน ๑ เมตร ในเมื่อทําการยิงบนพื ้นระดับหรือพื ้นที่ลาดเสมอ ระยะ ๗๐๐ เมตร เป็นระยะไกลสุดที่จะทําการยิงกวาด(๒) การยิงมุมกระสุนตกใหญ่ การยิงมุมกระสุนตกใหญ่จะเกิดขึ ้นเมื่อทําการยิงระยะไกล ๆเมื่อยิงจากที่สูงไปยังพื ้นที่ตํ่า และเมื่อยิงไปยังพื ้นที่สูงลาดชันการยิงกวาดการยิงมุมกระสุนตกใหญ่รูปที่ ๕ การยิงมุมกระสุนตกใหญ่และการยิงกวาดข) การยิงเกี่ยวกับเป้ าหมาย ได้แก่ (รูปที่ ๖)(๑) การยิงตรงหน้า คือแกนทางยาวของรูปอาการกระจายตั้งฉากกับด้านหน้าของเป้ าหมาย(๒) การยิงทางปี ก คือการยิงที่กระทําทางปี กของเป้ าหมาย(๓) การยิงเฉียง คือแกนทางยาวของรูปอาการกระจาย ทํามุมที่ไม่ตั ้งฉากกับเป้ าหมาย(๔) การยิงตามแนว คือแกนทางยาวของรูปอาการกระจายทับหรือเกือบทับแกนทางยาวของเป้ าหมาย การยิงประเภทนี ้อาจจะกระทําได้ทั้งตรงหน้าและทางปี ก การยิงประเภทนี ้ย่อมได้ผลมากที่สุดเพราะได้ประโยชน์ของรูปอาการกระจายมากที่สุด


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๖๙ -วิชา หลักยุทธวิธีค) การยิงเกี่ยวกับปื น มี ๖ ประเภท คือ (รูปที่ ๗)(๑) การยิงเฉพาะตําบลคือการยิงที่กระทําต่อเป้ าหมายซึ่งเป็นตําบลเล็งอันโดดเดี่ยวอันหนึ่ง(๒) การยิงกราดทางข้าง คือการยิงกระจายออกทางกว้างโดยการเปลี่ยนมุมทิศเมื่อปื นติดตั้งบนขาหยั่งจะเปลี่ยนด้วยควงมุมทิศครั้งละ ๔ - ๖ มิลเลียม ถ้าปื นตั้งยิงด้วยขาทรายกระทําโดยการขยับไหล่ไปทางขวาหรือซ้าย เพื่อให้แน่ใจว่าเป้ าหมายถูกยิงครอบคลุมอย่างเพียงพอต้องยิงออกไปหนึ่งชุดหลังจาก แก้ทิศทางแล้วทุกครั ้ง(๓) การยิงกราดทางลึก คือการยิงกระจายออกไปในทางลึกโดยการเปลี่ยนมุมสูงเมื่อปื นตั้งยิงบนขาหยั่งและทําการยิงบนพื ้นระดับ จ ะเปลี่ยนมุมสูงครั้งละ ๒ มิลเลียม เมื่อทําการยิงต่อพื ้นที่ลาดชันจะต้องแก้มุมสูงมากกว่า ๒ มิลเลียม และถ้าทําการยิงไปยังพื ้นที่ตํ่าจะต้องแก้มุมสูงน้อยกว่า ๒ มิลเลียมทุก ๆ ครั้งที่เปลี่ยนมุมสูงแล้วต้องยิงออกไปหนึ่งชุด แต่ถ้าปื นตั้งยิงด้วยขาทรายปฏิบัติโดยการขยับศอกการยิงทางปี กตามแนวการยิงตรงหน้ารูปที่ ๖/๑ ประเภทการยิงเกี ่ยวกับเป้ าหมาย


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๗๐ -วิชา หลักยุทธวิธีการยิงทางปี กการยิงทางเฉียงการยิงตรงหน้าตามแนวรูปที่ ๖/๒ ประเภทการยิงเกี ่ยวกับเป้ าหมายการยิงเฉพาะตําบลการยิงกราดทางข้างการยิงกราดทางลึกการยิงกราดผสมการยิงกราดตลอดการยิงกราดคลายปื นรูปที่ ๗ ประเภทการยิงเกี ่ยวกับปื น


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๗๑ -วิชา หลักยุทธวิธี(๔) การยิงกราดผสม คือการกระจายการยิงออกไปทั้งทางกว้างและทางลึก เมื่อปื นตั ้งยิงบนขาหยั่งจะทําการเปลี่ยนมุมทิศครั้งละ ๔ - ๖ มิลเลียม ส่วนจํานวนควงมุมสูงย่อมขึ ้นกับความลาดของภูมิประเทศ ทุกครั้งที่เปลี่ยนมุมทิศและมุมสูงแล้วต้องทําการยิงกระสุนออกไปอีกหนึ่งชุด แต่ถ้าปื นตั้งยิงด้วยขาทรายปฏิบัติโดยการขยับไหล่และศอก(๕) การยิงกราดตลอด คือการยิงที่กระทําต่อเป้ าหมายที่มีความกว้างมากและกําลังเคลื่อนที่อย่างรวดเร็วผ่านข้างหน้าพลยิง ซึ่งพลยิงไม่สามารถที่จะยิงอย่างได้ผลเมื่อใช้มุมส่าย การยิงประเภทนี ้พลยิงต้องปลดคันยึดเลื่อนราวส่ายปื น ให้หลวมพอที่ควงมุมส่าย และควงสูงเลื่อนไปมาได้โดยอิสระบนราวส่ายปื น การแก้ทางทิศของปื นกระทําโดยใช้แรงดันที่ท้ายของปื น การแก้มุมสูงเล็กน้อยให้ใช้มือหมุนควงมุมสูง(๖) การยิงกราดคลายปื นคือการยิงขณะที่ปื นติดตั้งบนขาหยั่ง กระทําต่อเป้ าหมายที่ต้องการความรวดเร็ว ในการยิงประเภทนี ้พลยิงต้องปลดคันยึดเลื่อนราวส่ายปื นปล่อยให้เคลื่อนที่ได้อย่างอิสระทุกทิศทาง การยิงวิธีนี ้พลยิงจะต้องใช้แรงกดที่ด้านท้ายของปื นเป็นการเปลี่ยนทางทิศและทางระยะ๓. การหาระยะยิงและวัดระยะทางข้างก) การหาระยะยิง เป็นการปฏิบัติเพื่อหาระยะระหว่างที่ตั้งปื นกับเป้ าหมาย ในการยิงถูกเ ป้ าหมายอย่างแม่นยํานั้นขึ ้นอยู ่กับความสามารถในการหาระยะยิงเป้ าหมาย การหาระยะยิงมีหลายวิธีด้วยเช่นกัน การกะระยะด้วยตา จากการยิงปื น จากการวัดระยะในแผนที่หรือภาพถ่ายทางอากาศ การหาระยะด้วยวิธี นับก้าว และหาโดยใช้หลักฐานจากหน่วยอื่น ๆ การหาระยะยิงของปื นกลควรให้ใกล้เคียง ๑๐๐เมตรมากที่สุด วิธีการที่ใช้อย่างธรรมดามากที่สุดในขณะทําการรบคือ(๑) การกะระยะด้วยสายตา(๒) การยิงจากปื นข) การวัดระยะทางข้าง เพื่อให้การหาระยะด้วยการยิงได้แน่นอน พลยิงต้องสามารถใช้วิธีหาระยะทางข้างที่รวดเร็ว ด้วยการวัดระยะทางข้าง ทางขวาหรือทางซ้ายของตําบลหลักไปยังเป้ าหมายข. การควบคุมการยิง๑. การควบคุมการยิง หมายถึงการกระทําทั้งมวลของ ผบ .หมู ่ และพลประจําปื น ซึ่งเป็นการเชื่อมต่อในการเตรียมการ และการปฏิบัติการยิงอย่างได้ผลไปยังเป้ าหมาย ความสามารถในการควบคุมการยิงนั ้นขึ อยู ้น ่กับความสามารถขั ้นต้นของ ผบ.หมู่๒. วิธีควบคุมการยิง การควบคุมการยิงมีวิธีการควบคุมอยู ่หลายวิธี เพราะฉะนั ้น ผบ.หมู่ จะต้องเลือกวิธีที่ดีที่สุด หรือใช้วิธีการผสมเพื่อให้สําเร็จตามความมุ ่งหมายดีที่สุดก) ด้วยวาจาข) ด้วยสัญญาณแขนและมือค) สัญญาณที่เตรียมไว้ล่วงหน้าง) การติดต่อเป็นบุคคล


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๗๒ -วิชา หลักยุทธวิธีจ) ระเบียบปฏิบัติประจํา๓. คําสั่งยิง คือแนะนําทางหลักการที่สั่งออกไป เพื่อให้พลประจําปื นปฏิบัติตามคําสั่งยิงที่ให้ตามลําดับโดยรวดเร็วปราศจากข้อสงสัย คําสั่งยิงมี ๒ ชนิดคือก) คําสั่งยิงเริ่มแรก เป็นคําสั่งยิงต่อเป้ าหมายหนึ่งครั้งแรกข) คําสั่งยิงต่อมา เป็นคําสั่งที่ใช้ปรับการยิง การเปลี่ยนจังหวะการยิง การย้ายยิง การหยุดยิง๔. หัวข้อคําสั่งยิง คําสั่งยิงสําหรับอาวุธยิงด้วยวิธีเล็งย่อมมีแบบของหัวข้อคําสั่งต่าง ๆ คล้ายคลึงกัน เพื่อให้พลประจําปื นมีความเคยชิน และมีการปฏิบัติตามคําสั่งได้ถูกต้อง จึงกําหนดหัวข้อ คําสั่งยิงของปื นกลไว้ ๖ หัวข้อดังนี ้ก) คําสั่งเตือนข) ทิศทางค) ลักษณะเป้ าหมายง) ระยะยิงจ) วิธีการยิงฉ) คําสั่งเริ่มยิงก) คําสั่งเตือน เพื่อเตือนให้พลประจําปื นทุกคนให้พร้อมที่จะรับคําสั่งต่อไป คําสั่งเตือนด้วยวาจาประกอบด้วย “ภารกิจยิง” คําสั่งนี ้ยังแบ่งออกเป็น.-(๑) ถ้าให้ปื นทั ้งสองกระบอกทําการยิง ผบ.หน่วยจะสั่งว่า “ภารกิจยิง”(๒) ถ้าต้องการให้ปื นกระบอกใดกระบอกหนึ่งทําการยิง จะสั่งว่า “ปื นหมายเลขหนึ่ง (สอง)ภารกิจยิง”(๓) ถ้าต้องการให้ทั้งสองกระบอกเตรียมตัว แต่ทําการยิงเพียงกระบอกเดียว จะสั่ งว่า“ภารกิจยิง ปื นหมายเลขหนึ่ง (สอง)”ข) ทิศทาง บ่งถึงทิศทางทั่ว ๆ ไปของเป้ าหมาย และอาจจะบอกวิธีเดียวหรือบอกผสมก็ได้ ดังนี ้(รูปที่ ๘)(๑) บอกด้วยวาจา(๒) บอกด้วยการชี ้(๓) บอกด้วยการใช้กระสุนส่องวิถี(๔) บอกด้วยตําบลหลัก ในเมื่อใช้ตําบลหลัก คําว่า “ตําบลหลัก” จะต้องบอกในคําสั่งแล้วจึงบอกลักษณะและต้องสั่งคําว่า “เป้ าหมาย” ก่อนบอกลักษณะเป้ าหมายค) ลักษณะเป้ าหมาย ผบ.หมู ่ ควรจะอธิบายสั ้น ๆ แต่แน่นอน เพื่อให้พลประจําปื นเกิดมโนภาพต่อเป้ าหมายนั ้น ๆ


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๗๓ -วิชา หลักยุทธวิธีง) ระยะยิง ควรจะบอกเป็นเมตร ระยะยิงที่หาได้จะสั่งเป็นจํานวนร้อย หัวข้อคําสั่งยิงนี ้อาจจะข้ามไปเมื่อพลยิงสามารถหาระยะยิงเองได้ข้างหน้าทางซ้ายข้างหน้าข้างหน้าทางขวาทางซ้ายทางขวาข้างหลังทางซ้ายปื นหมายเลข ๒ผบ.หมู่ปื นหมายเลข ๑ข้างหลังทางขวาข้างหลังรูปที่ ๘ ทิศทางทั ่วไปจ) วิธีการยิง หมายถึง(๑) การปฏิบัติต่อปื น(๒) จังหวะการยิงฉ) คําสั่งเริ่มยิง ถือเป็นข้อสําคัญอย่างยิ่ง พลยิงจะต้องปฏิบัติโดยรวดเร็วและแน่นอน ถ้าหวังผลในการจู ่โจมคําสั่งเริ่มยิงจะต้องสั่งออกไปเลยไม่ต้องหยุดชะงัก แต่ถ้าจะอํานวยการยิง อาจจะใช้คําว่า“คอยฟังคําสั่งข้าพเจ้า” เมื่อปื นพร้อมแล้วจึง “เริ่มยิง”๕. คําสั่งยิงต่อมาก) การปรับแก้ทางทิศจะต้องกระทําก่อนเสมอ การปรับแก้ทางระยะจะกระทําต่อมาข) การแก้ในเรื่องจังหวะการยิงของปื นจะสั่งด้วยวาจา หรือด้วยสัญญาณแขนและมือค) ในการให้ปื นหยุดยิงจะสั่ง “หยุดยิง” หรือสัญญาณก็ได้ค. หลักการของการปฏิบัติการยิง๑. แบบของเป้ าหมายก) เป้ าหมายเป็นจุด ได้แก่ ข้าศึกในหลุมปิ ด ที่ตั ้งอาวุธ กลุ ่มทหารขนาดย่อม ๆข) เป้ าหมายเป็นแนว มีความกว้างพอเพียงที่ต้องทําการยิงส่าย และ ความลึกต้องไม่มากเกินกว่ารูปอาการกระจาย


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๗๔ -วิชา หลักยุทธวิธีค) เป้ าหมายมีความลึก มีความลึกแต่มีความกว้างเพียงเล็กน้อยง) เป้ าหมายเป็นแนวมีความลึก เป้ าหมายที่มีความกว้างและมีความลึกซึ่งรูปอาการกระจายไม่สามารถจะคลุมได้จ) เป้ าหมายเป็นพื ้นที่ หมายถึงเป้ าหมายที่มีความกว้างและความลึกและต้องใช้การยิงกราดผสมมากขึ ้น เป้ าหมายนี ้จะเกิดขึ ้นเมื่อข้าศึกอยู ่ในพื ้นที่แห่งหนึ่งแต่ไม่ทราบแน่นอน เช่น ที่หมายที่เป็นยอดเขาย่อมเป็นเป้ าหมายเป็นพื ้นที่๒. การกระจายการยิง การรวมกําลังยิงและจังหวะการยิงก) การกระจายการยิง และการรวมกําลังยิง(๑) การกระจายการยิงเป็ นการปฏิบัติการยิงในทางกว้าง และทางลึกหรือรวมทั้งสองอย่างเข้าด้วยกัน(ก) จุดเริ่มแรกของการวางปื นและปรับทางปื น พลยิงจะต้องปรับทางปื น ณ ตําบลหนึ่งที่แน่นอนในพื ้นที่เป้ าหมาย พลยิงต้องมั่นใจว่าการยิงของตนนั้น กึ่งกลางกลุ ่มกระสุนตกอยู ่ตรงฐานของเป้ าหมาย(ข) ทิศทางที่จะส่ายปื น ย่อมขึ ้นอยู ่กับแบบของเป้ าหมายและกําหนดให้ปื นทั้งคู ่หรือกระบอกเดียวยิงเป้ าหมายนั ้น(๒) การยิงเป้ าหมายเฉพาะตําบล หรือยิงเฉพาะพื ้นที่หนึ่งข องเป้ าหมายอื่น ๆ ในภูมิประเทศ เรียกว่า “การระดมยิง”ข) จังหวะการยิง จังหวะการยิงของปื นกลนั้นมีอยู ่ ๓ จังหวะด้วยกัน ได้แก่(๑) การยิงต่อเนื่อง คือการยิงกระสุน ๑๐๐ นัดต่อวินาที โดยทําการยิงเป็นชุด ชุดละ ๖ ถึง๙ นัด มีเวลาพักระหว่างชุด ๔ - ๕ วินาที (เปลี่ยนลํากล้องทุก ๑๐ นาที)(๒) การยิงเร็ว คือการยิงกระสุน ๒๐๐ นัดต่อนาที โดยทําการยิงเป็ นชุด ชุดละ ๖ - ๙ นัด มีเวลาพักระหว่างชุด ๒ -๓ วินาที (เปลี่ยนลํากล้องทุก ๒ นาที)(๓) การยิงเร็วสูงสุดคือการยิงอัตราสูงสุดของปื น ประมาณ ๕๕๐ นัดต่อนาที (เปลี่ยนลํากล้องทุก ๑ นาที)ง. การปฏิบัติการยิงต่อเป้ าหมายเล็งตรง๑. เป้ าหมายเป็นจุด เป้ าหมายเป็นจุดต้องทําการยิงโดยปื นอยู ่กับที่ ถ้าเป้ าหมายเคลื่อนที่หลังจากยิงชุดแรกไปแล้ว พลประจําปื นต้องดํารงการยิงต่อเป้ าหมายนั้นไว้โดยเลื่อนปื นตาม๒. เป้ าหมายเป็นแนว เป้ าหมายที่เป็ นแนวต้องทําการยิงกราดทางข้าง (รูปที่ ๙)ก) ปื นวางสองกระบอก(๑) การแบ่งตามปกติ จะแบ่งออกที่กึ่งกลางเป้ าหมาย ปื นหมายเลขหนึ่งจะทําการยิงครึ่งทางขวาปื นหมายเลขสองจะทําการยิงครึ่งทางซ้าย สําหรับจุดเริ่มต้นในการยิงจะอยู ่กึ่งกลางของเป้ าหมาย


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๗๕ -วิชา หลักยุทธวิธี(๒) การแบ่งพิเศษ ถ้าส่วนหนึ่งของพื ้นที่แบ่งให้มีอันตรายมากกว่าอีกส่วนหนึ่ง จะต้องมุ ่งการยิงลงไปในส่วนนั้น โดยแบ่งเป้ าหมายให้ไม่เท่ากัน ในชั้นต้นพลยิงจะเล็งไปยังจุดกึ่งกลางโดยไม่คํานึงว่าเป็นการแบ่งพิเศษ (รูปที่ ๑๐)การวางปื นเล็งขั ้นต้นเมื่อใช้เรือนควงกระจายการยิงสัญญลักษณ์ปืนตั้งคู ่ปื นตั้งเดี่ยวรูปที่ ๙ การยิงเป้ าหมายเป็นแนว (เห็นได้ชัดเจน)


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๗๖ -วิชา หลักยุทธวิธีการกระจายการยิงตลอดทั่วเป้ าหมายการรวมอํานาจการยิง๑ ใน ๓ ทางซ้ายของเป้ าหมายการรวมอํานาจการยิงณ กึ่งกลาง ๑ ใน ๓ ของเป้ าหมายรูปที่ ๑๐ การแบ่งพิเศษของเป้ าหมายข) ปื นวางกระบอกเดียว จะต้องทําการยิงตลอดความกว้างของเป้ าหมายที่เป็ นแนว ตําบลเล็งเริ่มแรกจะอยู ่กึ่งกลาง หรืออยู ่ที่เป้ าหมายส่วนที่มีอันตรายมากกว่าค) เป้ าหมายที่เป็นแนวเห็นได้ยากถ้าเป้ าหมายเป็นแนว พลยิงไม่สามารถทราบได้โดยง่าย ผบ.หมู ่อาจจะมอบเป้ าหมายให้โดยใช้ตําบลอ้าง โดยบอกเป็นมิลเลียม หรือวัดด้วยนิ ้วมือจากตําบลอ้าง ซึ่งพลยิงของปื นแต่ละกระบอกจะได้วางลงบนกึ่งกลางของเขตการยิง (รูปที่ ๑๑, ๑๒)ตําบลหลักขวา ๕ กึ่งกลางเขตการยิง


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๗๗ -วิชา หลักยุทธวิธีรูปที่ ๑๑ การยิงเป้ าหมายเป็นแนวเห็นได้ยากโดยใช้ตําบลหลักที ่อยู ่นอกพื้นที ่เป้ าหมายตําบลหลักรูปที่ ๑๒ การยิงเป้ าหมายเป็ นแนวเห็นได้ยากโดยใช้ตําบลหลักที ่อยู ่ในพื้นที ่เป้ าหมาย๓. เป้ าหมายทางลึก เป้ าหมายมีความลึกต้องยิงด้วยวิธียิงกราดทางลึก เมื่อบอกระยะยิงควรจะ บอกจุดกึ่งกลางเป้ าหมายให้ด้วย (รูปที่ ๑๓)ก) ปื นวางสองกระบอก ตําบลเล็งเริ่มแรกของปื นทั้งสองอยู ่ตรงจุดกึ่งกลางเป้ าหมาย ปื นหมายเลขหนึ่งจะยิงกราดมาทางปลายใกล้ ปื นหมายเลขสองจะยิงกราดไปทางปลายไกลข) วางปื นกระบอกเดียว ตําบลเล็งเริ่มแรกอยู ่ที่จุดกึ่งกลางเป้ าหมาย เว้นแต่ส่วนหนึ่งข องเป้ าหมาย จะมีความสําคัญมากกว่า พลยิงยิงกราดจากจุดกึ่งกลางมาหาปลายใกล้แล้วกราดกลับไปหาปลายไกลค) เป้ าหมายทางลึกเห็นได้ยาก กึ่งกลางเขตการยิงอาจมอบให้ด้วยการใช้ตําบลหลัก ส่วนเขตการยิงกราดทางลึกนั้นจะบอกเป็นเมตรในคําสั่งยิงด้วยเสมอ๔. เป้ าหมายเป็นแนวมีความลึก ใช้หลักการยิงกราดผสม เมื่อสั่งระยะยิงแล้วต้องบอกกึ่งกลางเป้ าหมายด้วย (รูปที่ ๑๔)ก) ปื นวางสองกระบอก วิธีการปฏิบัติคงเช่นเดียวกับข้อ ง.๒ (เป้ าหมายเป็นแนว) และ ง.๓ ก)(ปื นวางสองกระบอก)


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๗๘ -วิชา หลักยุทธวิธีข) ปื นวางกระบอกเดียว วิธีการปฏิบัติคงเช่นเดียวกับข้อ ง.๒ (เ ป้ า ห ม ายเป็นแนว) และ ง.๓ ข)(วางปื นกระบอกเดียว)ค) เป้ าหมายเป็นแนวมีความลึกซึ่งเห็นได้ยากต้องกําหนดปี กและจุดกึ่งกลางของเป้ าหมายเป็นแนววิธีใช้ตําบลหลักจะนํามาใช้ไม่ได้ เพราะว่าต้องใช้ตําบลหลักอย่างน้อยที่สุด ๒ แห่ง เพื่อแสดงมุมของเป้ าหมายปื นคู่รูปที่ ๑๓ การยิงต่อเป้ าหมายมีความลึกปื นเดี่ยว


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๗๙ -วิชา หลักยุทธวิธีปื นคู่รูปที่ ๑๔ การยิงต่อเป้ าหมายมีความลึกปื นเดี่ยว๕. เป้ าหมายเป็นพื ้นที่ ใช้หลักการยิงกราดผสม และจะต้องกําหนดความกว้าง , ความลึกของเป้ าหมายให้พลประจําปื น (รูปที่ ๑๕)ก) ปื นวางสองกระบอก ปื นทั้งสองกระบอกจะทําการปรับต่อจุดกึ่ งกลางเขตการยิง ปื นหมายเลขหนึ่งทําการยิงกราดผสมไปทางขวา ปื นหมายเลขสองทําการยิงกราดผสมไปทางซ้ายข) ปื นวางกระบอกเดียว ตําบลเล็งอยู ่ ณ จุดกึ่งกลางเขตการยิง แล้วยิงกราดผสมไปทั้งสองปี ก๖. เป้ าหมายในอากาศ การยิงเป้ าหมายในอากาศใช้ท่ายิงประทับสะโพกหรือท่ายิงกราดคลายปื นควรจะใช้กระสุนส่องวิถีล้วน เพื่อให้มีความง่ายในการตรวจการณ์และปรับการยิง พลยิงจะต้องทําการเล็งข้างหน้าเป้ าหมาย ณ จุดหนึ่ง ๆ ซึ่งเป้ าหมายและกระสุนวิถีจะมาพบกันในเวลาเดียวกัน และควรจะยิงด้วยอัตราการยิงสูงสุด (รูปที่ ๑๖)ปื นคู่ ปื นเดี่ยวรูปที่ ๑๕ การยิงเป้ าหมายเป็ นพื้นที ่


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๘๐ -วิชา หลักยุทธวิธีตําบลเล็งเส้นเล็งมุมดักเส้นเล็งมุมดักรูปที่ ๑๖ การยิงเป้ าหมายในอากาศจ. การยิงตะลุมบอน๑. กล่าวทั่วไป บทบาทของปื นกล มักไม่มีข้อจํากัดในการยิงสนับสนุน บ่อยครั้งปื นกลถูกกําหนดให้อยู ่ในแนวตะลุมบอนด้วย เพื่อให้การตะลุมบอนสําเร็จ พลประจําปื นต้องเรียนรู ้ในสิ่งต่อไปนี ้๑) ท่ายิง ท่ายิงในการตะลุมบอนนั้นมี ๓ ท่า แต่ละท่ายิงนั้นพลยิงจะเลือกใช้ ณ โอกาสที่เหมาะสม พลยิงจะทําการยิงอย่างแม่นยําลงที่ข้าศึกยึดอยู ่โดยปราศจากการเล็งศูนย์ปื น ปรับการยิง โดยตรวจดูกระสุนวิถีและกลุ ่มการยิงของกระสุน ณ เป้ าหมายก) ท่ายิงประทับสะโพก การยิงด้วยท่ายิงนี ้จะใช้ต่อเมื่อต้องการปริมาตรการยิงแน่นอนลงณ พื ้นที่เป้ าหมาย มีการทรงตัวดีแต่ชักช้าในเวลาเคลื่อนที่ การยิงแต่ละชุดต้องไม่น้อยกว่า ๙ นัด (รูปที่ ๑๗)


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๘๑ -วิชา หลักยุทธวิธีข) ท่ายิงประทับบ่า จะใช้ในเมื่อพลยิงต้องการยิงให้ถูกเฉพาะตําบลอันหนึ่งในพื นที่เป้ ้ าหมายแต่ชักช้าในเวลาเคลื่อนที่ ท่ายิงนี ้มีความแม่นยํามากที่สุดเมื่อเดินไป ๒ หรือ ๓ ก้าว พลยิงจะหยุดแล้วทําการยิงออกไปหนึ่งชุด ชุดหนึ่งจะใช้กระสุนอย่างมาก ๖ นัด (รูปที่ ๑๘)รูปที่ ๑๗ ท่ายิงประทับสะโพกรูปที่ ๑๘ ท่ายิงประทับบ่าค) ท่ายิงใต้แขน จะใช้เมื่อเข้าอยู ่ในระยะใกล้ข้าศึก เพื่อต้องการปริมาตรการยิงอย่างหนาแน่นและความรวดเร็วในการเคลื่อนที่ด้วย การเคลื่อนที่ของพลยิงคงติดต่อกันเรื่อยไป ในระหว่างที่ทัศนวิสัยจํากัดต้องใช้ท่ายิงนี ้ชุดหนึ่งใช้กระสุนอย่างมาก ๖ นัด (รูปที่ ๑๙)


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๘๒ -วิชา หลักยุทธวิธีรูปที่ ๑๙ ท่ายิงใต้แขน๒) ความรวดเร็วในการเคลื่อนที่และการรักษาแนวรูปขบวน พลยิงต้องเคลื่อนที่อย่างรวดเร็วและรักษาแนวรูปขบวน โดยติดตามทหารที่ถูกกําหนดให้เป็นคนหลัก พลยิงต้องไม่หยุดเคลื่อนที่โดยไม่จําเป็ น๓) การบรรจุกระสุนใหม่ก) ก่อนการเข้าตะลุมบอน(๑) พลยิงทําการตรวจดูเครื่องรองกระเป๋ ากระสุน(๒) พลยิงผู ้ช่วยต้องถอดกระดาษแข็งที่ปิ ดด้านบน ของกระสุนออกเสียก่อนข) ในขณะที่เข้าตะลุมบอน(๑) พลยิงให้พลยิงผู ้ช่วยช่วยเหลือในการบรรจุกระสุนใหม่เข้ากับปื นแต่อย่างไรก็ดีถ้าพลยิงผู ้ช่วยถูกยิง พลยิงจะต้องช่วยตัวเองในการบรรจุกระสุนใหม่อย่างรวดเร็ว(๒) พลยิงผู ้ช่วยนํากระสุนต่อเข้ากับสายกระสุน ซึ่งบรรจุอยู ่กับปื นก่อนที่กระสุนจะหมดสาย แต่ถ้าพลยิงถูกยิง พลยิงผู ้ช่วยจะต้องเข้าใช้ปื นแทนและเข้าตะลุมบอนต่อไป๔) การรักษาระดับการยิงให้ตํ่าลง ในการตะลุมบอนขณะทําการยิงจะต้องกดปากลํากล้องลงแล้วค่อย ๆ ปรับยกปื นขึ ้น โดยการตรวจกระสุนวิถี ในเวลากลางคืนควรใช้กระสุนวิถีล้วน๕) การกระจายการยิง พลยิงจะต้องทําการยิงและปรับการยิงอย่างรวดเร็วและต่อเนื่องลงบนพื ้น ท ี หมายให้มากที่สุดเท่าที่สามารถจะทําได้ ่ เ ป้ าลําดับความเร่งด่วนในการยิงคืออาวุธอัตโนมัติของข้าศึกฉ. การยิงข้าม๑. การยิงข้าม คือการปฏิบัติการยิงข้ามศีรษะทหารฝ่ ายเดียวกัน การยิงข้ามที่ปลอดภัยนั ้นย่อมขึอยู้น ่กับภูมิประเทศและทัศนวิสัย การยิงข้ามจะไม่มีความปลอดภัยถ้าเป้ าหมายอยู ่ ในระยะเกินกว่า๘๕๐ เมตร จากที่ตั้งปื น และจะไม่ทําการยิงในพื ้นระดับหรือในภูมิประเทศลาดเสมอ๒. การปฏิบัติการยิงข้าม (รูปที่ ๒๐)ก) การยิงข้ามจะกระทําเมื่อปื นตั้งยิงบนขาหยั่งข) การยิงข้ามจะกระทําเมื่อภูมิประเทศที่เป็นแอ่งตํ่าอยู ่ระหว่างที่ตั้งปื นกับเป้ าหมาย ที่แอ่ง ตํ่านั ้นควรจะมีความตํ่าซึ่งเส้นเล็งของปื นสูงเกินศีรษะของทหารฝ่ ายเดียวกัน


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๘๓ -วิชา หลักยุทธวิธีเป้ าหมายรูปที่ ๒๐ การปฏิบัติการยิงข้ามจุดจํากัดค) ตามปกติ ผบ .หมู ่จะต้องเลื่อนหรือย้ายการยิง เมื่อทหารในหน่วยที่ได้รับการสนับสนุนเคลื่อนที่มาถึง “จุดจํากัดการยิง”๓. วิธีหาจุดจํากัดการยิงก) การหาจุดจํากัดการยิงด้วยการตรวจการณ์ ผบ.หมู ่ ใช้กล้องส่องสองตาตรวจผลการยิงโดยให้สัมพันธ์กับการเคลื่อนที่ของหน่วยทหารฝ่ ายเดียวกันข) จุดจํากัดการยิงที่เลือกไว้ก่อนการยิงโดยใช้กฎของพลยิง ความแม่นยําที่แน่นอนและความปลอดภัยย่อมขึ ้นอยู ่กับการปรับศูนย์ปื นไว้อย่างแน่นอนแล้ว กฎของพลยิงจะใช้ได้ในเมื่อเป้ าหมายอยู ่ห่างจากปื นในระหว่าง ๓๕๐ ถึง ๘๕๐ เมตร กฎของพลยิงมีดังนี ้๑) หาระยะยิงจากปื นเป้ าหมาย๒) วางปื นให้ตรงกับเป้ าหมาย๓) ตั้งระยะยิงที่ ๑,๑๐๐ เมตร๔) ลดปากลํากล้องลง ๑๐ มิลเลียมโดยใช้ควงมุมสูง๕) มองผ่านศูนย์หลังแล้วกําหนดจุดตรงที่เส้นเล็งใหม่ ไปตัดกับพื ้นดินจะเป็น “จุดจํากัดการยิง”๖) กลับมาตั้งศูนย์ปื นตามระยะยิงจากปื นถึงเป้ าหมาย แล้วเตรียมทําการยิง๔. ข้อระมัดระวังในการยิงข้าม ในการปฏิบัติการยิงข้ามจะต้องพิจารณาถึงความปลอดภัยดังต่อไปนี ้ก) ขาหยั่งปื นอยู ่ในลักษณะยึดแน่นข) ใช้เครื่องบังคับมิให้ลํากล้องลดตํ่าลงค) อย่าทําการยิงข้ามโดยผ่านต้นไม้ง) แจ้ง ผบ.หน่วย ที่รับการสนับสนุนในการยิงข้ามทราบจ) พลยิงทุกคนต้องทราบถึง “จุดจํากัดการยิง”ฉ) อย่าทําการยิงข้ามถ้าระยะจากที่ตั ้งปื นถึงเป้ าหม ายน้อยกว่า ๓๕๐ เมตร หรือมากกว่า ๘๕๐เมตร


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๘๔ -วิชา หลักยุทธวิธีช) อย่าใช้ลํากล้องปื นซึ่งใช้ทําการยิงกระสุนมากเกินไป หรือลํากล้องที่สึกหรอมากซ) ในระหว่างการฝึกปฏิบัติอย่าตั้งปื นกลยิงข้ามจุดหนึ่ง จุดใดเหนือศีรษะทหารฝ่ ายเดียวกันซ. ที ่ตั้งยิงกําบัง๑. ที่ตั้งยิงกําบัง ปื นกลจะอยู ่ในที่ตั ยิงกําบังได้ก็ต่อเมื่อปื ้งนและพลประจําปื นอยู ่พ้นจากการตรวจการณ์ทางพื ้นดินของข้าศึก และใช้อาวุธขนาดย่อมยิงด้วยการเล็งตรง โดยใช้การกําบังจากภูมิประเทศเป็ นส่วนใหญ่ ปื นกลที่ทําการยิงด้วยขาทรายตั้งยิงหลังที่กําบังไม่ได้ก) ข้อดี(๑) พลประจําปื นได้รับการกําบังและซ่อนพราง จากอาวุธเล็งตรงขนาดย่อม(๒) พลประจําปื นมีเสรีในการเคลื่อนที่ภายในบริเวณที่ตั้งยิง(๓) การควบคุมและการส่งกําลัง ควบคุมได้สะดวก(๔) ควันและแสงไฟของปื น ข้าศึกตรวจการณ์เห็นได้ยากข) ข้อเสีย(๑) ทําการยิงเป้ าหมายเคลื่อนที่เร็วได้ยาก เพราะผู ้ตรวจการณ์เป็ นผู ้ปรับการยิง(๒) เป้ าหมายที่อยู ่ใกล้ที่กําบังย่อมไม่สามารถยิงถูก(๓) เป็นการยากที่จะหาแนวป้ องกันขั้นสุดท้ายได้๒. แบบของที่ตั้งยิงกําบัง (รูปที่ ๒๑)ก) ที่ตั้งยิงกําบังมาก ปื นจะตั้งอยู ่ ณ จุดตํ่าของลาดเนินที่สามารถยิงไปยังเป้ าหมายได้ ที่ตั้งยิงนี ้มีการปกปิ ดกําบังดี แต่ขาดความอ่อนตัวในการยิงต่อเป้ าหมายใหม่ที่ตั ้งยิงกําบังบางส่วน(อาจจะใช้การเล็งตรง)ที่ตั ้งยิงไกลสุดที่ตั ้งยิงใกล้สุดรูปที่ ๒๑ แบบของที ่ตั้งยิงข) ที่ตั้งยิงกําบังน้อย ปื นจะตั้งอยู ่ ณ จุดสูงสุดของลาดเนิน ซึ่งสามารถได้รับการปกปิ ดกําบังค) ที่ตั ยิงกําบังบางส่วน ้งปื นจะตั้งอยู ่โดยมีที่กําบังให้กับปื นและพลประจําปื นอยู ่บ้าง ในการป้ อ ง ก อันตรายจากอาวุธเล็งตรงของข้าศึก และพลยิงยังสามารถยิงต่อเป้ าหมายโดยการเล็งตรงได้


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๘๕ -วิชา หลักยุทธวิธี๓. การยิงต่อเป้ าหมาย หลักพื ้นฐานอันเป็ นสาระสําคัญในการยิงเป้ าหมายจากที่ตั ้งยิงกําบังจะประกอบด้วยก) การกําหนดพื ้นที่กําบัง(๑) ถ้าที่ตั้งยิงอยู ่ห่างจากที่กําบังในระยะ ๓๐๐ เมตร หรือน้อยกว่าให้ตั้งศูนย์หลังปื นที่ระยะ ๓๐๐ เมตร แล้วเล็งไปที่ยอดของที่กําบัง หมุนควงสูงขึ ้นอีก ๓ มิลเลียม(๒) ถ้าที่ตั้งยิงอยู ่ห่างจากที่กําบังเกิน ๓๐๐ เมตร ให้ตั้งศูนย์ปื นตามระยะที่ห่างอยู ่แล้ว เล็งไปที่ยอดของที่กําบัง หมุนมุมสูงขึ ้นอีก ๒ มิลเลียม(๓) มุมสูงที่อ่านได้ในข้อ (๑), (๒) จะเป็นมุมยิงตํ่าสุดของเขตการยิง มุมสูงตํ่าควรจะได้บันทึกไว้ข) การวางปื นในทางทิศผู ้ตรวจการณ์จะวางตัวอยู ่ข้างหลังปื นในแนวปื นเป้ าหมายหรืออยู ่ในที่ ๆผู ้ตรวจการณ์มองเห็นปื นและเป้าหมายได้ ผู ้ตรวจการณ์บอกให้พลยิงวางแนวปื นตรงไปยังเป้ าหมาย พลยิงเลือกภูมิประเทศที่สดุดตาที่เห็นได้ในศูนย์ปื นเป็นตําบลเล็ง และมีระยะไกล , มุมสูง, มากกว่าเป้ าหมาย(๑) ถ้าตําบลเล็งอยู ่ในแนวปื นเป้ าหมายควรวางปื น ไปยังตําบลเล็งเสมอ(๒) ถ้าตําบลเล็ง ไม่ได้อยู่ใน แนวปื นเป้ าหมาย ต้องหาระยะห่างทางระดับเป็นมิลเลียมแล้วบอกไปยังพลประจําปื นเพื่อแก้ไขที่ควงส่าย (รูปที่ ๒๒) จะต้องแก้ไขไปทางซ้าย ๑๔ มิลเลียมค) การวางปื นทางระยะมุมสูง ผู ้ตรวจการณ์หาระยะห่างทางดิ่งจากตําบลเล็งถึงฐานของเป้ าหมาย เป็นมุมมิลเลียม แล้วบอกไปยังพลประจําปื นให้ลดปากลํากล้องลงตามจํานวนที่หาได้ ขณะนี ้ปื นจะวางตรง เป้ าหมายแล้ว (รูปที่ ๒๓) จะต้องลดควงมุมสูง ๑๒ มิลเลียมง) การควบคุม กระทําโดยผู ้ตรวจการณ์ซึ่งเป็นผู ้เห็นเป้ าหมาย การปรับการยิงจะกระทําโดยผบ.หมู ่ หรือพลประจําปื นคนใดคนหนึ่งปฏิบัติหน้าที่เป็นผู ้ตรวจการณ์ตําบลเล็งไม่อยู่ในแนวปื น – เป้ าหมาย* ระยะ : ปื น – เป้ าหมาย คือ ๑,๐๐๐ เมตร* เป้ าหมาย คือ ซ้าย ๑๔ มิลเลียมของตําบลเล็ง* ทิศทาง - ตั้งศูนย์หลังระยะที่ ๑๐๐ เมตร วางปื นตามแนวตําบลเล็ง- แก้ไขควงส่ายไปทางซ้าย ๑๔ มิลเลียม* มุมสูง : ลดปื นลงด้วยควงมุมสูง ๑๒ มิลเลียมรูปที่ ๒๒ การวางปื นทางทิศ


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๘๖ -วิชา หลักยุทธวิธี12 มิลเลียมผู ้ตรวจการณ์ที่ตั ้งยิงเป้ าหมายตําบลเล็งอยู ่ในแนวปื น – เป้ าหมาย วางปื นไปยังตําบลเล็ง- ระยะ : ปื น – เป้ าหมาย ๑,๐๐๐ เมตร- ทิศทาง : ตั้งศูนย์หลังที่ระยะ ๑,๐๐๐ เมตร วางปื นตามแนวตําบลเล็ง- มุมสูง : ลดปื นลงด้วยควงมุมสูง ๑๒ มิลเลียมรูปที่ ๒๓ การวางปื นทางระยะ


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๘๗ -วิชา หลักยุทธวิธีหลักการยิงในระหว่างทัศนวิสัยจํากัด๑. กล่าวทั ่วไป ในระหว่างทัศนวิสัยจํากัดทําให้ยากแก่การตรวจการณ์และการควบคุมการยิง เป้ าหมายส่วนมากยากแก่การค้นหา ในเวลากลางคืนพลยิงมักจะทําการยิงไปยังเสียงที่ได้ยิน และยิงไปยั งที่ตั้งข้าศึกที่สงสัยมากกว่าการยิงไปยังพื ้นที่เป้ าหมายที่วางแผนไว้ล่วงหน้าแล้ว ในการที่จะขจัดข้อยุ ่งยากที่ประสบในระหว่างทัศนวิสัยจํากัดจะต้องปรับปรุงพัฒนาหลักการยิงต่าง ๆ ต่อเป้ าหมายที่ปรากฎขึ ้นและใช้การยิงที่วางแผนไว้ล่วงหน้าแล้วโดยการทําแผ่นจดระยะ๒. ศัพท์เฉพาะ ศัพท์เฉพาะที่ใช้บ่อย ๆ ในหลักการยิงในระหว่างทัศนวิสัยจํากัด ได้แก่ก. เขตการยิง คือพื ้นที่ที่มอบหมายให้บุคคลหรือหน่วย ตามปกติปื นกลจะได้รับมอบเขตการยิง ๒เขตคือ เขตการยิงหลักและเขตการยิงรองข. แนวป้ องกันขั้นสุดท้าย เป็นแนวที่กําหนดไว้ล่วงหน้าซึ่งการยิ งกราดจะอยู่ในแนวนี ้ เพื่อหยุดยั ้งการเข้าตีตะลุมบอนของข้าศึก แนวป้ องกันขั้นสุดท้าย ปื นจะต้องสามารถยิงได้ โดยไม่คํานึงถึงสภาพของทัศนวิสัย และอยู ่ภายในเขตจํากัดของเขตการยิงหลักเสมอค. เขตการยิงกวาด คือพื ้นที่รูปลิ่มจากปากลํากล้องถึงพื ้นที่ที่ได้รับมอบเฉพาะพื นที่หนึ่งซึ่งต้องมี้การยิงกวาด เขตการยิงกวาดจะทําการยิงโดยใช้การยิงกราดตลอด ในเขตการยิงหลักและสามารถที่จะทําการยิงในเขตการยิงรองได้ด้วย โดยถ้าปื นตั้งยิงด้วยขาหยั่งจะไม่ใช้เรือนควงสูงควงส่ายแต่จะใช้ขาหยั่งเป็นจุดหมุนแทน เขตการยิงกวาดจะต้องปฏิบัติการยิงได้โดยไม่คํานึงถึงสภาพของทัศนวิสัยง. ทิศทางยิงหลัก คือทิศทางยิงเร่งด่วนอันหนึ่งที่ปื นจะได้รับมอบ ซึ่งจะอยู ่กึ่งกลางของพื ้นที่สําคัญเฉพาะแห่งหนึ่ง พื ้นที่แห่งนี ้อาจจะอยู ่ตั้งแต่ที่ตั้งปื นจนถึงระยะยิงหวังผลสูงสุด เป้ าหมายที่ปรากฎให้เห็นในทิศทางยิงหลักย่อมมีความเร่งด่วนมากกว่าที่หมายอื่น ๆ ที่เกิดขึ ้นในเขตการยิง ทิศทางยิงหลักจะประกอบไปด้วยทิศทางยิงหลักในเวลากลางวัน และทิศทางยิงหลักในเวลากลางคืนจ. พื ้นที่ยิงกวาด คือพื ้นที่อันหนึ่งซึ่งอยู ่นอกเขตการยิงกวาด แต่อยู ่ภายในเขตการยิงซึ่งจะต้องคุ้มครองด้วยการยิงกวาด พื ้ นที่การยิงกวาดไม่จําเป็นต้องเป็นพื ้นที่ที่ทําการยิงตั้งแต่ปากลํากล้องปื นจนถึงพื ้นที่ซึ่งต้องการยิงกวาด ตามปกติจะเป็นพื ้นที่สําคัญทางยุทธวิธี


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๘๘ -วิชา หลักยุทธวิธีหลักการยิงเป้ าหมายที ่เห็นในระหว่างทัศนวิสัยจํากัด๑. กล่าวทั ่วไป ความสามารถของพลยิงในการค้นหาเป้ าหมาย และพิสูจน์ทราบใ นระหว่างทัศนวิสัยจํากัด ย่อมขึ ้นกับจํานวนแสงสว่างทางธรรมชาติและแสงสว่างเทียม ขนาดที่แท้จริงและปี กของเป้ าหมายย่อมจะเป็นปัญหาได้ในทุก ๆ กรณี๒. แบบของเป้ าหมาย ตามธรรมดาเป้ าหมายที่ปรากฎขึ ้นในเขตการยิงของปื นกลในระหว่างทัศนวิสัยจํากัดมี ๒ แบบก. ข้าศึกขนาดหมวดหรือหมู ่ในรูปขบวน เป้ าหมายเป็นแนวมีความลึกหรือเป้ าหมายทางลึกข. อาวุธอัตโนมัติที่ยิงสนับสนุนและข้าศึกที่เข้าตะลุมบอน เป็นบุคคลซึ่งจะเป็นเป้ าหมายเฉพาะตําบล๓. การควบคุมการยิง ขณะเมื่อ ผบ.หมู ่ ไม่สามารถจะควบคุมการยิงได้ในระหว่างทัศนวิสัยจํากัด พลยิงต้องใช้ความริเริ่มของตนยิงไปยังเป้ าหมายที่ปรากฎให้เห็นในเขตของตนโดยไม่ต้องมีคําสั่งจนกว่าเป้ าหมายจะถูกทําลาย ส่วนพลประจําปื นอื่น ๆ จะยิงเป้ าหมายเมื่อเขาพิจารณาแล้วเท่านั ้นเว้นแต่จะได้รับคําสั่งให้ทําอย่างอื่น๔. การยิงเป้ าหมายก. การใช้กระสุนส่องวิถีล้วน ๆ จะเป็นการเพิ่มผลให้พลยิงตรวจเป้ าหมายที่มองเห็นได้ผลมากยิ่งขึ ้น และพลยิงต้องได้รับการฝึกให้ยิงตํ่าในครั้งแรกแล้วค่อย ๆ ปรับให้สูงขึ ้นเพื่อให้ถูกเป้ าหมายข. เมื่อทําการยิงเป็นแนว เป้ าหมายเป็นแนวที่มีความลึก จะไม่พยายามแบ่งเป้ าหมายเหล่านี ้ออกเหมือนอย่างปฏิบัติการในระหว่างทัศนวิสัยดี การยิงอย่างได้ผลนั้นคือ๑) เป้ าหมายเป็นแนว พลยิงจะต้องเล็งตรงบนกึ่งกลางส่วนใหญ่ของเป้ าหมายตามที่ตนได้พิจารณาและพยายามรักษารูปอาการกระจายให้อยู ่ตรงฐานของเป้ าหมาย เมื่อปื นตั้งยิงบนขาหยั่งให้ใช้การยิงกราดตลอด ถ้าปื นตั้งยิงด้วยขาทรายต้องยิงกราดอย่ างรวดเร็วและกราดกลับทันทีเมื่อคล่อมเป้ าหมายแล้ว (รูปที่ ๒๔)รูปที่ ๒๔ การปฏิบัติการยิงเป้ าหมายเป็ นแนวในระหว่างทัศนวิสัยจํากัด


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๘๙ -วิชา หลักยุทธวิธี๒) เป้ าหมายเป็นแนวมีความลึก พลยิงจะต้องเล็งตรงบนกึ่งกลางส่วนใหญ่ของเป้ าหมายตามที่ตนได้พิจารณาแล้วทําการยิงกราดผสม ขั ้นแรกยิงกราดผสมให้คลุมด้านใกล้ที่ตั้งยิงก่อน แล้วจึงกราดกลับไปด้านไกล (รูปที่ ๒๕)รูปที่ ๒๕ การปฏิบัติการยิงเป้ าหมายเป็ นแนวในระหว่างทัศนวิสัยจํากัด๓) เป้ าหมายมีความลึก พลยิงจะต้องเล็งตรงบนกึ่งกลางส่วนใหญ่ของเป้ าหมายตามที่ตนพิจารณาแล้วทําการยิงกราดทางลึกมายังปลายเป้ าหมายด้านใกล้ก่อน จึงกราดกลับไปยังปลายเป้ าหมายด้านไกล ในขณะทําการยิงกราดทางลึก พลยิงจะต้องกราดไปทางข้างทั้งสองข้างข้างละ ๑ ถึง ๓ มิลเลียม(รูปที่ ๒๖)


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๙๐ -วิชา หลักยุทธวิธีกราดปื นไปทางขวาและทางซ้ายของแนวยิงกราดทางลึก ๒-๓ มิลเลียมรูปที่ ๒๖ การปฏิบัติการยิงเป้ าหมายมีความลึกในระหว่างทัศนวิสัยจํากัด


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๙๑ -วิชา หลักยุทธวิธีหลักการยิงตามหลักฐานที ่เตรียมการยิงไว้ล่วงหน้า๑. กล่าวทั ่วไป ปื นกลนอกจากจะทําการยิงเป้ าหมายที่ปรากฎให้เห็นได้อย่างเหมาะสมแล้ว ยังสามารถทําการยิงตามแผนที่วางไว้ล่วงหน้าได้ด้วยในระหว่างทัศนวิสัยจํากัด การยิงเหล่านี ้ใช้เพื่อคุ ้มครองเป้ าหม ายทางยุทธวิธี เช่น เส้นทาง , ที่ตั้งอาวุธสนับสนุนของข้าศึกที่คาดล่วงหน้าไว้ , ที่ปรับขบวนตะลุมบอนที่คาดไว้และภายในเขตการยิงกวาดและแนวป้ องกันขั้นสุดท้าย๒. การให้ได้ผลสําเร็จของการยิงกวาด เพื่อให้บังเกิดมากที่สุดในพื ้นที่เป้ าหมายทุกแห่งที่วางแผนล่วงหน้าไว้แล้ว เมื่อสามารถทําได้ควรจะมีการยิงกวาด การยิงกวาดจะจัดให้มีในเขตการยิงทุก ๆ แบบของสภาพ ภูมิประเทศก. เพื่อให้ได้ผลอย่างกว้างขวางมากที่สุดในการยิงกวาดของปื นกล ใกล้ภูมิประเทศพื ้นระดับหรือลาดเสมอ พลยิงตั้งศูนย์หลังที่ระยะ ๗๐๐ เมตร เลือกตําบลเล็งบนพื ้นดินแล้วทําการยิงปรับ ณ จุดนี ้อย่าให้กึ่งกลางของกรวยการยิงสูงจากพื ้นดินเกิน ๑ เมตรข. ถ้าภูมิประเทศไม่สมํ่าเสมอไม่สามารถทําการยิงกวาด ในระยะ ๗๐๐ เมตรได้ เนื่องจากความแตกต่างเปลี่ยนแปลงของพื ้นดิน ณ ระยะที่น้อยกว่า ๗๐๐ เมตร พลยิงตั้งศูนย์หลังตามระยะที่สามารถทําการยิงกวาดได้ แล้วทําการปรับการยิง ณ จุดนี ้อย่าให้กึ่งกลางกรวยการยิงสูงเกิน ๑ เมตรค. การกําหนดการยิงกวาดลงบนแนวป้ องกันขั ้นสุดท้าย กําหนดได้ตาม ข้อ ก . และ ข . ข้างบนที่อับกระสุนใด ๆ ซึ่งอยู ่ระหว่างกลางของภูมิประเทศตามแนวนี ้ซึ่งการยิงกวาดไม่สามารถจะกระทําได้ จากปื นที่ตั้งยิงในแนวนีเรียกว่า ้ “พื ้นที่อับกระสุน” พื ้นที่อับกระสุนอาจจะกําหนดได้สองทางคือ (รูปที่ ๒๗)พื ้นที่อับกระสุนควรจะมีอาวุธอื่นคุ ้มครองให้รูปที่ ๒๗ พื้นที ่อับกระสุน๑) ภายหลังจากที่ได้วางปื นทั้งทางทิศและทางระยะแล้ว พลประจําปื นคนหนึ่งเดินไปยังแนวป้ อ ง ก ขั้นสุดท้าย ัน พลยิงเล็งผ่านศูนย์ออกไป ขณะใดที่เอวของทหารที่เดินลดตํ่าลงกว่าแนวเส้นเล็ง พื ้นที่นั้นจะเป็ นพื ้นที่อับกระสุน๒) ด้วยการตรวจการแล่นของกระสุนวิถีทางด้านหลัง หรือทางปี กของที่ตั้งยิงอาจจะกําหนดพื ้นที่อับกระสุนได้


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๙๒ -วิชา หลักยุทธวิธี๓. การควบคุม พื ้นที่เป้ าหมายที่ได้กําหนดไว้ล่วงหน้าจะทําการยิงตามคําสั่งของ ผบ.หมู่ หรือ รปจ.ที่มีไว้ก. การยิงป้ องกันขั ้นสุดท้าย ตามธรรมดาสัญญาณที่ใช้ในการยิงป้ องกันขั้นสุดท้ายจะบ่งอยู ่ในคําสั่งการปฏิบัติของกองร้อย ผบ.หมวดปื นเล็กในแนวหน้าจะได้รับมอบอํานาจให้เป็นผู ้ร้องขอการยิงเหล่านี ้การยิงป้ องกันขั้นสุดท้ายจะหยุดยิงได้ตามคําสั่งหรือสัญญาณ๑) สัญญาณ อาจใช้แขนและมือ คําสั่งด้วยเสียงหรือพลุสัญญาณเพื่อร้องขอการยิงนี ้๒) จังหวะการยิง เมื่อทําการยิงป้ องกันขั้นสุดท้ายต้องใช้จังหวะยิงเร็ว เว้นแต่จําเป็นต้องใช้จังหวะการยิงสูงกว่า เพื่อให้ภารกิจสําเร็จข. การยิงเป้ าหมายที่เลือกไว้แล้วอื่น ๆ ต้องใช้จังหวะการยิงเร็วจนกว่าจะได้รับคําสั่งหยุดยิง๔. วิธีวางปื นเพื ่อยิง เทคนิคในการวางปื นเพื่อทําการยิงไปยังเป้ าหมายที่เลือกไว้แล้วในระหว่างทัศนวิสัยจํากัด จะได้ผลเมื่อหลักฐานถูกต้องเท่านั้น หลักฐานการยิงเหล่านี ้จะหาได้จากการวางปื นไปยังเป้ าหมาย ถ้าสามารถทําได้ควรจะปรับการยิงไปยังเป้ าหมายที่เลือกไว้แล้วเหล่านี ้เพื่อให้ได้หลักฐานที่ถูกต้อง การหาหลักฐาน การยิงมี ๒ วิธีคือ การอ่านหลักฐานจากมาตราราวส่ายปื น, เรือนควงส่ายควงสูง และการใช้การแสวงเครื่องก. วิธีหาหลักฐานที่มาตราราวส่ายปื น, เรือนควงส่ายควงสูง๑) ลําดับขั ้นการปฏิบัติเพื่อหาหลักฐานทางทิศและทางระยะ(ก) ตั้งมาตราควงส่ายและควงสูงที่ “๐“(ข) การวางปื นในทางทิศ(๑) เมื่อได้รับมอบแนวป้ องกันขั้นสุดท้าย กระทําโดยยึดคันเลื่อนราวส่ายปื นให้อยู ่ข้างใดข้างหนึ่งของราวส่ายปื น ซึ่งขึ ้นอยู ่กับแนวป้ องกันขั ้นสุดท้ายที่ได้รับมอบว่าอยู ่ทางขวาหรือซ้าย แล้วขยับขาหยั่งไปจนกว่าปากลํากล้องปื นตรงไปยังแนวป้ องกันขั้นสุดท้าย(๒) เมื่อไม่ได้รับมอบแนวป้ องกันขั ้นสุดท้าย จัดให้ขอบซ้ายของเลื่อนราวส่ายปื นอยู่ที่ขีด “๐“ แล้วขยับขาหยั่งไปจนปากลํากล้องปื นตรงไปยังกึ่งกลางเขตการยิง(ค) เมื่อปื นได้วางตรงทิศเรียบร้อยแล้ว ต้องทําขาหยั่งให้แน่นโดยกดพลั่วขาหยั่งฝังดิน หรือใช้กระสอบทรายทับ เพื่อให้ปื นมีความมั่นคง๒) การอ่านทิศทาง หลักฐานทางทิศที่ได้รับจะต้องบันทึกไว้ทุกเป้ าหมายภายในเขตการยิงหลัก เว้นแต่หลักฐานของแนวป้ องกันขั้ นสุดท้าย เพราะแนวป้ องกันขั้นสุดท้ายไม่ต้องมีหลักฐานทางทิศเพราะเลื่อนราวส่ายปื นต้องตั ้งอยู ่ที่ขวาหรือซ้ายสุดของราวส่ายปื น การอ่านหลักฐานทางทิศนั ้นใช้มาตราที่ราวส่ายบนปื นโดยใช้ขีด “๐“ เป็นหลัก มุมทิศจะบันทึกว่าขวาเลื่อนราวส่ายปื นไปอยู ่ทางซ้ายของขีด “๐“(ปากลํากล้องปื นไปทางขวา) มุมทิศจะบันทึกว่าซ้าย เมื่อเลื่อนราวส่ายปื นไปอยู ่ทางขวาของขีด “๐“ (ปากลํากล้องปื นไปทางซ้าย)


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๙๓ -วิชา หลักยุทธวิธีควงมุมส่ายแกนควงมุมส่ายภาพทางสูงแกนเกลียวมุมสูงด้านบนและแผ่นควงมุมสูงพร้อมมาตราแกนเกลียวมุมสูงด้านล่างเลื่อนราวส่ายปื น(ใช้ขอบซ้ายเป็ นเครื่องอ่านทางทิศ)รายส่ายปื นพร้อมมาตรา(เส้นเล็ก ๆ เท่ากับ ๕ มิลเลียม)รูปที่ ๒๘ ราวส่ายปื น และเรือนควงมุมสายและควงมุมสูง


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๙๔ -วิชา หลักยุทธวิธี๓) การอ่านทางระยะ(ก) หลังจากอ่านมุมทิศของเป้ าหมายได้แล้ว ก่อนจะเลื่อนไปวัดเป้ าหมายอื่นต่อไปต้องหามุมสูงของเป้ าหมายนั้นก่อน การที่จะได้มุมสูงมานี ้ปื นต้องวางเล็งตรงฐานของเป้ าหมายเสียก่อน มุมสูงที่อ่านได้จะได้จากมาตรา ๒ มาตรา ส่วนแรกจะได้จากมาตราที่สลักไว้บนแกนเกลียวแกนมุมสูงตอนบนและล่าง จากขีด “๐“ ขึ ้นบนมีค่าเป็ นบวก แบ่งไว้ขีดละ ๕๐ มิลเลียม จนถึงบวก ๒๐๐ จากขีด “๐“ ลงล่างมีค่าเป็นลบแบ่งไว้ขีดละ ๕๐ มิลเลียมจนถึงเลข ๒๐๐ ส่วนที่สองได้จากมาตราที่สลักไว้ที่ควงมุมสูงแบ่งเป็นขีด ๆละ ๑ มิลเลียม รวมทั้งหมด ๕๐ มิลเลียม โดยใช้เข็มเป็นเครื่องชี ้บอก การบันทึกมุมสูงทั้งสองส่วนนี ้แยกกันโดยใช้เส้นแบ่ง (/) เช่น บวก ๕๐/๓ แสดงว่ามุมสูงมีค่าบวก ๕๓ มิลเลียม(ข) ควงมุมสูงที่อ่านได้จะใช้ได้เฉพาะควงมุมสูงอันหนึ่งอันใดเท่านั้น จะใช้ทดแทนกันไม่ได้เว้นแต่ควงมุมสูงที่ได้ทดลองปฏิบัติแล้วว่ามีมุมสูงเท่ากัน จึงจะใช้ทดแทนกันได้๔) เพื่อให้แน่ใจว่ามุมสูงที่อ่านได้ถูกต้องกับเป้ าหมาย ควรจะทําการยิงปรับลงบนเป้ าหมายด้วย แต่ถ้าเป็ นการเปิ ดเผยที่ตั ้งยิงก็ไม่จําเป็ นต้องทําการยิงปรับ หลักฐานที่ได้จะต้องใช้วิธีกะระยะด้วยตาแล้วนํามาตั้งที่ศูนย์ปื น จัดให้ปื นวางเล็งตรงกึ่งกลางฐานของเป้ าหมาย แ ล้วจะได้มุมทิศและมุมสูงของเป้ าหมายนั ้น ๆข. การวางปื นกลโดยวิธีการแสวงเครื่อง การแสวงเครื่องหมายถึง การใช้หลักและเครื่องช่วยอื่น ๆเพื่อให้ปื นยิงไปยังพื ้นที่เป้ าหมายที่เลือกไว้ล่วงหน้าได้ การแสวงเครื่องเป็นหนทางขั้นต้นของการปฏิบัติการยิงต่อเป้ าหมายที่เลือกไว้ล่วงหน้าในเขตการยิงหลักและเขตการยิงรองในระหว่างทัศนวิสัยจํากัด จนกว่าเวลาหรือสภาพของทัศนวิสัยจะอํานวยให้ใช้หลักฐานการยิงที่บันทึกจากราวส่ายปื นได้ ถ้าพลประจําปื นต้องสับเปลี่ยนกัน การใช้การแสวงเครื่องต้องอธิบายให้พลประจําปื นที่มาผลัดเปลี่ยนทราบด้วย๑) เทคนิคการใช้หลักเล็ง คุณประโยชน์ที่สําคัญส่วนใหญ่ของเทคนิคนี ้คือไม่ต้องใช้แสงสว่างณ ที่ตั ้งปื นในเวลากลางคืน เทคนิคนี ้จะไม่ได้ผลในเมื่อทัศนวิสัยจํากัดมาก เพราะไม่สามารถตรวจหลักเล็งได้ การใช้เทคนิคนี ้ปื นจะต้องวางตรงไปยังเป้ าหมายและปฏิบัติดังต่อไปนี ้(รูปที่ ๒๙)(ก) โครงเลื่อนศูนย์หลังต้องยกให้สูง โดยให้ใบศูนย์หลังอยู ่ในตําแหน่งสูงสุด(ข) เอาเทปเรืองแสงหรือสีเรืองแสง ติดที่โครงศูนย์หน้าด้านหลังอย่างน้อยที่สุดอยู ่ที่กึ่งกลางด้านบนของโครงศูนย์(ค) หลักเล็งทําเครื่องหมายด้วยแผ่นเทปเรืองแสง หรือสีเรืองแสงโดยนําไปปักข้างหน้าของที่ตั้งยิงห่าง ๑ หรือ ๒ เมตร


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๙๕ -วิชา หลักยุทธวิธีเทปเรืองแสงศูนย์หน้าเทปเรืองแสงที่ศูนย์หน้าเทปเรืองแสงที่หลักเล็งหลักเล็งตําแหน่งเริ่มต้น การวางแนวทางระยะ ภาพการเล็งที่ถูกต้องรูปที่ ๒๙ เทคนิคในการยิงเป้ าหมายโดยการใช้หลักเล็งในระหว่างทัศนวิสัยจํากัด(ง) พลยิงค่อย ๆ เลื่อนศีรษะไปทางซ้ายช้า ๆ จะแลเห็นยอดศูนย์หน้าอยู ่ที่มุมด้านซ้ายของกรอบสี่เหลี่ยมผืนผ้าของโครงเลื่อนศูนย์หลังและใบศูนย์หลัง วางแนวหลักทางทิศแล้วตอกลงกับพื ้นดินโดยให้วัตถุเรืองแสง ๒ แห่งอยู ่เรียงเคียงกัน (การวางแนวทางทิศ) และให้ขอบด้านบนของวัตถุทั ้งสองอยู่ได้ระดับเดียวกัน (การวางแนวทางระยะ) จัดภาพศูนย์ เล็งให้เหมือนกันกับรูปที่ ๒๙ พลยิงจะต้องรักษาท่ายิงให้ถูกต้องและจับด้ามปื นไว้ตลอดเวลาในการปฏิบัติ และเมื่อจะทําการยิงเป้ าหมาย จะต้องให้ยอดศูนย์หน้าปรากฎ ให้เห็นทางด้านซ้ายของศูนย์หลัง โดยค่อย ๆ เลื่อน ศีรษะไปทางขวาช้า ๆ๒) เทคนิคการใช้หลักปัก เทคนิคอันนี ้ใช้เพื่อกําหนดเขตจํากัดและอาจจะจัดให้วางปืนเล็งไปยังแนวป้ องกันขั้นสุดท้ายหรือเป้ าหมายอื่น ๆ ที่เลือกไว้ล่วงหน้าซึ่งอยู ่ในในเขตจํากัดของเขตการยิงหลักหรือรองวิธีใช้ปักหลักย่อมได้ผลในทุก ๆ สภาพทัศนวิสัยและต้องการวัสดุเพิ่มเติมเพียงเล็กน้อย เมื่อใช้ปฏิบัติดังนี ้(ก) การกําหนดจุดจํากัดเขต วางปื นตรงไปยังทิศของจุดจํากัดเขตด้านหนึ่งแล้วปักหลักลงตรงขอบด้านนอกของขาทราย สําหรับจุดจํากัดเขตด้านตรงข้ามคงปฏิบัติเช่นเดียวกัน(ข) การวางปื นเพื่อยิงในแนวป้ องกันขั้นสุดท้าย เลื่อนปากลํากล้องปื นไปยังจุดจํากัดเขตจัดทางระยะโดยตอกหลักลงไปในพื ้นดิน โดยให้ท่อต่อกระบอกสูบ อยู ่บนหลัก และกดให้ตํ่าไว้ ๒ - ๓ มิลเลียม เพื่อสะดวกในการยิงในภูมิประเทศที่ไม่สมํ่าเสมอ(ค) การวางปื นยิงเป้ าหมายอื่น ๆ ในจุดจํากัดในเขตการยิงหลักปฏิบัติเช่นเดียวกับข้อ (ข)ข้างบน แตกต่างกันเพียงว่าไม่ต้องเผื่อไว้สําหรับภูมิประเทศที่ไม่สมํ่าเสมอ ในเขตการยิงรองเมื่อปื นวางตั้งบน


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๙๖ -วิชา หลักยุทธวิธีขาหยั่งและได้ปลดเรือนควงสูงควงส่ายให้หลวมแล้วปฏิบัติตามข้อ (ก) ข้างบนแล้วตอกหลักเพิ่มให้อยู ่ข้างใต้ท่อต่อกระบอกสูบ เพื่อกําหนดมุมให้สูงให้คงที่รูปที่ ๓๐ เทคนิคการใช้หลักปัก


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๙๗ -วิชา หลักยุทธวิธีการใช้ปื นกลในการตั้งรับจงระลึกอยู่เสมอว่าปื นกลจัดเป็ นอาวุธที่ทรงคุณค่าในการตั ้งรับ ปริมาณการยิงสูงและมีความต่อ เนื่องในการยิงเป็นคุณลักษณะอันพิเศษที่เหนือกว่าอาวุธปื นเล็กอื่น ๆ ในทางยุทธวิธีเรียกกันว่า “กระดูกสันหลังของการตั้งรับ”และให้ทําการตั้งยิงปื นกลเป็นอันดับแรกจากนั้นจึงทําการจัดเป็นที่มั่น ตั้งรับที่ให้การสนับสนุนที่ตั้งยิงนี ้เพื่อให้มีการประสานกันในการตั้งรับจึงกําหนดให้แต่ละหมู ่ปื นกลมีเขตการยิง เขตการยิงมีลักษณะเป็นรูปลิ่มบนภูมิประเทศ ซึ่งมีเขตจํากัดทางขวา และเขตจํากัดทางซ้าย และบางครั้งก็มีเขตจํากัดด้านหน้าด้วย ซึ่งเป็นความรับผิดชอบของหมู ่ปืนกลที่จะเตรียมหาหลักฐานยิงต่อเป้ าหมายทั ้งหมดและเป้ าหมายตามเหตุการณ์ที่เกิดขึ ้นภายในเขตการยิงที่รับมอบ โดยปกติ ปก.เอ็ม.๖๐ มีเขตการยิง ๘๐๐ มิลเลียม (ประมาณ๔๕ องศา) รูปที่ ๓๑ เขตการยิง800MILS(45 o )2 1รูปที่ ๓๑ เขตการยิงเขตการยิงนี ้สามารถกําหนดให้มีขนาดกว้างกว่านี ้ก็ได้ แต่จะถูกจํากัดหากใช้ราวส่ายปื น เนื่องจากเขตการยิงดังกล่าวนี ้มีความกว้างไปทางขวาและทางซ้ายเกินกว่าราวส่ายปื น ในสถานการณ์ฉุกเฉินพลยิงสามารถย้ายยิงออกนอกเขตราวส่ายปื นด้วยความรวดเร็วได้ด้วยการไม่ใช้ราวส่ายปื น อย่างไรก็ตามอย่ายกขาหยั่งออกจากที่ตั ซึ่งจะทําให้หลักฐานต่าง ้งๆ ที่เตรียมเอาไว้เสียไป การวางปื นเพื่อทําการตั้งรับในขั้นต้นให้พิจารณาว่า จะกําหนดเขตการยิง หรือจะมุ ่งต่อการยิงป้ องกันขั ้นสุดท้ายก่อนการยิงป้ องกันขั ้นสุดท้าย (Final Protective Fire FPF) คือการยิงตามแผนที่เตรียมการไว้ล่วงหน้าของอาวุธในอัตรา และนอกอัตราทั ้งหมด เพื่อหยุดยั ้งส่วนล่วงหน้าของกําลังเข้าตีของข้าศึก อาวุธทุกชนิดจะทําการยิงเมื่อข้าศึกเริ่มเข้าตะลุมบอนในขั้นสุดท้ายเท่านั้นและทําการยิงตามสัญญาณของผู ้บังคับหน่วยทางพื ้นดิน หมู ่ปื นกลอาจถูกกําหนดให้ทําการยิงตามแนวยิงป้ องกันขั้นสุ ดท้าย (Final Protective LineFPL) หรือทิศทางยิงหลัก ( Principle Direction of Fire PDF)


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๙๘ -วิชา หลักยุทธวิธีแนวยิงป้ องกันขั้นสุดท้าย (FPL)ก. คําจํากัดความและความมุ ่งหมาย คําจํากัดความของแนวยิงป้ องกันขั ้นสุดท้ายคือ แนวที่เตรียมการเอาไว้เพื่อให้ปื นกลทําการยิงด้วยความมุ ่งหมายที่จะหยุดยั ้งการเข้าตะลุมบอนของข้าศึก การยิงจะกระทําเมื่อข้าศึกเริ่มเข้าตะลุมบอนในขั้นสุดท้ายเท่านั้นข. ที่ตัข้าศึกมักจะเข้าตะลุมบอนด้วยรูปขบวนหน้ากระดานมากกว่ารูปขบวนอื่น ้งจึงเป็นข้อที่ควรจําไว้ว่าแบบของการยิงที่ได้ผลมากที่สุดต่อเป้ าหมาย คือการยิงทางปี ก เนื่ องจากเป็นการยิงไปตามแนวขนานกับแนวขอบหน้าพื ้นที่การรบเท่าที่สามารถกระทําได้ แม้ว่าจะต้องมีการป้ องกันปื นกลทางปี กก็ตาม การวางปื นเพื่อการตั้งยิงนั้น ให้ตั้งปื นลงที่จุดเริ่มต้นของแนวยิง ที่จะทําให้ได้รับผลในการยิงที่ตัดผ่านไปข้างหน้ามากที่สุด นอกจากนี ้แนวยิงป้ องกันขั ้นสุดท้ายยังทาบทับเขตจํากัดของเขตการยิงเขตจํากัดของเขตการยิง เป็นเขตที่ใช้จํากัดการยิงใกล้กับแนวขนพร .ซึ่งจะทําให้เกิดผล ๒ ประการคือ.-๑. ทําให้การยิงตามแนวยิงป้ องกันขั ้นสุดท้าย ในระหว่างที่ทัศนวิสัยเลวได้ง่ายขึ ้น๒. เพราะแนวยิงป้ องกันขั้นสุดท้าย เป็นเข ตจํากัดการยิงจึงทําให้ทําการยิงใกล้แนว ขนพร.ได้มากที่สุดเท่าที่จะทําได้โดยไม่เกิดอันตรายแก่ฝ่ ายเดียวกันสรุปได้ว่า แนวยิงป้ องกันขั้นสุดท้ายนั้น จะกําหนดให้ขนานกับแนว ขนพร.ไปตามเขตจํากัดของเขตการยิง (รูปที่ ๓๒ แนวยิงป้ องกันขั้นสุดท้าย )ที่ตั้งยิงของปื นกล ควรจะ เลือกให้มีลักษณะของการยิงกวาดตัดผ่านไปข้างหน้า ปก .เอ็ม.๖๐สามารถยิงกวาดได้ไกลถึง ๗๐๐ เมตร แต่โดยมากแล้วมักจะเลือกหาลักษณะผิวพื ้นที่มีลักษณะที่เหมาะสมกับการยิงกวาดไม่ค่อยได้ หรือมิฉะนั้นอาการลาดของภูมิประเทศที่ขนานกับแนว ขนพร .ก็ไม่เป็นไปตามลักษณะที่พึงประสงค์ แนวยิงป้ องกันขั้นสุดท้ายก็จะมีระยะใกล้กว่า ๗๐๐ เมตร (อาจเป็นแนวระดับเพียง ๒๐๐ - ๓๐๐เมตร) ก็ไม่ควรยึดหลักตายตัวโดยไม่นํามาพิจารณาเสียเลยทีเดียว เพราะแนวกึ่งกลางของกรวยการยิงอาจจะอยู ่ในระหว่างระดับหัวเข่าและเอวของทหารข้าศึกที่ยืนก็ได้ ในระดับที่ตํ่ากว่าแนวยิงก็ย่อมจะถูกคนที่เตี ้ยที่สุดจนถึงแนวระดับที่ตํ่าลงไปถึงคนที่กําลังคลานแทนการเดินในระหว่างการบุกเข้าตะลุมบอนอีกด้วยค. การหามุมสูงในการวางปื น กรรมวิธีที่จะเตรียมการยิงต่อเป้ าหมาย จะได้กล่าวรายละเอียดภายหลัง ต่อไปนี ้เป็ นกรรมวิธีในการหามุมสูง เพื่อยิงตามแนวยิงป้ องกันขั้นสุดท้าย๑. ถ้าพื ้นเป็นแนวระดับหรือลาดสมํ่าเสมอ มีระยะยิงถึง ๗๐๐ เมตร ให้ตั้งศูนย์หลังไว้ที่ ๗๐๐เมตร ทําการเล็งไปยังเป้ าหมาย ที่ประมาณระยะได้ ๗๐๐ เมตร และทําการยิงปรับต่อจุดนี ้(รูปที่ ๓๓ )๒. ถ้าพื ้นดินเป็นลาดไม่สมํ่าเสมอที่ระยะน้อยกว่า ๗๐๐ เมตร ใช้การยิงและปรับอย่างง่าย ๆบนพื ้นไม่สมํ่าเสมอนี ้จะใช้ปื นยิงไม่เต็มขีดความสามารถ ซึ่งกระทําด้วยการใช้การยิงกวาดให้ไกลออกไปเท่าที่จะทําได้ โดยทําการยิงและปรับบนพื ้นไม่สมํ่าเสมอที่จุดไกลดังกล่าวก่อน จากนั้นก็ยกมุมสูงขึ ้น ๒ มิลเลียม การทําดังนี ้จะทําให้กระสุนบางกลุ ่มในกรวยการยิงผ่านไปถึงด้านไกลของพื ้นที่ไม่สมํ่าเสมอได้ ก็จะเป็นการยืดระยะย่านอันตรายออกไป อย่างไรก็ดีมุมสูงที่เพิ่มเผื่อ ๒ มิลเลียมจะไม่ทําให้เกิดเป็นย่านอันตรายที่เพียงพอในช่วงระยะจากปื นถึงพื ้นที่เว้าลง (รูปที่ ๓๔ )


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๙๙ -วิชา หลักยุทธวิธีรูปที่ ๓๒ แนวยิงป้ องกั้นขั้นสุดท้ายตั ้งศูนย์ที่ระยะ ๗๐๐ ม. เล็งไปที่ระยะ๗๐๐ ม. จากปื นจุดเล็ง๗๐๐ มรูปที่ ๓๓ พื ้นดินเป็นแนวระดับหรือลาดสมํ่าเสมอ


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๑๐๐ -วิชา หลักยุทธวิธีตั ้งศูนย์ที่ระยะของสิ่งที่กําบังแนวยิง เล็งไปที่สิ่งกําบัง เพิ่มมุมสูง ๒ มิลระยะสิ่งกําบังแนวยิงสิ่งที่กําบัง ลาดไม่สมํ่าเสมอรูปที่ ๓๔ พื ้นดินเป็ นลาดไม่สมํ่าเสมอง. หลักการใช้ แนวยิงป้ องกันขั้นสุดท้ายหมายถึง การยิงด้วยทิศทางที่ไม่เปลี่ยนแปลง พลยิงทําการยิงโดยไม่ส่ายปื น การยิงด้วยมุ มคงที่นี ้ทําให้เกิดลักษณะ “กําแพงเหล็ก” อันเป็นเครื่องกีดขวางกําลังส่วนหน้าข้าศึก อย่างไรก็ดี พลยิงอาจจะยิงในทางลึกโดยเพิ่มมุมสูงขึ ้น ๒ มิลเลียม (ยืดระยะยิงกวาด) และลดลง๒ มิลเลียม (ลักษณะนี ้จะไม่ทําให้ย่านอันตรายลดลงมากไป แต่จะเป็ นการทําอันตรายแก่คนที่หมอบคลาน ได้)แนวยิงป้ องกันขั ้นสุดท้ายเป็ นความต้องการสูงสุดของการรวมหลักการในการยิงเข้าไว้ด้วยกัน ลักษณะของแนวยิงป้ องกันขั ้นสุดท้ายจะประกอบด้วย การยิงกวาด, การยิงทางปี ก และการยิงด้วยทิศทางคงที่จ. อัตราเร็วในการยิง แนวยิงป้ องกันขั ้นสุดท้าย เป็ นการยิงต่อเป้ าหมายที่ สําคัญที่สุดได้โดยง่ายแต่ต้องพิจารณาถึงด้านการส่งกําลัง (กระสุน) กับอัตราเร็วในการยิง ซึ่งการยิงป้ องกันขั ้นสุดท้ายหากหน่วยไม่มีการกําหนดหลักการปฏิบัติประจําเป็นอย่างอื่น การยิงต่อแนวยิงป้ องกันขั้นสุดท้ายจะยิงด้วย อัตราเร็วสูงสุดใน ๒ นาทีแรก จากนั้นก็ทําการยิงด้วยความเร็ว (จังหวะ) การยิงต่อเนื่อง จนกว่าจะมีคําสั่งให้หยุดยิงซึ่งที่กล่าวมานั ้นเป็นหลักการกําหนดอัตราในการยิงทั่ว ๆ ไปทิศทางยิงหลัก (PDF)ก. คําจํากัดความและความมุ ่งหมาย ทิศทางยิงหลัก คือแนวที่ได้เตรียมการไว้ล่วงหน้าของปื นกลด้วยความมุ ่งหมายให้ครอบคลุมแนวทางเคลื่อนที่อันตรายมากที่สุด ทิศทางยิงหลักจะกําหนดเมื่อลักษณะภูมิประเทศไม่อํานวยให้ใช้แนวยิงป้ องกันขั้นสุดท้ายได้เท่านั้น ( รูปที่ ๓๕ ทิศทางยิงหลัก )ข. หลักการใช้ ที่ตั้งและอัตราเร็วในการยิงตามทิศทางยิงหลัก (PDF) ไม่เหมือนกับแนวยิงป้ องกันขั้นสุดท้าย ตรงที่ ทิศทางยิงหลัก (PDF) ไม่ยิงด้วยทิศทางและมุมสูงคงที่ พลยิงจะใช้ปื นทําการยิงให้ครอบคลุมตลอดแนวทางเคลื่อนที่ โดยปกติกําหนดให้ทิศทางยิงหลัก (PDF) อยู ่ประมาณกึ่งกลางเขตการยิงจึงทําให้พลยิงมีช่วงการส่ายปื น เพื่อยิงกราดทางข้างและทางลึกได้ อัตราเร็วในการยิง คงเป็น เช่นเดียวกับการยิงป้ องกันขั ้นสุดท้าย (FPL)


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๑๐๑ -วิชา หลักยุทธวิธีรูปที่ ๓๕ ทิศทางยิงหลักค. การใช้หมู่ปื นกล ปื นกลทั้งสองกระบอกในหมู ่นั้น ได้รับการกําหนดให้ยิงตามแนวยิงป้ องกันขั้นสุดท้ายเดียวกัน จะกําหนดให้หมู ่ปื นกลยิงทั้งแนวยิงป้ องกันขั้นสุดท้ายและทิศทางยิงหลักได้หรือไม่ อีกนัยหนึ่ง คือสามารถทําการยิงตามทิศทางยิงหลักเพื่อกดข้าศึกไม่ให้เข้าถึงที่ตะลุมบอน และหากข้าศึกผ่านพ้นเข้ามาได้ก็ทําการยิงตามแนวยิงป้ องกันขั ้นสุดท้าย เพื่อแยกกําลังข้าศึกที่เข้าตะลุมบอน เมื่อเป็ นเช่นนั้น การยิงตามทิศทางยิงหลักจะเป็นการเปิ ดเผยที่ตั้งยิงเร็วเกินไป และเป็นการชักจูงให้ข้าศึกรวมกําลังเข้ากดดันก่อนที่จะถึงเวลาที่จะยิงต่อเป้ าหมายที่สําคัญที่สุดเสียก่อนซึ่งถือว่าเป็นความจําเป็น ส่วนแนวยิงป้ องกันขั้นสุดท้ายนั ้น ใช้หมู ่ปื นกลเป็นหน่วยทําการยิงต่อเป้ าหมายเดียวกันในเวลาเดียวกัน เพราะฉะนั ้นจึงใช้ แนวยิงป้ องกันขั้นสุดท้าย หรือทิศทางยิงหลักอย่างใดอย่างหนึ่งโดยไม่ทําทั้งสองอย่างพร้อมกัน หากไม่ใช้ปื นกลทําการยิงในภารกิจอื่นก็ควรวางปื นกลทําการยิงตามแนวยิงป้ องกันขั้นสุดท้ายที่สามารถทําให้ย่านกระสุนกวาดขนานไปกับแนว FEBA หรือทิศทางยิงหลักการวางปื นกลสําหรับการยิงป้ องกันขั้นสุดท้ายก่อนที่จะเตรียมการเพื่อทําการยิงต่อเป้ าหมายอื่น ๆ เพื่อผลทางยุทธวิธีต้องวางปื นกลสําหรับใช้ยิงป้ องกันขั้นสุดท้ายเสียก่อน แนวยิงป้ องกันขั้นสุดท้าย (FPL) หรือ ทิศทางหลัก (PDF) ต้องถูกจัดทําขึ ้นเป็ นอันดับแรกเพราะว่าจะทําให้สามารถส่ายปื นตามกรรมวิธีการใช้ขาหยั่งได้ก. การวางปื นกลสําหรับการยิงป้ องกันขั้นสุดท้าย เพื่อให้เกิดความง่ายในการยิงเป้ าหมายที่สําคัญที่สุดในระหว่างทัศนวิสัยเลว การวางปื นไปตามแนวยิงป้ องกันขั้นสุดท้าย ให้เลื่อนปื นด้วยการใช้ราวส่ายปื นไปจนสุดทางด้านหนึ่งของราวส่ายปื น ข้อควรจํา คือราว ส่ายปื นมีเขตส่ายทั ้งหมด ๘๗๕ มิล สามารถอ่านทางขวาได้สูงสุด ๔๕๐ มิล และทางซ้าย ๔๒๕ มิล ถ้าเขตจํากัดอยู ่ทางขวา ให้ตั ้งแกนล๊อคราวส่ายปื นไปทางซ้ายของราวส่ายปื นถึง ขวา ๔๕๐ มิล แล้วขยับขาหยั่งส่วนหลังให้ปื นเล็งไปตามแนวยิงป้ องกันขั้น


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๑๐๒ -วิชา หลักยุทธวิธีสุดท้าย ใช้กระสอบทรายหรือวัสดุอื่น ๆ บังคับไม่ให้ขาหยั่งขยับเขยื ้อนเพียงเท่านี ้ก็จะสามารถอ่านค่าทิศทางแนว FPL เป็นขวา ๔๕๐ ไปจนถึง ซ้าย ๔๒๕ แนวยิงป้ องกันขั้นสุดท้าย (FPL) ก็จะอยู ่ที่เขตจํากัดทางขวา ซึ่งอาจจะอยู ่ใกล้ ขนพร .มากกว่าแนวยิงป้ องกันขั ้นสุดท้ายของอาวุธใด ๆ ที่สุดเขตอันตรายของทหารฝ่ ายเดียวกัน อันจะทําให้เกิดความรุนแรงในการยิงโจมตีตามแนวในระหว่างทัศนวิสัยเลวได้มากกว่าเขตจํากัดการยิงจึงเปรียบเสมือนแนวยิงป้ องกันขั้นสุดท้าย แต่ความมุ ่งหมายไม่เหมือนกันอันดับแรกให้จัดทําแนวยิงป้ องกันขั ้นสุดท้าย ส่วนพื ้นที่ต่าง ๆ ที่เขตการยิงของปื นกลครอบคลุม ก็มาจัดทําเป็ นแผ่นจดระยะ รวมเข้าไปกับภาพแผนการยิงในการตั ้งรับ นํามาปรับแก้ถ้าจําเป็น เทคนิคของการใช้มุมสูงในการวางปื นคงเป็ นไปตามหลักการใช้มุมสูงของปื นกล การเตรียมการยิงต่อเป้ าหมายอื่น ๆก็อาจจะกระทําต่อไปได้ข. การวางปื นกลสําหรับการยิงต่อทิศทางยิงหลัก (PDF) การยิงทิศทางยิงหลัก จะอํานวยให้ทําการกราดทางข้างและกราดทางลึกได้ตลอดแนวทางเคลื่อนที่ที่เป็นอันตรายได้ ดังนั้นโดยทั่วไปแล้วจะอยู ่ที่ย่านกลางของเขตการยิง โดยการวางปื นกลที่จุดเริ่มต้นของทิศทางยิงหลัก จากนั ้นก็อ่านค่ามุมทิศและมุมสูง ค่ามิลเลียมของการยิงกราดทางข้างและทางลึกที่มีความจําเป็นต่อการยิงให้ครอบคลุมเป้ าหมายควรนํามาพิจารณาจัดลําดับการยิงด้วยแผ่นจดระยะแผ่นจดระยะคือ ภาพสเก๊ตซ์หยาบ ๆ หรือภาพที่วาดขึ ้นด้วยความมุ ่งหมายสองประการคือ การบันทึกหลักฐานการยิงและเอกสารประกอบแผนการยิงในการตั้งรับ ปื นกลแต่ละกระบอกจัดทําแผ่นจดระยะ๒ แผ่นลงในวัสดุเท่าที่จัดหามาได้ เก็บเอาไว้ ๑ แผ่น ณ ที่ตั้งยิง เพื่อเป็นการบันทึกหลักฐานการยิง พลยิงใช้หลักฐานนี ้ทําการยิงต่อเป้ าหมายอื่น ๆ ในระหว่างทัศนวิสัยดีได้ด้วย แผ่นจดระยะอีกแผ่นหนึ่งส่งไปยังหน่วยบังคับบัญชาที่สูงถัดไป (ปกติเป็นกองร้ อย) ซึ่งเป็นผู ้จัดการตั้งรับและเตรียมภาพแผนการยิง เมื่อพลประจําปื นเข้าประจําที่ตั้งยิงแล้วเริ่มเตรียมการทําแผ่นจดระยะทันทีที่ทําได้ โดยไม่ต้องคํานึงว่าจะอยู ่ในห้วงระยะเวลาใด การแก้ไขใหม่ และการปรับปรุงกระทําภายหลังตามความจําเป็น การทําแผ่นจดระยะประการแรก ทําการลําดับขั้นตอนการเขียนภาพสเก๊ตซ์ จากนั้นก็ทําการบันทึกหลักฐานต่าง ๆ ลงไป (รูปที่ ๓๖)ก.ขั้นตอนการทําแผ่นจดระยะ ทําเครื่องหมายจุดที่ตั ้งปื น เพื่อให้หน่วยเหนือสามารถพิจารณาได้ว่าที่ตั้งปื นอยู ่ที่ใดบนพื ้นดิน ลําดับการเขียนภาพสเก๊ตซ์ (ตามรูป ๓๗ และรูป ๓๘ ) ด้วยการเขียนลูกศรทิศเหนือแม่เหล็กจากจุดที่ตั้งยิง จากนั้นทําการเลือกลักษณะภูมิประเทศที่เด่นชัดที่พอจะหาได้ในแผนที่ เขียนมุมภาคแม่เหล็กและระยะจากที่ตั้งยิงไปยังภูมิประเทศที่เป็นจุดอ้างนั้น แล้วขีดเส้นกํากับเป็นรูปลูกศรไปที่ตั้งปื น ก็จะสามารถกําหนดที่ตั้งปื นได้เป็นพิกัด ๘ ตัว รายการสุดท้ายเขียนหมายเลขหมู ่ปื นที่กําหนดให้และวันที่ลงไปที่แผ่นจดระยะ ด้วยเหตุผลทางด้านการระวังป้ องกันจะแสดงภาพให้กองร้อยได้เห็นมากกว่าที่จะให้หน่วยเหนือที่กําหนดพื ้นที่ตั้งรับได้ทราบ


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๑๐๓ -วิชา หลักยุทธวิธีสัญลักษณ์เบื ้องต้นของปื นกลเขตการยิงหลักโดยไม่มีแนวป้ องกันขั ้นสุดท้ายเขตการยิงหลักพร้อมด้วยแนวป้ องกันขั ้นสุดท้ายตามเขตจํากัดทางขวาเขตการยิงรองรูปที่ ๓๖ เครื ่องหมายและสัญลักษณ์ทางทหารใช้กับ ปก.เอ็ม.๖๐ข. การบันทึกรายละเอียด หลักฐานการยิงต่าง ๆ ที่จะทําการบันทึกลงในแผ่นจดระยะได้มาจากการใช้วิธีการต่าง ๆ ที่กล่าวแล้วมาผสมผสานกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้เพ่งเล็งถึงการใช้แนวยิงป้ องกันขั้นสุดท้ายหรือทิศทางยิงหลัก ซึ่งก็จะเป็นไปตามที่ได้กําหนดให้ เ ป็นสิ่งเดียวที่มีความสําคัญมากที่สุดของรายละเอียดข่าวสาร ตามรูป ๓๗ แสดงแผ่นจดระยะ สําหรับการยิงตามแนวยิงป้ องกันขั้นสุดท้าย (FPL)และหลักฐานการยิงที่บันทึก ได้จากการผสมการใช้ ราวส่ายปื น – ควงสูง ตามรูป ๓๘ แสดงถึงแผ่นจดระยะที่ใช้การยิงตามทิศทางยิงหลัก (PDF) และหลักฐานการยิงที่บันทึก ได้จากการผสมการใช้ ราวส่ายปื น– ควงสูง ผสมกับวิธีการใช้เร่งด่วนในสนาม(๑) แนวยิงป้ องกันขั้นสุดท้าย กําหนดด้วยการเขียนเป็นเส้นทึบ ภาพแลเงาแสดงถึงย่านกระสุนกวาดตามแนวเส้นทึบ ที่เป็นช่องว่างแสดงถึงย่านอับกระสุน ระยะที่บันทึกให้นับจากใกล้ไปหาไกล จนถึงสุดย่านอับกระสุน และระยะไกลสุดของย่านกระสุนกวาดไปตามแนวยิงป้ องกันขั้นสุดท้าย เขียนหลักฐานที่ใช้ยิงเป้ าหมายตามแนวนี ้ด้วยมุมภาคทิศแม่เหล็กตามเข็มทิศที่วัดได้ ถึงแม้ว่าการเขียนแผ่นจดระยะจะไม่ต้องการให้เป็ นไปตามมาตราส่วนมากนัก แต่มุมภาคแม่ เหล็กก็พอจะช่วยให้หน่วยเหนือทราบรายละเอียดได้ถ้าจําเป็ น


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๑๐๔ -วิชา หลักยุทธวิธีรูปที่ ๓๗ แผ่นจดระยะสําหรับการยิงตามแนวยิงป้ องกันขั้นสุดท้ายรูปที่ ๓๘ แผ่นจดระยะสําหรับการยิงตามทิศทางยิงหลัก (วิธีการใช้เร่งด่วน )


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๑๐๕ -วิชา หลักยุทธวิธี(๒) ทิศทางยิงหลัก (PDF) กําหนดด้วยการเขียนเป็ นเส้นทึบพร้อมกับหัวลูกศรและระยะ ที่จะบันทึกถึงจุดไกลของแนวทางเคลื่อนที่ หลักฐานการยิง และมุมภาคทิศแม่เหล็ก คงบันทึกลงไปเช่นเดียวกัน(รูปที่ ๓๙ )(๓) เขตจํากัดการยิง กําหนดด้วยการเขียนเป็ นเส้นประ และเขียนเขตจํากัดทางขวาและเขตจํากัดทางซ้าย ก็จะเป็ นการบันทึกหลักฐานเรียบร้อย การใช้ค่ามุมสูงตามกรรมวิธีของควงสูง ไม่จําเป็นนักเพราะจะใช้เพียงเป็นเขตจํากัดการยิง และไม่ถือเป็นปัจจัยในการเตรียมการยิง ให้สังเกตด้วยว่า ในรูปที่ ๓๗ไม่กล่าวถึงสําหรับหลักฐานที่ใช้เป็ นเขตจํากัดการยิง ในรูปที่ ๓๘ แสดงไว้ง่าย ๆ ด้วยการใช้หลักปักแสดง(๔) เป้ าหมายอื่น ๆ ที่มีผลในทางยุทธวิธี ที่จะเตรียมการยิงไว้ก็ให้สเก๊ตซ์เป็นภาพที่หมาย และบันทึกลงในแผ่นจดระยะ(๕) หมายเลขเป้ าหมายที่นอกเหนือไปจากแนวยิงป้ องกันขั้นสุดท้าย แนวยิงป้ องกันขั้นสุดท้าย ให้ลงเป็นเป้ าหมายเลข ๑ เสมอ เมื่อกําหนดให้การยิงป้ องกันขั ้นสุดท้ายเป็นการยิงตามทิศทางยิงหลัก หมายเลขเป้ าหมายจะเริ่มจากด้านใดก็ได้---------------------------


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๑๐๖ -วิชา หลักยุทธวิธีตอนบันทึกหลักฐานลําดับ ทิศทาง มุมยิง ระยะ ลักษณะที่หมาย หมายเหตุ1 + 50 15 300 แนวป้ องกันขั้นสุดท้าย2 ขวา 200 ทิศทางยิงหลักในเวลากลางวัน3 ซ้าย 100 ทิศาทงยิงหลักในเวลากลางคืน4 - 50 / 10 เขตยิงกราด5 L305 + 50 / 41 300 รั้วต้นไม้เตี้ย ขวา 256 L270 + 100 / 10 600 ชุมทางถนน + 57 R165 + 100 / 15 500 บ้าน ขวา 3+28 L400 +50 / 8 200 พื ้นที่ยิงกราด R1009 R25 +50 / 43 200 พื ้นที่ยิงกราด R50(FM 23-67 MACHINEGUN 7.62-MM , M60 1964)รูปที่ ๓๙ ตัวอย่างแผ่นจดระยะพร้อมด้วยแนวป้ องกันขั้นสุดท้าย


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๑๐๗ -วิชา หลักยุทธวิธีตอนบันทึกหลักฐานลําดับ ทิศทาง มุมยิง ระยะ ลักษณะที่หมาย หมายเหตุ1 R20 ทิศทางยิงหลักในเวลากลางวัน2 L150 ทิศทางยิงหลักในเวลากลางคืน3 -100 /25 เขตยิงกราด4 +50 / 47 300 รั้วต้นไม้เตี้ย R305 600 ชุมทางถนน หลักเล็ง6 500 บ้าน หลักเล็ง7 R75 0 / 26 300 พื ้นที่ยิงกราด R50(FM 23-67 MACHINEGUN 7.62-MM , M60 1964)รูปที่ ๔๐ ตัวอย่างแผ่นจดระยะพร้อมกับทิศทางยิงหลัก


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๑๐๘ -วิชา หลักยุทธวิธีแผ่นจดระยะพื้นที ่อับกระสุนหลักเล็งบันทึกหลักฐานอาวุธ….M.60หน่วย…2DPLT COAว.ด.ป….28 FEBเหนือแม่เหล็กแต่ละวง…..200…..เมตรลําดับ ทิศทาง มุมสูง ระยะ ลักษณะเป้ าหมาย หมายเหตุ1 + 50 / 3 600 FPL - 42 ขวา 275 + 50 / 45 900 แนวป่ าสน3 ซ้าย 150 0 / 28 525 ทางแยก ที่หมายกว้าง 20/ขวา 7(FM 23-67 MACHINEGUN 7.62-MM , M60 FEBRUARY 1964)รูปที่ ๔๑ ตัวอย่างแผ่นจดระยะพร้อมด้วยแนวป้ องกันขั้นสุดท้าย


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๑๐๙ -วิชา หลักยุทธวิธีแผ่นจดระยะพื้นที ่อับกระสุนหลักเล็งบันทึกหลักฐานอาวุธ….M.60หน่วย…2DPLT COBว.ด.ป….4 Julyเหนือแม่เหล็กแต่ละวง…..150…..เมตรลําดับ ทิศทาง มุมสูง ระยะ ลักษณะเป้ าหมาย หมายเหตุ1 ซ้าย 035 0 / 24 400 PDF (ทางแยกแนวป่ า) ทม.กว้าง 17 / ขวา 102 ขวา 375 - 50 / 15 625 โรงนา ทม.กว้าง 3 / ซ้าย 33 ซ้าย 175 - 50 / 40 725 รั้วต้นไม้เตี้ย ทม.กว้าง 7 / ขวา 3(FM 23-67 MACHINEGUN 7.62-MM , M60 FEBRUARY 1964)รูปที่ ๔๒ ตัวอย่างแผ่นจดระยะพร้อมด้วยทิศทางยิงหลัก


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๑๑๐ -วิชา หลักยุทธวิธีตอนที่ ๒หลักการยิงเครื ่องยิงจรวจต่อสู ้รถถังขนาดเบา (LAW)(LIGHT ANTITANK WEAPONS)๑. กล่าวโดยทั ่วไปการยิง คจตถ .จะต้องได้รับการฝึกเทคนิคการยิง เพื่อให้การยิงต่อเป้ าหมายต่าง ๆ อย่างได้ผลการฝึ กนี ้จะรวมกับการหาระยะ การประมาณความเร็ว วิธีการยิง๒. การหาระยะทหารจะมีโอกาสใช้ คจตถ.ยิงเป้ าหมายได้ถูก ถ้าทราบระยะของเป้ าหมาย พลยิง คจตถ .จะต้องเรียนรู ้วิธีการหาระยะ วิธีการหาระยะมีหลายวิธีก. การใช้เครื่องมือวัดระยะข. การวัดระยะในแผนที่ค. การนับก้าวง. การยิงเป็นคู ่ และวิธียิงตามลําดับจ. การใช้ศูนย์เสี ้ยววงกลมของ เอ็ม.๒๐๓ ในการหาระยะฉ. การกะระยะด้วยสายตาการกะระยะด้วยสายตาจะเป็นวิธีการสุดท้ายที่ต้องใช้ในการหาระยะเพราะมักจะกะระยะไม่ค่อยถูกต้อง แต่ในการเข้าตีหรือการตั้งรับเร่งด่วน อาจจะเป็นวิธีที่ทําได้ พลยิงจะต้องได้รับการฝึกบ่อย ๆ เพื่อเพิ่มทักษะวิธีการกะระยะด้วยสายตาให้ดียิ่งขึ ้นในระยะที่คาดว่าจะเป็นที่ที่จะทําการยิงยานเกราะ ควรกําหนดและบันทึกไว้ในแผ่นจดระยะที่ เตรียมไว้สําหรับพลยิงแต่ละคนในที่มั่นต่อสู ้ (หลุมบุคคล) ที่ใช้ คจตถ .ทําการยิง เมื่อใช้การซุ่มโจมตียานเกราะจะต้องหาระยะของเขตสังหารด้วย๓. การประมาณความเร็ว (Speed Determination)คจตถ.ได้ออกแบบมาให้ใช้ยิงรถถังและยานเกราะอื่นๆ ปกติจะใช้ยิงต่อเป้ าหมายเคลื่อนที่ ความแม่นยําในการยิงขึ ้นอยู ่กับความสามารถของพลยิงที่จะประมาณความเร็วเท่า ๆ กับการหาระยะความสามารถในการประมาณความเร็วจะพัฒนาได้โดยการฝึ กอย่า งใดอย่างหนึ่ง ขั้นแรกพลยิงจะต้องรู ้ความเร็วของยานพาหนะแบบหนึ่งตามระยะทางที่ทราบ เมื่อมีความสามารถในการประมาณความเร็วแล้วจึงทําการประมาณความเร็วของยานพาหนะแบบอื่น ๆ (ถ้าเป็ นไปได้ควรใช้รถถัง)วิธีการประมาณความเร็วของเป้ าหมายวิธีหนึ่งคือ การเปรียบเทียบความเร็ วของเป้ าหมายกับความเร็วของคนที่กําลังวิ่ง ถ้าเป้ าหมายที่กําลังเคลื่อนที่เร็วเท่ากับความเร็วของคนที่กําลังวิ่งออกกําลังกาย(Jogging) หรือช้ากว่า (ความเร็ว ๘ กม./ชม. (๕ ไมล์/ชม.) หรือช้ากว่า) ใช้ศูนย์เล็งที่ความเร็วตํ่า แต่ถ้าเป้ าหมายที่กําลังเคลื่อนที่ที่ความเร็วช้าของนักวิ่งเร็ว (Running Man) หรือเร็วกว่า (มากกว่า ๘ กม./ชม. (๕ ไมล์/ชม.) ให้ใช้ศูนย์เล็งที่ความเร็วสูง


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๑๑๑ -วิชา หลักยุทธวิธี๔. วิธีการยิง วิธีการยิงของ คจตถ.มี ๔ วิธี คือ๑. การยิงเดี่ยว (Single Firing)๒. การยิงตามลําดับขั ้น (Sequence Firing)๓. การยิงเป็ นคู่ (Pair Firing)๔. การยิงพร้อมกัน (Volley Firinig)๑) การยิงเดี่ยว ในการยิงเดี่ยวนั้นจะยิงเป้ าหมายโดยพลยิงคนเดียว ใช้ คจตถ.กระบอกเดียวเป็นการยิงที่ไม่ค่อยจะบรรลุผลสําเร็จ วิธีนี ้จะใช้ยิงที่ระยะใกล้มาก (๕๐ ม. หรือน้อยกว่า) เมื่อระยะยิงไม่ทราบแน่ชัดในระยะที่ไกลกว่ า ๕๐ เมตร มันอาจเป็นไปได้ที่กระสุนนัดแรกจะไม่ถูกเป้ าหมาย ให้ใช้สายตากะระยะส่วนที่ยิงเกินไป เมื่อสามารถกะระยะเป้ าหมายได้ถูกต้อง การยิงแบบการยิงเดี่ยวอาจนํามาใช้ในระยะไกลถึง๒๐๐ ม.ได้ วิธีนี ้เป็ นวิธีการโจมตีที่นํามาใช้ได้ตามแต่สถานการณ์ เมื่อมี คจตถ.เพียงกระบอกเดียวเท่านั้นที่สามารถยิงได้ แต่อย่างก็ตามโอกาสที่จะทําลายเป้ าหมายด้วยกระสุนนัดเดียวมีความเป็ นไปได้น้อยมากในขั้นพื ้นฐานการหาระยะของพลยิง คจตถ.จะต้องเน้นเป็นพิเศษ การเล็ง, ท่ายิงที่มั่นคง, ที่ตั้งยิงและการทําให้ คจตถ.พร้อมที่จะปฏิบัติการยิง จะต้องมีการฝึกและทดสอบโดยใช้เครื่องยิงที่แจกจ่ายให้๒) การยิงตามลําดับ ในการยิงตามลําดับ เป้ าหมายที่จะโจมตีจะใช้พลยิงเพียงคนเดียวซึ่งจะนํา คจตถ .หนึ่งกระบอกหรือมากกว่าไปด้วย ก่อนทําการยิงพลยิงจะตรวจและเตรียมเครื่องยิงให้พร้อม พลยิงจะตรวจจุดที่ลูกจรวดกระทบเป้ านัดแรก ถ้า หากยิงถูกเป้ าพลยิงจะทําการยิงต่อไปจนกว่าเป้ าหมายจะถูกทําลาย ถ้ายิงพลาดเป้ าพลยิงจะปรับแก้จากตําบลระเบิดจนกว่าจะถูกเป้ าการยิงครั ้งที่ 1 การยิงครั ้งที่ 2รูปที่ ๑ การยิงตามลําดับ พลยิงเพียงคนเดียวทําการยิงและปรับแก้จากตําบลระเบิดแล้วใช้ คจตถ.กระบอกที่ ๒ ปรับแก้ทางระยะและทําการยิงใหม่ในการฝึ กควรมุ ่งเน้นหลักพื ้นฐานในวิธีการยิงของพลยิงตามที่กล่าวข้างต้น ในการยิงตามลําดับพลยิงจะต้องฝึกในการเตรียมการยิง คจตถ .สองกระบอกหรือมากกว่า และให้มีความสามารถที่จะทําการตรวจการยิงจากตําบลระเบิดแล้วปรับการยิง


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๑๑๒ -วิชา หลักยุทธวิธี๓) การยิงเป็ นคู่ การยิงเป็นคู ่จะมีพลยิงสองคนหรือมากกว่า พร้อมด้วย คจตถ .สองกระบอกหรือมากกว่าทําการยิงเป้ าหมาย พลยิงแต่ละคนจะตรวจและเตรียม คจตถ .หลายกระบอก พลยิงจะบอกข้อมูลการยิงเมื่อทําการยิงเป้ าหมาย โดยพลยิงคนแรกจะมองหาเป้ าหมาย , วิเคราะห์เป้ าหมาย, แจ้งระยะของเป้ าหมายที่ประมาณไว้ และทําการยิงโดยแจ้งให้ พลยิงที่สองทราบ ตัวอย่างเช่น “รถถัง / ๑๕๐ ม./เป้ าหมายเคลื่อนที่เร็ว” แล้วจึงทําการยิง พลยิงคนที่สองจะตรวจผลการยิง และแจ้งกลับไปให้พลยิงคนที่หนึ่งทราบในระยะที่ประมาณไว้แล้วทําการยิง พลยิงทั้งสองจะแลกเปลี่ยนข้อมูลการยิงที่เกี่ยวกับระยะยิงซึ่งกันและกันจนกว่าจะยิงถูกเป้ า การยิงเป็ นคู ่ดีกว่าการยิงตามลําดับเพราะทําให้พลยิง ยิงถูกเป้ าหมายได้รวดเร็วกว่า พลยิงสามารถพร้อมที่จะยิงได้ทันทีที่ลูกจรวดนัดก่อนกระทบเป้ าการยิงครั ้งที่ 1รถถัง 150 เมตรเคลื่อนที่เร็วระยะถูกต้องแต่รถถังวิ่งช้าการยิงครั ้งที่ 2ระยะถูกต้องความเร็วช้าพลยิงคนที่หนึ่งเตรียมยิงลูกที่ 3รูปที่ ๒ การยิงเป็ นคู่ในการฝึกควรเน้นหลักพื ้นฐานการยิงของพลยิง พลยิงต้องได้รับ การฝึกให้เตรียมการยิงคจตถ. สองกระบอกหรือมากกว่า และการแลกเปลี่ยนข้อมูลการยิงตามคําสั่งยิง ความเชื่อมั่นร่วมกันสามารถนํามาซึ่งความสําเร็จ๔) การยิงพร้อมกัน เป้ าหมายจะถูกโจมตีโดยพลยิงมากกว่าหนึ่งคน โดยพลยิงแต่ละคนจะทําการยิงด้วย คจตถ .หนึ่งกระบอกหรือมากกว่า แ ละใช้ข้อมูลการยิงในการเล็งที่ศูนย์ปื นเดียวกัน ในการให้สัญญาณการยิง พลยิงจะใช้คําสั่งด้วยวาจา ตัวอย่างเช่น รถถัง / ๑๕๐ ม./ เป้ าหมายเคลื่อนที่เร็ว / ยิงพร้อม


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๑๑๓ -วิชา หลักยุทธวิธีกัน / พร้อมเล็ง / ยิง หรือใช้สัญญาณอื่น ๆ ที่ได้เตรียมไว้ อีกวิธีการหนึ่งที่จะทําการยิง คือ พลยิงจะทํากา รยิงเมื่อเป้ าหมายเคลื่อนที่ไปถึงจุดอ้างอิงที่กําหนดไว้ล่วงหน้า การยิงพร้อมกันควรจะใช้เมื่อรู ้ระยะเป้ าหมายที่ถูกต้องแล้ว และยังสามารถทําการยิงหลังจากที่ทราบระยะยิงจากการยิงเป็ นคู ่หรือการยิงตามลําดับหรือหลังจากทราบระยะโดยการนับก้าว, ใช้เครื่องวัดระยะ, วัดระยะในแผนที่ และใช้จุดอ้างจากเป้ าหมายที่ทราบระยะแล้ว วิธีการยิงพร้อมกันเป็นสิ่งพึงประสงค์เพราะใช้ คจตถ .ยิงหลายกระบอกที่เป้ าหมายในเวลาเดียวกัน วิธีนี ้จะเพิ่มโอกาสที่จะยิงถูกเป้ าหมายและเป้ าหมายถูกทําลายได้มากขึ ้นการฝึกควรมุ ่งเน้นหลักพื ้นฐานการยิงของพลยิง พลยิ งต้องได้รับการฝึกให้เตรียมการยิงคจตถ. สองกระบอกหรือมากกว่า และการยิงตามคําสั่ง ในการฝึกยิงพร้อมกันพลยิงจะต้องพัฒนาความสามารถในการนับก้าวที่ถูกต้อง การใช้เครื่องมือวัดระยะ ใช้แผนที่และใช้จุดอ้างเป้ าหมายต่าง ๆ๕. แผ่นจดระยะที่ตั ้งยิงต่าง ๆ ของ คจตถ .จะต้องจัดทําแผ่นจดระยะเสมอ เมื่อมีเวลาอํานวยให้ แผ่นจดระยะเป็นภาพสะเก็ตซ์ (ภาพลายเส้น) ที่จัดทําโดยพลยิง จะแสดงภาพลักษณะภูมิประเทศ เขตการยิงและพื ้นที่รับผิดชอบ แผ่นจดระยะนี ้จะทําให้สามารถกําหนดข้อมูลที่จําเป็นในการยิงเป้ าหมายที่เกิดขึ ้นในเขตรับผิดชอบได้อย่างถูกต้อง และจะช่วยให้พลยิงในการหาระยะไปยังเป้ าหมายในเขตการยิง การหาระยะไปยังพื ้นที่เป้ าหมายที่ได้กําหนดไว้ล่วงหน้าภายในเขตการยิงระหว่างที่ข้าศึกทําการเข้าตีเป็นสิ่งที่มีความสําคัญยิ่ง ประสิทธิภาพของการยิง คจตถ.จะเพิ่มขึ ้นเป็นอันมากเมื่อทราบระยะยิงไปยังเป้ าหมายได้ถูกต้ องแน่นอนการหาระยะทําได้หลายวิธีตามที่กล่าวไปแล้ว เพื่อให้ได้ผลในการยิงแผ่นจดระยะจะต้องเตรียมไว้ทั ้งที่มั่นหลัก, ที่มั่นสํารอง และที่มั่นเพิ่มเติม แผ่นจดระยะจะแสดงที่ตั้งของ คจตถ ., ระยะและทิศทางไปยังลักษระภูมิประเทศที่เด่นชัด และพื ้นที่เป้ าหมายที่ได้กําหนดไว้ล่วงหน้าหัวข้อสําคัญในแผ่นจดระยะเครื่องยิงจรวดต่อสู ้รถถังขนาดเบา (LAW)๑. เส้นเขตการยิง รวมทั้งเส้นเขตการยิงไกลสุด (ด้านหน้า)๒. ตําบลที่และระยะเป้ าหมายต่าง ๆ ที่กําหนดไว้ล่วงหน้า๓. ตําบลที่ของจุดอ้างของเป้ าหมายอยู ่ในหรือใกล้เขตการยิง๔. พื ้นที่อับกระ สุน (DEAD SPACE)๕. สัญลักษณ์ คจตถ.๖. การบันทึกที่ขอบแผ่นจดระยะ ประกอบด้วยก. หมู่วันที่ , เวลา เดือน, ปีข. หน่วยที่จัดทําค. แบบของที่ตั้งยิง (หลัก, รอง, เพิ่มเติม)


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๑๑๔ -วิชา หลักยุทธวิธีรูปที่ ๓ แผ่นจดระยะของเครื่องยิงจรวดขนาดเบา (LAW)การจัดทําแผ่นจดระยะของอาวุธต่อสู ้รถถังทุกชนิด(FM21-75 Combat Skills Of The Soldier)- ในจุดกึ่งกลางด้านล่างสุดของแผ่นจดระยะกําหนดเป็นที่ตั้งยิงของอาวุธ โดยเขียนสัญลักษณ์ของอาวุธพร้อมด้วยสัญลักษณ์ทิศเหนือแม่เหล็ก- เขียนลักษณะภูมิประเทศให้ครอบคลุมเขตการยิง เช่น ถนน, สะพาน, สิ่งก่อสร้าง, แม่นํ, ้า เนินเขา ป่ าไม้ให้ถูกต้องเท่าที่จะทําได้- แสดงที่ตั้งยิงโดยเขียนลูกศรจากภูมิประเทศใกล้เคียงที่ตั้งยิงที่สังเกตเห็นได้ง่าย วัดมุมภาคของทิศและระยะจากภูมิประเทศนั้นจนถึงที่ตั้งยิง และเขียนเลขระยะลงเหนือเส้นลูกศรและเขียนมุมภาคทิศที่ วัดได้ลงใต้เส้นลูกศร (ไม่ต้องทํากับเครื่องยิงต่อสู ้รถถังขนาดเบา LAW)- เขียนเขตการยิงด้วยการเขียนเส้นล้อมรอบเขตการยิงที่ได้รับมอบ เส้นเขตการยิงไกลสุด(ด้านหน้า) จะแสดงให้ทราบว่าเป็นระยะไกลสุดที่เป้ าหมายจะถูกยิง- เขียนตําบลอับกระสุนภายในเขตการยิง โดยร่างเป็ นเส้นล้อมรอบพื ้นที่ที่ไม่สามารถทําการยิงได้และขีดเป็นเส้นทึบไว้ในพื ้นที่ที่เขียนเส้นล้อมรอบไว้ เพื่อแสดงว่าไม่สามารถยิงเป้ าหมายที่เกิดขึ ้นภายในพื ้นที่เหล่านั้นได้- เขียนเส้นระยะและมุมภาคทิศไปยังพื ้นที่เป้ าหมายต่าง ๆ ที่ได้กําหนดไว้ล่วงหน้า และเขียนจุดอ้างเป้ าหมายหมายภายในเขตการยิง (สําหรับจรวดต่อสู ้รถถังขนาดเบา LAW ไม่ต้องเขียนมุมภาคทิศ)


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๑๑๕ -วิชา หลักยุทธวิธี- การบันทึกที่ขอบมุมแผ่นจดระยะ* แบบของที่ตั้งยิง (หลัก, รอง, เพิ่มเติม)* หน่วย (จนถึงระดับกองร้อย)* หมู ่วันที่ เวลา เดือน ปีจัดทําแผ่นจดระยะ ๒ ฉบับ เก็บไว้ที่ตั้งอาวุธหนึ่งฉบับ ส่ง ผบ .หน่วยหนึ่งฉบับ วิธีการทําแผ่นจดระยะสําหรับอาวุธต่อสู ้ยานเกราะทุกชนิดทําวิธีเดียวกันรูปที่ ๔ แผ่นจดระยะเอกสารอ้างอิง FM 23 – 33 M72 A1 AND M72 A2 (LAW)FM 21 – 75 COMBAT SKILLS OF THE SOLDIER


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๑๑๖ -วิชา หลักยุทธวิธีจรวดปรส.รูปที่ ๕ สัญลักษณ์ของอาวุธต่อสู่รถถังชนิดต่าง ๆ


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๑๑๗ -วิชา หลักยุทธวิธีตอนที่ ๓หลักการยิงเครื ่องยิงลูกระเบิดคอย…ยังไม่ได้แปลหากแปลเสร็จเมื่อไร ก็ให้ใส่รวมกันได้เลย ในตอนท้ายร.ท.พุตพร (แปล)


หลักสูตรอาชีพเพื่อเลื่อนฐานะ ชั ้นพันจ่าเอก นย. - ๑๑๘ -วิชา หลักยุทธวิธีส0ารบัญหน้าบทที่ ๑ กองร้อยปื นเล็กนาวิกโยธิน ๑บทที่ ๒ บุคคลทําการรบ ๙ตอนที่ ๑ การกําบัง , การซ่อนพรางและการพราง ๙ตอนที่ ๒ การเคลื่อนที่ ๑๖ตอนที่ ๓ การตรวจการณ์ ๒๔บทที่ ๓ เทคนิคการยิง ๒๘ตอนที่ ๑ นําเรื่อง ๒๘ตอนที่ ๒ การหาระยะ ๒๘ตอนที่ ๓ การยิงและผลการยิงของปื นเล็กและปื นกล ๓๑ตอนที่ ๔ เครื่องยิงลูกระเบิด M.203 ๓๕ตอนที่ ๕ คําสั่งยิง ๓๗ตอนที่ ๖ ประโยชน์การยิง ๔๓บทที่ ๔ รูปขบวนรบและท่าสัญญาณ ๕๐ตอนที่ ๑ รูปขบวนรบ ๕๐ตอนที่ ๒ ท่าสัญญาณ ๕๗บทที่ ๕ การดําเนินการของหมวดอาวุธ ๖๕ตอนที่ ๑ หลักการยิงปื นกล เอ็ม.๖๐ ๖๕ตอนที่ ๒ หลักการยิงเครื่องยิงจรวจต่อสู ้รถถังขนาดเบา (LAW) ๑๐๙-----------------------------------หลักฐานอ้างอิง๑. FM 23 – 33 M72 A1 AND M72 A2 (LAW)๒. FM 21 – 75 COMBAT SKILLS OF THE SOLDIER๓. FM 23 – 67 MACHINEGUN 7.62 , M60 1964 และ 1984๔. OH 6 – 3D MACHINEGUNS AND MACHINEGUN GUNNERY 1987--------------------------------ปรับปรุงและเรียบเรียง เมื่อ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๐โดย น.ท.กิตติพจน์ สุทธิพิบูลย์จัดพิมพ์โดย พ.จ.อ.สุขสันติ ์ ศิรินาโพธิ ์หมายเหตุหากพบข้อความผิดหรือสะกดผิด ขอความกรุณาแจ้ง แผนกเตรียมการ กศษ .รร.นย.ศฝ.นย.โทร. ๐๖๒–๔๕๑๒ , ๐๖๒–๑๑๗๒

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!