28.06.2014 Views

เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา

เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา

เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ความรูเรื่องทรัพยสินทางปญญาเนื่องใน<br />

วันนักประดิษฐไทย 2 กุมภาพันธ <strong>2553</strong><br />

อนุเทพ ภาสุระ<br />

เมื่อวันที่ 2 ก.พ. 2536 ผลงานสิ่งประดิษฐ “กังหันชัยพัฒนา” ซึ่งเปนสิ่งประดิษฐ<br />

เพื่อบําบัดน้ําเสียดวยวิธีการเติมอากาศของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงไดรับ<br />

การทูลเกลาฯ ถวายสิทธิบัตรการประดิษฐ ซึ่งถือไดวาเปนสิทธิบัตรที่ถวายแด<br />

พระมหากษัตริย พระองคแรกของโลก ดวยพระอัจฉริยภาพดานการประดิษฐอันเปน<br />

ที่ยอมรับในระดับสากลโลกและเปนประโยชนตอพสกนิกรไทยเปนอยางยิ่ง คณะรัฐมนตรี<br />

จึงไดมีมติเมื่อวันที่ 10 ม.ค. 2537 กําหนดให 2 ก.พ.ของทุกป เปน “วันนักประดิษฐไทย”<br />

เพื่อเปนการตระหนักถึงความสําคัญของนักประดิษฐและผลงานของนัก<br />

ประดิษฐที่ไดคิดคนขึ้นมาหรือที่เรียกกันวา ทรัพยสินทางปญญา ผูเขียนจะขอ<br />

อธิบายถึงความรูเกี่ยวกับทรัพยสินทางปญญา ซึ่งสามารถแบงไดเปน 2 ประเภท คือ<br />

สิทธิบัตร (Patent) และลิขสิทธิ์ (Copyright)<br />

สิทธิบัตร (Patent) หมายถึง หนังสือสําคัญที่ออกใหเพื่อคุมครองการประดิษฐ<br />

หรือการออกแบบผลิตภัณฑ ทั้งนี้ผูประดิษฐหรือออกแบบผลิตภัณฑหากตองการ<br />

ไดรับความคุมครอง จะตองยื่นคําขอรับสิทธิบัตร แตก็ไมใชวาคิดประดิษฐหรือ<br />

ออกแบบผลิตภัณฑใดขึ้นมาจะไดรับความคุมครองเสมอไป การขอรับสิทธิบัตรการ<br />

ประดิษฐมีเงื่อนไข 3 ประการ คือ 1) เปนการประดิษฐใหม คือ ยังไมเคยมีจําหนาย<br />

หรือขายมากอน หรือเผยแพร หรือยังไมเคยเปดเผยรายละเอียดของการประดิษฐ<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 67

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!