เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา

เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา

sci.buu.ac.th
from sci.buu.ac.th More from this publisher
28.06.2014 Views

การแพรระบาดของชนิดพันธุตางถิ่นนี้เปนการคุกคามที่สําคัญที่สุด เพราะชนิดพันธุ เหลานี้คุกคามระบบธรรมชาติและระบบการผลิต ซึ่งการแพรระบาดของชนิดพันธุ ตางถิ่นนั้นมีสาเหตุหลักมาจากมนุษยเปนผูนําเขาไปในสถานที่ตาง ๆ ดวยเหตุผล ตางกัน ทั้งตั้งใจและไมตั้งใจ นอกจากนั้นเกิดจากปรากฏการณธรรมชาติ เชน ลมพายุ กระแสน้ํา และการติดไปกับสัตวหรือพืชที่นําเขามาจากตางประเทศ การระบาด ของชนิดพันธุตางถิ่นที่รุกรานนั้นทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศอยางสิ้นเชิง เกิดการสูญพันธุของชนิดพันธุพื้นเมือง ซึ่งมักจะสงผลใหเกิดปญหาสําคัญทาง สิ่งแวดลอม เศรษฐกิจ สุขอนามัย และสังคม ที่ตองเสียคาใชจายนับลานดอลลาร สหรัฐและมีผลเสียหายรายแรงตอเศรษฐกิจของประเทศกําลังพัฒนา ตัวอยางของ ชนิดพันธุที่สหพันธเพื่อการอนุรักษแหงโลก (IUCN) ไดทําบัญชีรายชื่อไววาเปนหนึ่ง ในรอยชนิดพันธุตางถิ่นที่รายแรงของโลก เชน ผักตบชวา (Eichhornia crassipes) ไมยราบยักษ (giant sensitive plant) ผกากรอง (Lantana camera) หอยทากยักษ แอฟริกา (Achatina fulica) หอยเชอรรี่ (Pomacea canaliculata) เปนตน สําหรับ ประเทศไทยไดมีการจัดทําบัญชีรายชื่อชนิดพันธุตางถิ่นไวและมีชนิดพันธุตางถิ่นที่ รุกรานแลว 82 ชนิด เชน ผักตบชวา ไมยราบยักษ บัวตอง (Tithonia diversifolia) มดคันไฟ (Solenopsis geminate) หอยเชอรี่ ปลาซักเกอร (Hypostomus plecostornus) ปลานิล (Oreochromis nilotcus) ตะพาบไตหวัน (Pilodiscus sinensis sinensis) และนกพิราบ (Columba livia) เปนตน และการนําเขาชนิดพันธุตางถิ่นทั้งพืชและสัตว ในประเทศไทยนั้นทํามาเปนเวลานานจนลืมแลววาเปนชนิดพันธุนําเขา ชนิดพันธุ และพันธุกรรมตางถิ่นที่นําเขามาเพื่อการเกษตรและการประมง เปนหัวใจในการ ผลิตและพัฒนาอาหารใหกับโลกโดยรวม เชน การนําปลาตางถิ่นเขามาทั้งเพื่อการ เลี้ยงเปนอาหารและปลาสวยงาม กรมประมงไดทําการเพาะพันธุปลาตางถิ่น ปลอยลงสูแหลงน้ํา อาทิ ปลานิล ปลายี่สก ปลาดุกยักษ ดวยวัตถุประสงคเพื่อเพิ่ม อาหารและรายไดใหแกชาวประมงและชาวบาน ปลาบางชนิดมีการเพาะเลี้ยงเปน เลมที่ 33 33

กิจการขนาดใหญ ซึ่งในบางกรณีมีการเล็ดรอดออกสูแหลงธรรมชาติ หรือ การนําชนิด พันธุตางถิ่นเขาและออกนอกประเทศไทยโดยรูเทาไมถึงการณ เชน นักทองเที่ยวนําเขา อาหาร หรือเมล็ดพันธุตางถิ่นติดมาในกระเปาเดินทาง เปนตน ประเทศไทยจึงเปนหนึ่งใน ประเทศตาง ๆ ทั่วโลกที่ไดรับผลกระทบจากชนิดพันธุเหลานี้ โดยพบวามีชนิดพันธุ เหลานี้แพรกระจายไปทั่วเกือบทุกภาคของประเทศไทย เชน ไมยราบยักษที่นําเขามา ในประเทศไทยเนื่องจากผูนําเกษตรกรชาวไรยาสูบไปดูงานที่ประเทศอินโดนีเซีย แลวนําเมล็ดเขามาที่อําเภอแมแตง อําเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม เพื่อจะ เพาะปลูกใหไดตนกลามาทําปุยพืชสดเชนเดียวกับประเทศอินโดนีเซีย แตตอมาเกิด การกระจายรอบไรยาสูบและริมคลองชลประทาน ทางสํานักงานชลประทานจึงนํา เมล็ดมาโปรยไวตามคลองสงน้ําเพื่อปองกันตลิ่งคลองสงน้ําพังทลายจากวัวที่มากิน น้ํา ทําใหไมยราบยักษระบาดไปทั่วประเทศ เชนเดียวกับประเทศออสเตรเลียจาก รายงานการศึกษาวิจัยที่กลาวถึงไมยราบยักษไววา ไมยราบยักษเปนไมพุมเมื่อโต เต็มที่สูงประมาณ 6 เมตรมีระบบรากที่หยั่งลึกลงไปในพื้นดิน เมื่ออยูรวมกันจะ ขึ้นอยูอยางหนาแนนพืชอื่นหรือสิ่งมีชีวิตอื่นไมสามารถขึ้นหรือเจริญเติบโตได โดยเฉพาะบริเวณพื้นที่ราบน้ําทวมถึง ไมยราบยักษนี้สามารถมีชีวิตอยูไดในชวงฤดู แลงที่มีระยะเวลานานประมาณ 7 เดือนหรือในชวงฤดูฝนที่มีน้ําทวมขัง ในการ สืบพันธุนั้นไมยราบยักษหนึ่งตนนั้นสามารถสรางเมล็ดไดมากกวา 9,000 เมล็ดใน แตละป และจะรวงลงพื้นหมดในชวงกลางฤดูฝนและกลางฤดูแลง และไมยราบยักษ ที่ขึ้นอยูรวมกันเปนกลุมนั้นสามารถสรางเมล็ดไดปละประมาณ 220,000 เมล็ด และ เมล็ดของไมยราบจะอยูในฝกและเมล็ดเหลานั้นสามารถพักตัวในพื้นดินที่มีสภาพ ไมเหมาะสมไดนานประมาณถึง 23 ปกอนจะงอกขึ้นมา ไมยราบยักษ ชอบขึ้นใน บริเวณที่มีน้ําทวมขังหรือบริเวณริมฝงแมน้ําที่ดินมีลักษณะเปนดินเหนียว ดินเหนียว ปนทรายหรือดินทรายหยาบริมน้ํา ดินที่มีธาตุอาหารต่ําก็สามารถขึ้นและเจริญเติบโตได จึงทําใหบริเวณที่พบไมยราบยักษนั้นไมพบหรือพบพืชหรือสัตวตาง ๆ อยูนอยมาก 34 วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน

กิจการขนาดใหญ ซึ่งในบางกรณีมีการเล็ดรอดออกสูแหลงธรรมชาติ หรือ การนําชนิด<br />

พันธุตางถิ่นเขาและออกนอกประเทศไทยโดยรูเทาไมถึงการณ เชน นักทองเที่ยวนําเขา<br />

อาหาร หรือเมล็ดพันธุตางถิ่นติดมาในกระเปาเดินทาง เปนตน ประเทศไทยจึงเปนหนึ่งใน<br />

ประเทศตาง ๆ ทั่วโลกที่ไดรับผลกระทบจากชนิดพันธุเหลานี้ โดยพบวามีชนิดพันธุ<br />

เหลานี้แพรกระจายไปทั่วเกือบทุกภาคของประเทศไทย เชน ไมยราบยักษที่นําเขามา<br />

ในประเทศไทยเนื่องจากผูนําเกษตรกรชาวไรยาสูบไปดูงานที่ประเทศอินโดนีเซีย<br />

แลวนําเมล็ดเขามาที่อําเภอแมแตง อําเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม เพื่อจะ<br />

เพาะปลูกใหไดตนกลามาทําปุยพืชสดเชนเดียวกับประเทศอินโดนีเซีย แตตอมาเกิด<br />

การกระจายรอบไรยาสูบและริมคลองชลประทาน ทางสํานักงานชลประทานจึงนํา<br />

เมล็ดมาโปรยไวตามคลองสงน้ําเพื่อปองกันตลิ่งคลองสงน้ําพังทลายจากวัวที่มากิน<br />

น้ํา ทําใหไมยราบยักษระบาดไปทั่วประเทศ เชนเดียวกับประเทศออสเตรเลียจาก<br />

รายงานการศึกษาวิจัยที่กลาวถึงไมยราบยักษไววา ไมยราบยักษเปนไมพุมเมื่อโต<br />

เต็มที่สูงประมาณ 6 เมตรมีระบบรากที่หยั่งลึกลงไปในพื้นดิน เมื่ออยูรวมกันจะ<br />

ขึ้นอยูอยางหนาแนนพืชอื่นหรือสิ่งมีชีวิตอื่นไมสามารถขึ้นหรือเจริญเติบโตได<br />

โดยเฉพาะบริเวณพื้นที่ราบน้ําทวมถึง ไมยราบยักษนี้สามารถมีชีวิตอยูไดในชวงฤดู<br />

แลงที่มีระยะเวลานานประมาณ 7 เดือนหรือในชวงฤดูฝนที่มีน้ําทวมขัง ในการ<br />

สืบพันธุนั้นไมยราบยักษหนึ่งตนนั้นสามารถสรางเมล็ดไดมากกวา 9,000 เมล็ดใน<br />

แตละป และจะรวงลงพื้นหมดในชวงกลางฤดูฝนและกลางฤดูแลง และไมยราบยักษ<br />

ที่ขึ้นอยูรวมกันเปนกลุมนั้นสามารถสรางเมล็ดไดปละประมาณ 220,000 เมล็ด และ<br />

เมล็ดของไมยราบจะอยูในฝกและเมล็ดเหลานั้นสามารถพักตัวในพื้นดินที่มีสภาพ<br />

ไมเหมาะสมไดนานประมาณถึง 23 ปกอนจะงอกขึ้นมา ไมยราบยักษ ชอบขึ้นใน<br />

บริเวณที่มีน้ําทวมขังหรือบริเวณริมฝงแมน้ําที่ดินมีลักษณะเปนดินเหนียว ดินเหนียว<br />

ปนทรายหรือดินทรายหยาบริมน้ํา ดินที่มีธาตุอาหารต่ําก็สามารถขึ้นและเจริญเติบโตได<br />

จึงทําใหบริเวณที่พบไมยราบยักษนั้นไมพบหรือพบพืชหรือสัตวตาง ๆ อยูนอยมาก<br />

34<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!