28.06.2014 Views

เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา

เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา

เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

การแพรระบาดของชนิดพันธุตางถิ่นนี้เปนการคุกคามที่สําคัญที่สุด เพราะชนิดพันธุ<br />

เหลานี้คุกคามระบบธรรมชาติและระบบการผลิต ซึ่งการแพรระบาดของชนิดพันธุ<br />

ตางถิ่นนั้นมีสาเหตุหลักมาจากมนุษยเปนผูนําเขาไปในสถานที่ตาง ๆ ดวยเหตุผล<br />

ตางกัน ทั้งตั้งใจและไมตั้งใจ นอกจากนั้นเกิดจากปรากฏการณธรรมชาติ เชน<br />

ลมพายุ กระแสน้ํา และการติดไปกับสัตวหรือพืชที่นําเขามาจากตางประเทศ การระบาด<br />

ของชนิดพันธุตางถิ่นที่รุกรานนั้นทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศอยางสิ้นเชิง<br />

เกิดการสูญพันธุของชนิดพันธุพื้นเมือง ซึ่งมักจะสงผลใหเกิดปญหาสําคัญทาง<br />

สิ่งแวดลอม เศรษฐกิจ สุขอนามัย และสังคม ที่ตองเสียคาใชจายนับลานดอลลาร<br />

สหรัฐและมีผลเสียหายรายแรงตอเศรษฐกิจของประเทศกําลังพัฒนา ตัวอยางของ<br />

ชนิดพันธุที่สหพันธเพื่อการอนุรักษแหงโลก (IUCN) ไดทําบัญชีรายชื่อไววาเปนหนึ่ง<br />

ในรอยชนิดพันธุตางถิ่นที่รายแรงของโลก เชน ผักตบชวา (Eichhornia crassipes)<br />

ไมยราบยักษ (giant sensitive plant) ผกากรอง (Lantana camera) หอยทากยักษ<br />

แอฟริกา (Achatina fulica) หอยเชอรรี่ (Pomacea canaliculata) เปนตน สําหรับ<br />

ประเทศไทยไดมีการจัดทําบัญชีรายชื่อชนิดพันธุตางถิ่นไวและมีชนิดพันธุตางถิ่นที่<br />

รุกรานแลว 82 ชนิด เชน ผักตบชวา ไมยราบยักษ บัวตอง (Tithonia diversifolia)<br />

มดคันไฟ (Solenopsis geminate) หอยเชอรี่ ปลาซักเกอร (Hypostomus plecostornus)<br />

ปลานิล (Oreochromis nilotcus) ตะพาบไตหวัน (Pilodiscus sinensis sinensis)<br />

และนกพิราบ (Columba livia) เปนตน และการนําเขาชนิดพันธุตางถิ่นทั้งพืชและสัตว<br />

ในประเทศไทยนั้นทํามาเปนเวลานานจนลืมแลววาเปนชนิดพันธุนําเขา ชนิดพันธุ<br />

และพันธุกรรมตางถิ่นที่นําเขามาเพื่อการเกษตรและการประมง เปนหัวใจในการ<br />

ผลิตและพัฒนาอาหารใหกับโลกโดยรวม เชน การนําปลาตางถิ่นเขามาทั้งเพื่อการ<br />

เลี้ยงเปนอาหารและปลาสวยงาม กรมประมงไดทําการเพาะพันธุปลาตางถิ่น<br />

ปลอยลงสูแหลงน้ํา อาทิ ปลานิล ปลายี่สก ปลาดุกยักษ ดวยวัตถุประสงคเพื่อเพิ่ม<br />

อาหารและรายไดใหแกชาวประมงและชาวบาน ปลาบางชนิดมีการเพาะเลี้ยงเปน<br />

เลมที่ <strong>33</strong> <strong>33</strong>

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!