เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา

เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา

sci.buu.ac.th
from sci.buu.ac.th More from this publisher
28.06.2014 Views

กลาวคือ โปรดเกลาฯ ใหพระบรมวงศานุวงศ และขาราชบริพาร ฝกหัดการ ถายภาพ และเปนที่ทราบกันดีวา จะมีการนําสมุดภาพทูลเกลาฯ ถวายเพื่อทอดพระเนตร และขอพระราชทานคําแนะนําอยูเสมอ ๆ ซึ่งมีพระมหากรุณาธิคุณพระราชทาน คําแนะนํา อยางผูที่มีความรูความชํานาญ ทั้งในภาคปฏิบัติ และเชี่ยวชาญในภาคทฤษฎี เปนอยางดี แมแตชาวตางชาติยังชื่นชมภาพฝพระหัตถดวยความปลาบปสื้ม 4. ทรงมีผลงานภาพถาย พระราชนิพนธ และขอพระราชวินิจฉัย ตลอดจน ทรงจดบันทึกเรื่องราวตาง ๆ ที่สอดคลองในวิชาการถายภาพ อันเปนมรดกที่ทรงคุณคา ทั้งในดานวิชาการ และประวัติศาสตรของชาติ กลาวคือ ทรงมีผลงาน ภาพฝพระหัตถ มากมาย ทั้งในประเทศและประเทศตางทุกประเทศที่ไดเสด็จประพาส พรอมทั้งทรง จดบันทึกขอคิดเห็น เกี่ยวกับกลองถายภาพ สถานที่ และ เหตุการณตางๆ ไว 5. ทรงสงเสริมการถายภาพใหเปนที่แพรหลาย เพื่อถายทอดวิชาความรูในการ พัฒนา จนเกิดความเจริญกาวหนามาจนทุกวันนี้ กลาวคือ ทรงสงเสริมใหพระบรมวงศา- นุวงศและขาราชบริพารฝกหัดการถายภาพดวย การซื้อกลองและพระราชทาน เพื่อจักไดนําไปถายภาพ ในป พ.ศ. 2448 ซึ่งถือเปนประวัติศาสตรการถายภาพของ ไทยคือ โปรดเกลาฯใหจัดการประกวดภาพถายเปนครั้งแรกของประเทศไทย โดยมี การประกาศแจงขาวการจัดประกวดการถายภาพ เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 2448 ซึ่งถือวา เปนวันเริ่มตนของการสงเสริมการถายภาพของไทยอยางสมบูรณ ตามแบบอยาง สากล 6. ในครั้งที่พระองคเสด็จประพาสยุโรป ไดฉายพระบรมรูปกับพระเจาซาร นิโคลัส ที่ 2 แหงรัสเซีย และภาพนั้นไดเผยแพรลงหนังสือพิมพทั่วยุโรป ดวยพระปรีชา สามารถในการดําเนินวิเทโศบายตางประเทศ ดานรักษาความมั่นคงของชาติ จากภาพคูที่ปรากฏในหนังสือพิมพครั้งนั้น ทําใหประเทศมหาอํานาจตะวันตกทั้งหลายประจักษชัดถึงความสัมพันธอันดีของ ประเทศสยามและรัสเซีย จึงไมกลาที่จะหักหาญกับประเทศสยาม เชนที่ทํากับ เลมที่ 33 27

ประเทศอื่น ๆ ในเอเซีย ทําใหประเทศสยามยังคงดํารงความเปนเอกราช อยูภายใต ประเทศเดียว จนเปนประเทศไทยทุกวันนี้ ทั้งนี้สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีไดแจงมติคณะรัฐมนตรี เรื่อง การถวาย พระราชสมัญญาแดพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ 5) ในฐานะ “พระบิดาแหงการถายภาพไทย” เพื่อเปนการเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ 5) แหลงอางอิง สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ทําเนียบรัฐบาล ที่ นร 0507/ว61 ลงวันที่ 17 เมษายน 2549. เรื่อง การเทิดพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ในฐานะพระบิดาแหงการถายภาพไทยและกําหนดวันนักถายภาพไทย เอนก นิวิกมูล. 2548. ประวัติการถายรูปยุคแรกของไทย สํานักพิมพสารคดี www.eppo.go.th/admin/cab/cab-2549-03-28.html#11 (วันที่คนขอมูล 10 กันยายน 2550) funscience.gistda.or.th/nearir/fatherofthaiphoto.html (วันที่คนขอมูล 10 กันยายน 2550) www.osknetwork.com/modules.php?name=News&file=article&sid=715 (วันที่คนขอมูล 10 กันยายน 2550) www.taklong.com/beginner/s-be.php?No=55027 (วันที่คนขอมูล 10 กันยายน 2550) 28 วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน

กลาวคือ โปรดเกลาฯ ใหพระบรมวงศานุวงศ และขาราชบริพาร ฝกหัดการ<br />

ถายภาพ และเปนที่ทราบกันดีวา จะมีการนําสมุดภาพทูลเกลาฯ ถวายเพื่อทอดพระเนตร<br />

และขอพระราชทานคําแนะนําอยูเสมอ ๆ ซึ่งมีพระมหากรุณาธิคุณพระราชทาน<br />

คําแนะนํา อยางผูที่มีความรูความชํานาญ ทั้งในภาคปฏิบัติ และเชี่ยวชาญในภาคทฤษฎี<br />

เปนอยางดี แมแตชาวตางชาติยังชื่นชมภาพฝพระหัตถดวยความปลาบปสื้ม<br />

4. ทรงมีผลงานภาพถาย พระราชนิพนธ และขอพระราชวินิจฉัย ตลอดจน<br />

ทรงจดบันทึกเรื่องราวตาง ๆ ที่สอดคลองในวิชาการถายภาพ อันเปนมรดกที่ทรงคุณคา<br />

ทั้งในดานวิชาการ และประวัติศาสตรของชาติ กลาวคือ ทรงมีผลงาน ภาพฝพระหัตถ<br />

มากมาย ทั้งในประเทศและประเทศตางทุกประเทศที่ไดเสด็จประพาส พรอมทั้งทรง<br />

จดบันทึกขอคิดเห็น เกี่ยวกับกลองถายภาพ สถานที่ และ เหตุการณตางๆ ไว<br />

5. ทรงสงเสริมการถายภาพใหเปนที่แพรหลาย เพื่อถายทอดวิชาความรูในการ<br />

พัฒนา จนเกิดความเจริญกาวหนามาจนทุกวันนี้ กลาวคือ ทรงสงเสริมใหพระบรมวงศา-<br />

นุวงศและขาราชบริพารฝกหัดการถายภาพดวย การซื้อกลองและพระราชทาน<br />

เพื่อจักไดนําไปถายภาพ ในป พ.ศ. 2448 ซึ่งถือเปนประวัติศาสตรการถายภาพของ<br />

ไทยคือ โปรดเกลาฯใหจัดการประกวดภาพถายเปนครั้งแรกของประเทศไทย โดยมี<br />

การประกาศแจงขาวการจัดประกวดการถายภาพ เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 2448 ซึ่งถือวา<br />

เปนวันเริ่มตนของการสงเสริมการถายภาพของไทยอยางสมบูรณ ตามแบบอยาง<br />

สากล<br />

6. ในครั้งที่พระองคเสด็จประพาสยุโรป ไดฉายพระบรมรูปกับพระเจาซาร<br />

นิโคลัส ที่ 2 แหงรัสเซีย และภาพนั้นไดเผยแพรลงหนังสือพิมพทั่วยุโรป ดวยพระปรีชา<br />

สามารถในการดําเนินวิเทโศบายตางประเทศ<br />

ดานรักษาความมั่นคงของชาติ จากภาพคูที่ปรากฏในหนังสือพิมพครั้งนั้น<br />

ทําใหประเทศมหาอํานาจตะวันตกทั้งหลายประจักษชัดถึงความสัมพันธอันดีของ<br />

ประเทศสยามและรัสเซีย จึงไมกลาที่จะหักหาญกับประเทศสยาม เชนที่ทํากับ<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 27

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!