เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา

เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา

sci.buu.ac.th
from sci.buu.ac.th More from this publisher
28.06.2014 Views

(สปชีส) สําหรับบานเราจากการสํารวจพบกิ้งกือประมาณ 100 ชนิด มักจะเห็น บอยครั้งตามถนนหนทาง ชายปา สวนครัว ปาละเมาะ เขาหินปูน กิ้งกือที่พบเห็น โดยทั่วไป เปนกิ้งกือตัวใหญ ทรงกระบอก หรือกิ้งกือหนอน มีลักษณะสีออกแดงๆ หรือสีน้ําตาล สําหรับกิ้งกือมังกรสีชมพูนั้น จัดอยูในวงศกิ้งกือมังกรหรือพาราดอกโซ โซมาติดี (Paradoxosomatidae) จุดเดนของกิ้งกือมังกรสีชมพูนี้มีความแตกตาง จากกิ้งกือชนิดอื่น ๆ โดยมีสีชมพูสดซึ่งเปนที่มาของชื่อ กิ้งกือมังกรสีชมพู มีปุมหนาม และขนรอบตัว ลักษณะโครงสรางหนาตาคลายมังกรในเทพนิยาย ที่สําคัญยังมี ระบบปองกันตัว โดยจะขับสารพิษประเภทไซยาไนดออกมาปองกันศัตรู แตไมสงผล กระทบตอมนุษย เพราะปริมาณสารพิษที่ออกมานอยมาก นอกจากนี้ ยังพบวามี พฤติกรรมที่ชอบออกหากินตอนกลางวัน ซึ่งเปนสาเหตุของการปรับตัวใหมีสีชมพู สดใส พบไดในปาที่มีความชุมชื้นสูงและอุดมสมบูรณ เมื่อโตเต็มวัยจะมีลําตัวยาว ประมาณ 7 ซม. มีจํานวนปลองราว 20-40 ปลอง และสามารถขับสารพิษประเภท ไซยาไนดออกมาจากตอมขับสารพิษขางลําตัวเพื่อปองกันตนเองจากศัตรูธรรมชาติ จําพวกสัตวเลี้ยงลูกดวยนมขนาดเล็ก เชน หนู สารพิษดังกลาวมีสีเหลือง เมื่อถูก อากาศจะเปลี่ยนเปนสีแดงและเขมในที่สุด มีกลิ่นเหม็นคลายน้ํายาทําความสะอาด หองน้ําตามโรงพยาบาล และหากมีปริมาณมาก ๆ ยอมกอใหเกิดอันตรายตอรางกาย ได อยางไรก็ตาม ศาสตราจารย ดร.สมศักดิ์ ปญหา เตือนวา แมสารไซยาไนดที่กิ้งกือ มังกรสีชมพูขับออกมามีปริมาณนอยเกินกวาที่จะเปนอันตรายตอคนได แตทางที่ดีก็ ควรปองกันไวกอนโดยไมไปแตะตองหากพบเห็นในธรรมชาติ กอนหนาการคนพบกิ้งกือมังกรสีชมพู นักวิจัยในโครงการวิจัยกิ้งกือและ ไสเดือนดิน เคยพบกิ้งกือชนิดใหมของโลกมาแลวหนึ่งชนิดคือกิ้งกือหินปูนใน จ.สระบุรี เมื่อป 2549 ซึ่งขณะนี้ก็กําลังศึกษาวิจัยการใชประโยชนจากกิ้งกือในการทําปุย อินทรียดวย คนทั่วไปมักไมคอยชอบและไมสนใจสิ่งมีชีวิตจําพวกกิ้งกือ และมีไม นอยที่สัตวเหลานี้ถูกคนสวนใหญเหยียบตายอยางไมใยดี เพราะไมมีคุณคาและ เลมที่ 33 23

ประโยชนแกพวกเขา อีกทั้งบางสวนยังเขาใจผิดวากิ้งกือกัดคนได แทที่จริงแลวไมมี กิ้งกือชนิดไหนที่กัดคนจนเปนอันตรายได กิ้งกือเปนสัตวที่มีประโยชนตอสิ่งแวดลอม อยางมาก ชวยทําใหดินอุดมสมบูรณไปดวยแรธาตุอาหารตาง ๆ ทําใหเกิดปุยอินทรีย ตามธรรมชาติ และมีความสําคัญอยางยิ่งในระบบนิเวศ ถือไดวาเปนสิ่งมีชีวิต พื้นฐานที่สรางความมั่นคงใหกับดิน น้ํา และระบบนิเวศ การคนพบกิ้งกือมังกร สีชมพูติดอันดับโลกในครั้งนี้ ไดสรางชื่อเสียงและความนาเชื่อถือใหกับประเทศไทย และแสดงใหเห็นถึงความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย ที่ยังอุดมสมบูรณ อยูอีกมาก แหลงอางอิง ผูจัดการออนไลน http://www.enn.co.th/news/146/ARTICLE/2534/2008-06-10.html Enghoff, H., C. Sutcharit & S. Panha. 2007. The shocking pink dragon millipede, Desmoxytes purpurosea, a colourful new species from Thailand (Diplopoda: Polydesmida: Paradoxosomatidae). Zootaxa 1563: 31-36. 24 วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน

(สปชีส) สําหรับบานเราจากการสํารวจพบกิ้งกือประมาณ 100 ชนิด มักจะเห็น<br />

บอยครั้งตามถนนหนทาง ชายปา สวนครัว ปาละเมาะ เขาหินปูน กิ้งกือที่พบเห็น<br />

โดยทั่วไป เปนกิ้งกือตัวใหญ ทรงกระบอก หรือกิ้งกือหนอน มีลักษณะสีออกแดงๆ<br />

หรือสีน้ําตาล สําหรับกิ้งกือมังกรสีชมพูนั้น จัดอยูในวงศกิ้งกือมังกรหรือพาราดอกโซ<br />

โซมาติดี (Paradoxosomatidae) จุดเดนของกิ้งกือมังกรสีชมพูนี้มีความแตกตาง<br />

จากกิ้งกือชนิดอื่น ๆ โดยมีสีชมพูสดซึ่งเปนที่มาของชื่อ กิ้งกือมังกรสีชมพู มีปุมหนาม<br />

และขนรอบตัว ลักษณะโครงสรางหนาตาคลายมังกรในเทพนิยาย ที่สําคัญยังมี<br />

ระบบปองกันตัว โดยจะขับสารพิษประเภทไซยาไนดออกมาปองกันศัตรู แตไมสงผล<br />

กระทบตอมนุษย เพราะปริมาณสารพิษที่ออกมานอยมาก นอกจากนี้ ยังพบวามี<br />

พฤติกรรมที่ชอบออกหากินตอนกลางวัน ซึ่งเปนสาเหตุของการปรับตัวใหมีสีชมพู<br />

สดใส พบไดในปาที่มีความชุมชื้นสูงและอุดมสมบูรณ เมื่อโตเต็มวัยจะมีลําตัวยาว<br />

ประมาณ 7 ซม. มีจํานวนปลองราว 20-40 ปลอง และสามารถขับสารพิษประเภท<br />

ไซยาไนดออกมาจากตอมขับสารพิษขางลําตัวเพื่อปองกันตนเองจากศัตรูธรรมชาติ<br />

จําพวกสัตวเลี้ยงลูกดวยนมขนาดเล็ก เชน หนู สารพิษดังกลาวมีสีเหลือง เมื่อถูก<br />

อากาศจะเปลี่ยนเปนสีแดงและเขมในที่สุด มีกลิ่นเหม็นคลายน้ํายาทําความสะอาด<br />

หองน้ําตามโรงพยาบาล และหากมีปริมาณมาก ๆ ยอมกอใหเกิดอันตรายตอรางกาย<br />

ได อยางไรก็ตาม ศาสตราจารย ดร.สมศักดิ์ ปญหา เตือนวา แมสารไซยาไนดที่กิ้งกือ<br />

มังกรสีชมพูขับออกมามีปริมาณนอยเกินกวาที่จะเปนอันตรายตอคนได แตทางที่ดีก็<br />

ควรปองกันไวกอนโดยไมไปแตะตองหากพบเห็นในธรรมชาติ<br />

กอนหนาการคนพบกิ้งกือมังกรสีชมพู นักวิจัยในโครงการวิจัยกิ้งกือและ<br />

ไสเดือนดิน เคยพบกิ้งกือชนิดใหมของโลกมาแลวหนึ่งชนิดคือกิ้งกือหินปูนใน จ.สระบุรี<br />

เมื่อป 2549 ซึ่งขณะนี้ก็กําลังศึกษาวิจัยการใชประโยชนจากกิ้งกือในการทําปุย<br />

อินทรียดวย คนทั่วไปมักไมคอยชอบและไมสนใจสิ่งมีชีวิตจําพวกกิ้งกือ และมีไม<br />

นอยที่สัตวเหลานี้ถูกคนสวนใหญเหยียบตายอยางไมใยดี เพราะไมมีคุณคาและ<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 23

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!