28.06.2014 Views

เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา

เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา

เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ภัณฑอาหารซึ่งผูบริโภคไมสามารถรับรูไดจากภายนอกมาแสดงใหผูบริโภครับรูถึง<br />

คุณภาพของผลิตภัณฑอาหารภายในโดยผานตัวชี้วัด ซึ่งวัสดุบรรจุนี้สามารถสราง<br />

ประโยชนใหแกผูบริโภค เชน ความสะดวก ความปลอดภัยอาหารและคุณภาพของ<br />

ผลิตภัณฑ ตัวอยางของวัสดุบรรจุแบบวินิจฉัย ไดแก ตัวชี้วัดเวลาและอุณหภูมิ<br />

ตัวชี้วัดกาซ ตัวชี้วัดชีวภาพ ตัวชี้วัดความพรอมในการบริโภค ตัวชี้วัดการสุกของ<br />

ผลไม และตัวชี้วัดการเนาเสียของอาหาร เปนตน หลักการทํางาน คือ ตัวชี้วัดจะอาศัย<br />

ขอมูลภายในบรรจุภัณฑ เชน สารเมตาบอไลท ไดแก กาซชนิดตาง ๆ (คารบอนไดออกไซด<br />

ซัลเฟอรไดออกไซด แอมโมเนีย) กรดอินทรีย แอลกอฮอล หรือเอมีน เปนตน ซึ่งเปน<br />

สารที่เกิดจากการเจริญเติบโตของจุลินทรียในอาหาร ตัวอยางตัวชี้วัดการเนาเสีย<br />

ของอาหารทางการคา เชน สารประกอบเชิงซอนกลุมโครโมฟอรหรือกลุมแพลทตินัม<br />

เมทัลฟลูออโรฟอร ใสเขาไปในแถบตัวชี้วัด เมื่อมีกาซที่เกิดจากการเนาเสียของ<br />

อาหารที่ประกอบดวยธาตุกํามะถันหรือไนโตรเจน สารประกอบดังกลาวจะเปลี่ยนสี<br />

ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกลาวจะไมผันกลับ ตัวชี้วัดการเนาเสียของอาหารสามารถ<br />

นํามาประยุกตใชกับอาหารที่ผานกระบวนการแปรรูปขั้นต่ํา อาหารกลุมเนื้อสัตวสด<br />

จําพวกเนื้อวัว เนื้อหมู เนื้อไก อาหารทะเล ขนมอบ ผักและผลไมตัดแตง เปนตน ซึ่ง<br />

ตัวชี้วัดการเนาเสียของอาหารนี้เองจะเปนเครื่องมือสําหรับผูบริโภคเพื่อใชในการ<br />

ตัดสินใจวาควรจะซื้อบริโภคหรือไม และสําหรับผูผลิตสามารถใชในการควบคุม<br />

คุณภาพหลังการผลิต และระหวางการจําหนายได<br />

นอกจากการพัฒนาบรรจุภัณฑที่สอดคลองกับความตองการและพฤติกรรม<br />

ของผูบริโภคแลว ยังตองสอดคลองกับกฎระเบียบและมาตรฐาน โดยเฉพาะในประเด็น<br />

เกี่ยวกับสิ่งแวดลอม ซึ่งปจจุบันทุกประเทศตางใหความสําคัญ และประกาศเปน<br />

ขอกําหนดสําหรับบรรจุภัณฑดวย เชน บรรจุภัณฑตองประกอบขึ้นจากวัสดุที่ผาน<br />

การทดสอบแลววาปลอดภัย เหมาะแกการใชซ้ําและการรีไซเคิล การเผาคืนพลังงาน<br />

หรือการหมักเปนปุย และเมื่อบรรจุภัณฑถูกนํามาทิ้ง บรรจุภัณฑนั้นควรมีผลกระทบ<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 7

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!