เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา

เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา

sci.buu.ac.th
from sci.buu.ac.th More from this publisher
28.06.2014 Views

โอโซนสามารถกําจัดยาฆาแมลงและสารเคมีที่ตกคางได เชน สารตกคางที่เกิดจาก คลอรีน เปนตน นอกจากนี้โอโซนสามารถใชเปนสารทําความสะอาดในสถานที่เก็บ อาหารได หรือใชเปนสารทําความสะอาดในระหวางการขนสงเพื่อปองกันแบคทีเรีย รา ยีสตที่ผิวของผลิตภัณฑ เราสามารถใชโอโซนกําจัดรสชาติที่ไมพึงประสงคอันเกิด จากแบคทีเรีย และยังสามารถกําจัดแกสเอทีลีนเพื่อยืดอายุการสุกของผลไมได แต โอโซนก็ไมใชพระเอกตลอดกาล เพราะเปนตัวออกซิไดซอยางแรงที่สามารถทําลาย กรดไขมันอิ่มตัว เชน กรดโอเลอิก ใหกลายเปนอัลดีไฮด และกรดอื่น ๆ ปฏิกิริยานี้มัก เกิดที่ไขมันของเยื่อหุมเซลล ทําใหเยื่อหุมเซลลเสียสภาพไป เซลลอาจตายหรือกลาย พันธุได นาน ๆ เขาอาจเปนมะเร็งได ดังนั้นการเลือกใชโอโซนในการถนอมอาหารจึง ไมควรใชในปริมาณที่มากเกินไป แหลงอางอิง กรมอุตุนิยมวิทยา. 2550. โอโซน. เขาถึงไดจาก. http://ozone.tmd.go.th/pub/20% 20Q&A%20about%20the%20O3%20layer%202006%20update.pdf . วันที่ 18 มิ.ย. 2553 สํานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ. 2545. ภาวะมลพิษ ภัยใกลตัว. กรุงเทพฯ. 38 หนา. อมร ศิลาสุวรรณ. 2546. การใชโอโซน เพื่อยืดอายุการเก็บรักษา ผักและผลไม. วารสารสถาบันอาหาร. 5(28), 59-61. Charles D. S, Dee M. G., Rip G. R and Jurgen H. S. 2002. Studies on the Use of Ozone in Production Agriculture and Food Processing. Proceedings of the International Ozone Association 2002. เลมที่ 33 185

เบาหวาน...ไมหวานอยางที่คิด สุบัณฑิต นิ่มรัตน สวัสดีคะ ทานผูฟงทุกทาน วันนี้ดิฉันมีความรูเกี่ยวกับโรค ๆ หนึ่งมาฝาก กันคะ นั่นก็คือ โรคเบาหวานนั่นเองคะ ทานผูฟงบางทานอาจจะไมทราบวา โรคเบาหวานคืออะไร มีความสําคัญอยางไร กอนอื่นเรามาทําความรูจักกับโรคนี้กอนนะคะ โรคเบาหวาน เปนโรคที่ ผูคนสวนใหญรูจักกันพอควร แตผูปวยสวนใหญยังไมทราบ ความสําคัญของการ รักษาโรคนี้นัก เพราะพวกเราแคทราบวา โรคเบาหวาน เปนโรคที่มีระดับน้ําตาลใน เลือดสูงแตในความเปนจริงแลวเปนโรครายที่หากไมไดรับดูแลอยางดีแลว จะเกิด ผลเสียตามมามากมายคะ แพทยโรคหัวใจและแพทยโรคไต ทราบดี เพราะผูปวย โรคหัวใจและไตวายเรื้อรังสวนใหญนั้นจะเปนเบาหวานดวย นพ.ระพีพล กุญชร ณ อยุธยา อายุรแพทยโรคหัวใจ โรงพยาบาลวิชัยยุทธ กลาววาโรคเบาหวานเปน ความผิดปกติ เนื่องจากรางกายไมสามารถนําน้ําตาลในรางกาย ไปใชไดอยางเต็มที่ เนื่องจากขาดฮอรโมนอินซูลินหรือไมขาดฮอรโมนอินซูลิน แตรางกายไมตอบสนอง ตอฮอรโมนตัวนี้ ผลที่ตามมาคือ ระดับน้ําตาลในเลือดสูงกวาปกตินั้นเองซึ่งปจจุบัน หากระดับน้ําตาล ในเลือดที่เจาะหลังงดอาหาร 6 ชั่วโมงแลว ยังสูงกวา 126 มิลลิกรัม ตอเดซิลิตร เราก็เรียกไดวาเปน โรคเบาหวาน ไดแลวคะ นอกจากผูปวยโรคเบาหวานควรจะวิตกกับสภาวะตาง ๆ ของโรคนี้แลว ผูปวยเสี่ยงตอโรคแทรกซอนตอสวนตาง ๆ ไดอีกดวยคะ เชน ตา อาจเปนตอกระจก 186 วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน

โอโซนสามารถกําจัดยาฆาแมลงและสารเคมีที่ตกคางได เชน สารตกคางที่เกิดจาก<br />

คลอรีน เปนตน นอกจากนี้โอโซนสามารถใชเปนสารทําความสะอาดในสถานที่เก็บ<br />

อาหารได หรือใชเปนสารทําความสะอาดในระหวางการขนสงเพื่อปองกันแบคทีเรีย<br />

รา ยีสตที่ผิวของผลิตภัณฑ เราสามารถใชโอโซนกําจัดรสชาติที่ไมพึงประสงคอันเกิด<br />

จากแบคทีเรีย และยังสามารถกําจัดแกสเอทีลีนเพื่อยืดอายุการสุกของผลไมได แต<br />

โอโซนก็ไมใชพระเอกตลอดกาล เพราะเปนตัวออกซิไดซอยางแรงที่สามารถทําลาย<br />

กรดไขมันอิ่มตัว เชน กรดโอเลอิก ใหกลายเปนอัลดีไฮด และกรดอื่น ๆ ปฏิกิริยานี้มัก<br />

เกิดที่ไขมันของเยื่อหุมเซลล ทําใหเยื่อหุมเซลลเสียสภาพไป เซลลอาจตายหรือกลาย<br />

พันธุได นาน ๆ เขาอาจเปนมะเร็งได ดังนั้นการเลือกใชโอโซนในการถนอมอาหารจึง<br />

ไมควรใชในปริมาณที่มากเกินไป<br />

แหลงอางอิง<br />

กรมอุตุนิยมวิทยา. 2550. โอโซน. เขาถึงไดจาก. http://ozone.tmd.go.th/pub/20%<br />

20Q&A%20about%20the%20O3%20layer%202006%20update.pdf<br />

. วันที่ 18 มิ.ย. <strong>2553</strong><br />

สํานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ. 2545. ภาวะมลพิษ ภัยใกลตัว. กรุงเทพฯ.<br />

38 หนา.<br />

อมร ศิลาสุวรรณ. 2546. การใชโอโซน เพื่อยืดอายุการเก็บรักษา ผักและผลไม.<br />

วารสารสถาบันอาหาร. 5(28), 59-61.<br />

Charles D. S, Dee M. G., Rip G. R and Jurgen H. S. 2002. Studies on the Use of<br />

Ozone in Production Agriculture and Food Processing. Proceedings of<br />

the International Ozone Association 2002.<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 185

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!