28.06.2014 Views

เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา

เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา

เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

บรรจุภัณฑอาหารในอนาคต<br />

สวามินี ธีระวุฒิ<br />

การเก็บอาหารไวสําหรับการบริโภคในระยะยาวไดมีมาตั้งแตยุคดึกดํา<br />

บรรพ โดยมนุษยเริ่มใชภาชนะที่ทําจากวัสดุธรรมชาติ เชน ใบไม กะลา หนังสัตว<br />

และดิน ตอมาไดวิวัฒนาการมาเปนภาชนะประเภทเครื่องปนดินเผา ถังไม เซรามิค<br />

แกว โลหะ เรื่อยมาจนถึงวัสดุสังเคราะหหลายหลากชนิด เชน พลาสติก เนื่องจาก<br />

กระบวนการผลิตสามารถผลิตไดครั้งละมาก ๆ ราคาตนทุนตอหนวยต่ํา และ<br />

สามารถกันความชื้นได แตอยางไรก็ตามในยุคปจจุบันหนาที่ของบรรจุภัณฑมีความ<br />

หลากหลายมากขึ้น ไดแก 1. เปนภาชนะบรรจุสําหรับผลิตภัณฑตาง ๆ 2. ถนอมและ<br />

ปองกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นตอผลิตภัณฑ 3. ชวยใหการนําผลิตภัณฑมาใชได<br />

อยางสะดวก 4. เปนสื่อกลางในการใหขอมูลสําคัญแกผูบริโภคและเพื่อการตลาด<br />

และ 5. คือบรรจุภัณฑตองมีรูปแบบและคุณสมบัติเหมาะสมในการผลิตดวย<br />

เครื่องจักร<br />

ปจจุบันพัฒนาการของบรรจุภัณฑไดเปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็วสืบเนื่อง<br />

จากอิทธิพลของความตองการของมนุษยในยุคที่ตองแขงขันกับเวลา คนสวนใหญไม<br />

มีเวลาที่จะมาปรุงแตงอาหารหรือพิถีพิถันกับการบริโภค ดังนั้นอาหารจานดวน<br />

อาหารแชแข็ง จึงเปนที่นิยมอยางมาก เพียงนําเขาเครื่องไมโครเวฟ 1-2 นาที ก็สามารถ<br />

รับประทานได ซึ่งจากคานิยมดังกลาวนี้เอง ทําใหอุตสาหกรรมอาหารเติบโตอยาง<br />

รวดเร็ว การแขงขันนอกจากจะขึ้นอยูกับรสชาติของอาหารแลวยังขึ้นอยูกับรูปลักษณ<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 5

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!