เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา

เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา

sci.buu.ac.th
from sci.buu.ac.th More from this publisher
28.06.2014 Views

19 ตุลาคม : วันเทคโนโลยีของไทย กรองจันทร รัตนประดิษฐ ดวยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ทรงเปน นักปกครอง และทรงมีอัจฉริยภาพทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จนเปนที่ ประจักษไปทั่วโลก ดวยเหตุนี้ประเทศไทยจึงใหความสําคัญกับการพัฒนาวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีและไดกําหนด ใหวันที่ 19 ตุลาคม เปนวันเทคโนโลยีของไทย เนื่องจาก เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ.2515 หรือเมื่อ 36 ปที่แลว พระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัวฯ ไดทรงอํานวยการสาธิตฝนเทียมสูตรใหมครั้งแรกของโลกดวย พระองคเอง ณ เขื่อนแกงกระจาน จังหวัดเพชรบุรี และทรงพระปรีชาสามารถบังคับ ใหฝนตกลงตรงเปาหมาย การสาธิตฝนเทียมครั้งนั้น ถือเปนตนกําเนิดเทคโนโลยี ฝนหลวงที่พัฒนาเปนการทําฝนเทียมมาถึงปจจุบัน และเพื่อจารึกไวเปนเหตุการณ สําคัญทางประวัติศาสตรของชาติไทย ในวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ.2543 คณะรัฐบาล จึงมีมติใหเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงเปน"พระบิดาแหง เทคโนโลยีของไทย" และกําหนดใหวันที่ 19 ตุลาคมของทุกปเปน "วันเทคโนโลยี ของไทย" เพื่อเปนการแสดงความจงรักภักดีและรําลึกในพระมหากรุณาธิคุณของ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวที่ทรงมีตอพสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอด ที่ไดทรง ศึกษาคนควา วิจัยและทรงนําเทคโนโลยีสมัยใหมมาประยุกตใช เพื่อแกไขปญหา ความเดือดรอนของประชาชน และเปนการแสดงเทคโนโลยีที่คิดคนประดิษฐและ พัฒนาโดยคนไทย เพื่อเปนการกระตุนใหสาธารณชนเกิดความเชื่อมั่นและเขารวม เลมที่ 33 1

พัฒนาเทคโนโลยีของไทย ดวยทรงเห็นวาประเทศไทยประสบปญหาความแหงแลง มาเปนเวลานาน พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ จึงทรงริเริ่มโครงการพระราชดําริ ฝนหลวง หรือฝนเทียมขึ้น โดยใชกรรมวิธีการสรางฝนจริง ๆ อาศัยไอน้ําที่อยูใน บรรยากาศ คือ กอนเมฆซึ่งในหนาแลงมักจะลอยผานพื้นที่แหงแลงไป โดยไมกลายเปน น้ําฝน และใชเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร รวมทั้งการบิน เปนเครื่องมือสรางความ เปลี่ยนแปลงในธรรมชาติ ทําใหกอนเมฆโตขึ้น และสรางสถานการณที่ทําใหเกิด แรงลมชวยลดระดับของกอนเมฆที่โตขึ้น จนกลั่นตัวเปนหยดน้ําฝน ตกลงในพื้นที่ เปาหมายไดสําเร็จ โครงการพระราชดําริฝนหลวง เปนโครงการที่กอกําเนิดจากพระมหา กรุณาธิคุณ ที่ทรงหวงใยในความทุกขยากของพสกนิกรในทองถิ่นทุรกันดาร ที่ตอง ประสบปญหาขาดแคลนน้ํา เพื่ออุปโภคบริโภค และเกษตรกรรม อันเนื่องมาจาก ภาวะแหงแลง นอกจากนี้พระองคยังทรงเปนนักประดิษฐและนักวิทยาศาสตร ทรงพัฒนาโครงการตาง ๆ ดวยพระอัจฉริยภาพและพระปรีชาสามารถดานเทคโนโลยี โดยทรงคนคิด ทดลอง ดัดแปลง ปรับปรุง และแกไข ทั้งแนวคิดและแนวปฏิบัติ จนสัมฤทธิ์ผลในทางปฏิบัติ ดวยพระอัจฉริยภาพและพระปรีชาสามารถดังกลาว ไดกอเกิดเปนนวัตกรรมเปนจํานวนมาก ดังจะเห็นไดจากโครงการในพระราชดําริ และที่เปนสิ่งประดิษฐตาง ๆ หลายดาน ตัวอยางเชน การออกแบบสายอากาศ เพื่อใชกับวิทยุสื่อสารใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เกษตรทฤษฎีใหม เปนการบริหารจัดการที่ดินเพื่อเกษตรกร ใหมีสภาพการ ใชงานที่สรางความยั่งยืนมากกวาการทําการเกษตร โดยไมมีการแบงสวนของที่ดิน เพื่อใชทําหนาที่เปนแหลงน้ํา และเพาะพันธุสัตวน้ํา ควบคูไปกับการเพาะปลูก เปน ตน ฯลฯ โครงการ "แกลงดิน" โดยทรงพบวา ดินพรุเปนดินเปรี้ยวจัด ไมสามารถใช ประโยชนได จึงมี พระราชดําริวาควรแกลงทําใหดินเปรี้ยวจนถึงที่สุดแลวทํา"วิศวกรรม 2 วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน

พัฒนาเทคโนโลยีของไทย ดวยทรงเห็นวาประเทศไทยประสบปญหาความแหงแลง<br />

มาเปนเวลานาน พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ จึงทรงริเริ่มโครงการพระราชดําริ<br />

ฝนหลวง หรือฝนเทียมขึ้น โดยใชกรรมวิธีการสรางฝนจริง ๆ อาศัยไอน้ําที่อยูใน<br />

บรรยากาศ คือ กอนเมฆซึ่งในหนาแลงมักจะลอยผานพื้นที่แหงแลงไป โดยไมกลายเปน<br />

น้ําฝน และใชเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร รวมทั้งการบิน เปนเครื่องมือสรางความ<br />

เปลี่ยนแปลงในธรรมชาติ ทําใหกอนเมฆโตขึ้น และสรางสถานการณที่ทําใหเกิด<br />

แรงลมชวยลดระดับของกอนเมฆที่โตขึ้น จนกลั่นตัวเปนหยดน้ําฝน ตกลงในพื้นที่<br />

เปาหมายไดสําเร็จ<br />

โครงการพระราชดําริฝนหลวง เปนโครงการที่กอกําเนิดจากพระมหา<br />

กรุณาธิคุณ ที่ทรงหวงใยในความทุกขยากของพสกนิกรในทองถิ่นทุรกันดาร ที่ตอง<br />

ประสบปญหาขาดแคลนน้ํา เพื่ออุปโภคบริโภค และเกษตรกรรม อันเนื่องมาจาก<br />

ภาวะแหงแลง นอกจากนี้พระองคยังทรงเปนนักประดิษฐและนักวิทยาศาสตร<br />

ทรงพัฒนาโครงการตาง ๆ ดวยพระอัจฉริยภาพและพระปรีชาสามารถดานเทคโนโลยี<br />

โดยทรงคนคิด ทดลอง ดัดแปลง ปรับปรุง และแกไข ทั้งแนวคิดและแนวปฏิบัติ<br />

จนสัมฤทธิ์ผลในทางปฏิบัติ ดวยพระอัจฉริยภาพและพระปรีชาสามารถดังกลาว<br />

ไดกอเกิดเปนนวัตกรรมเปนจํานวนมาก ดังจะเห็นไดจากโครงการในพระราชดําริ<br />

และที่เปนสิ่งประดิษฐตาง ๆ หลายดาน ตัวอยางเชน<br />

การออกแบบสายอากาศ เพื่อใชกับวิทยุสื่อสารใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น<br />

เกษตรทฤษฎีใหม เปนการบริหารจัดการที่ดินเพื่อเกษตรกร ใหมีสภาพการ<br />

ใชงานที่สรางความยั่งยืนมากกวาการทําการเกษตร โดยไมมีการแบงสวนของที่ดิน<br />

เพื่อใชทําหนาที่เปนแหลงน้ํา และเพาะพันธุสัตวน้ํา ควบคูไปกับการเพาะปลูก เปน<br />

ตน ฯลฯ<br />

โครงการ "แกลงดิน" โดยทรงพบวา ดินพรุเปนดินเปรี้ยวจัด ไมสามารถใช<br />

ประโยชนได จึงมี พระราชดําริวาควรแกลงทําใหดินเปรี้ยวจนถึงที่สุดแลวทํา"วิศวกรรม<br />

2<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!