เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา

เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา

sci.buu.ac.th
from sci.buu.ac.th More from this publisher
28.06.2014 Views

น้ํามันรั่ว...เคราะหรายลงทะเล สวามินี ธีระวุฒิ เหตุระเบิดที่แทนขุดเจาะน้ํามันของบริษัทบริติช ปโตรเลียม หรือ บีพี ซึ่ง เปนตนเหตุที่ทําใหน้ํามันรั่วไหลออกมาเปนจํานวนมากในอาวเม็กซิโกตั้งแตเมื่อวันที่ 20 เม.ย.ที่ผานมา นับเปนหายนะตอระบบนิเวศทางทะเลบริเวณอาวเม็กซิโกของ สหรัฐ รวมถึงอุตสาหกรรมประมงในพื้นที่เปนอยางมาก ปริมาณน้ํามันที่รั่วไหล ออกมาที่มากถึง 24- 47 ลานแกลลอนนั้นสงผลกระทบตอสภาพแวดลอมและสัตวที่ อาศัยอยูในทะเลอยางรุนแรง ภาพรางไรวิญญาณของนกที่ถูกคราบน้ํามันดิบปก คลุมขน เชนเดียวกับรางของโลมาที่พบบนชายหาดนั้น เปรียบเสมือนฝนราย วิกฤติ น้ํามันรั่วนี้ยังสรางความเสียหายเปนวงกวางตออุตสาหกรรมอาหารทะเลอีกดวย เพราะคราบน้ําจะทําใหสัตวน้ําที่โตเต็มวัยตาย เนื่องจากระดับความเปนพิษในน้ํามี สูง เปนพิษตอรางกายโดยไหลเขาทางปาก น้ํามันสามารถปนเปอนเหงือกปลา ซึ่ง นําไปสูการขาดอากาศหายใจ มลพิษที่กนทะเลทําลายแหลงวางไขของสัตวน้ํา และ แมวาบางพื้นที่จะมีความเขมขนของพิษในระดับต่ํา แตการที่ในนานน้ํามีทั้งน้ํามัน และสารขจัดคราบน้ํามันในปริมาณมากและยังผสมผสานเขาดวยกันอีกนั้น เรียกได วาเปนสิ่งแวดลอมที่ไมพึงประสงคเปนอยางยิ่งสําหรับสิ่งมีชีวิตชีวิตในโลกใตทะเล ไมวาจะเปนพืชหรือสัตวก็ตาม ซึ่งสาเหตุในการเกิดน้ํามันรั่วนั้นใชวาจะเกิดจากมนุษย เชน จากการขุดเจาะ น้ํามันหรือจากอุบัติเหตุในทะเลเพียงสาเหตุเดียว แตยังสามารถเกิดไดจากธรรมชาติ เลมที่ 33 151

เชน การรั่วจากแหลงน้ํามันใตดินไดอีกดวย การเกิดน้ํามันรั่วในแตละครั้งจะมี ลักษณะแตกตางกันไปขึ้นอยูกับปจจัยหลายประการ ไมวาจะเปนแหลงที่เกิด สภาพ ภูมิประเทศ ระยะหางจากฝง สภาพแวดลอมบริเวณนั้น ระดับความลึกของน้ํา ภาวะ คลื่นลม น้ําขึ้นน้ําลง ความเร็วและทิศทางลม อุณหภูมิ ปริมาณและชนิดของน้ํามันที่ รั่ว ระยะเวลาที่รั่ว ปริมาณวัตถุที่ลอยน้ําบริเวณนั้น เชน เชือก ขยะหรือสาหราย แต ไมวาน้ํามันรั่วนั้นจะเกิดจากสาเหตุใดก็ตาม เปนสิ่งที่เราไมตองการ แตหากเกิดขึ้น แลว วิธีจัดการกับคราบน้ํามันเหลานี้นั้น สามารถทําได 3 วิธีดวยกัน คือ วิธีที่ 1ใชทุน กางลอมน้ํามันไมใหกระจายตัวออกไป แลวใชเครื่องดูดดูดน้ํามันขึ้นมา นับเปน วิธีการที่ดีที่สุด เนื่องจากไมสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม แตก็มีขอจํากัดเพราะหาก คลื่นลมแรงจะทําใหการวางทุนกักน้ํามันและการติดตั้งเครื่องดูดนน้ํามันเปนไปดวย ความยากลําบาก วิธีที่ 2 การเติมสารเคมีที่เรียกวา ดิสเพอรแซน (Dispersant) เพื่อ ทําใหน้ํามันไมจับตัว แตเกิดการกระจายออกเปนอนุภาคขนาดเล็ก ซึ่งโดยปกติเมื่อ น้ํามันรั่วไหลลงสูทะเล จะสามารถถูกยอยสลายไดดวยกระบวนการทางธรรมชาติอยู แลว แตตองใชเวลานาน ดังนั้น วิธีการนี้จึงเปนการเรงใหเกิดการยอยสลายทาง ธรรมชาติในเวลาสั้นลง อยางไรก็ตามขอจํากัดของวิธีนี้คือ ประสิทธิภาพการกําจัด น้ํามันจะดีหากเปนน้ํามันที่เพิ่งจะรั่วลงไปในทะเล เพราะหากเกิดการรั่วมานานแลว สารเคมีจะไมสามารถทําใหน้ํามันกระจายตัวไดมากนักเนื่องจากน้ํามันจะเหลือ เฉพาะสวนประกอบที่หนัก ขณะที่สวนประกอบที่เบาจําพวกสารประกอบอินทรีย ระเหยงายตาง ๆ เชน เบนซิน โทลูอีน เอธิลเบนซีน และไซลีน ซึ่งกอใหเกิดการระคาย เคืองชั่วคราวบริเวณตา จมูก คอและผิวหนังไดนั้น จะระเหยไปกอนหนานี้แลว อีกทั้ง ยังตองคํานึงถึงดวยวา การไหลเวียนของน้ําทะเลบริเวณนั้นมีมากนอยเพียงใด หาก การไหลเวียนของน้ํามีนอย อาจสงผลกระทบตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอมได นอกจากนี้ การหายใจรับไอของสารหรือการสัมผัสบิวท็อกซีเอทานอลที่มีในสารเคมี กําจัดน้ํามันมากเกินไป อาจสงผลตอระบบประสาทสวนกลาง เกิดอาการคลื่นไส 152 วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน

เชน การรั่วจากแหลงน้ํามันใตดินไดอีกดวย การเกิดน้ํามันรั่วในแตละครั้งจะมี<br />

ลักษณะแตกตางกันไปขึ้นอยูกับปจจัยหลายประการ ไมวาจะเปนแหลงที่เกิด สภาพ<br />

ภูมิประเทศ ระยะหางจากฝง สภาพแวดลอมบริเวณนั้น ระดับความลึกของน้ํา ภาวะ<br />

คลื่นลม น้ําขึ้นน้ําลง ความเร็วและทิศทางลม อุณหภูมิ ปริมาณและชนิดของน้ํามันที่<br />

รั่ว ระยะเวลาที่รั่ว ปริมาณวัตถุที่ลอยน้ําบริเวณนั้น เชน เชือก ขยะหรือสาหราย แต<br />

ไมวาน้ํามันรั่วนั้นจะเกิดจากสาเหตุใดก็ตาม เปนสิ่งที่เราไมตองการ แตหากเกิดขึ้น<br />

แลว วิธีจัดการกับคราบน้ํามันเหลานี้นั้น สามารถทําได 3 วิธีดวยกัน คือ วิธีที่ 1ใชทุน<br />

กางลอมน้ํามันไมใหกระจายตัวออกไป แลวใชเครื่องดูดดูดน้ํามันขึ้นมา นับเปน<br />

วิธีการที่ดีที่สุด เนื่องจากไมสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม แตก็มีขอจํากัดเพราะหาก<br />

คลื่นลมแรงจะทําใหการวางทุนกักน้ํามันและการติดตั้งเครื่องดูดนน้ํามันเปนไปดวย<br />

ความยากลําบาก วิธีที่ 2 การเติมสารเคมีที่เรียกวา ดิสเพอรแซน (Dispersant) เพื่อ<br />

ทําใหน้ํามันไมจับตัว แตเกิดการกระจายออกเปนอนุภาคขนาดเล็ก ซึ่งโดยปกติเมื่อ<br />

น้ํามันรั่วไหลลงสูทะเล จะสามารถถูกยอยสลายไดดวยกระบวนการทางธรรมชาติอยู<br />

แลว แตตองใชเวลานาน ดังนั้น วิธีการนี้จึงเปนการเรงใหเกิดการยอยสลายทาง<br />

ธรรมชาติในเวลาสั้นลง อยางไรก็ตามขอจํากัดของวิธีนี้คือ ประสิทธิภาพการกําจัด<br />

น้ํามันจะดีหากเปนน้ํามันที่เพิ่งจะรั่วลงไปในทะเล เพราะหากเกิดการรั่วมานานแลว<br />

สารเคมีจะไมสามารถทําใหน้ํามันกระจายตัวไดมากนักเนื่องจากน้ํามันจะเหลือ<br />

เฉพาะสวนประกอบที่หนัก ขณะที่สวนประกอบที่เบาจําพวกสารประกอบอินทรีย<br />

ระเหยงายตาง ๆ เชน เบนซิน โทลูอีน เอธิลเบนซีน และไซลีน ซึ่งกอใหเกิดการระคาย<br />

เคืองชั่วคราวบริเวณตา จมูก คอและผิวหนังไดนั้น จะระเหยไปกอนหนานี้แลว อีกทั้ง<br />

ยังตองคํานึงถึงดวยวา การไหลเวียนของน้ําทะเลบริเวณนั้นมีมากนอยเพียงใด หาก<br />

การไหลเวียนของน้ํามีนอย อาจสงผลกระทบตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอมได<br />

นอกจากนี้ การหายใจรับไอของสารหรือการสัมผัสบิวท็อกซีเอทานอลที่มีในสารเคมี<br />

กําจัดน้ํามันมากเกินไป อาจสงผลตอระบบประสาทสวนกลาง เกิดอาการคลื่นไส<br />

152<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!