28.06.2014 Views

เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา

เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา

เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

อาหารและการปวดประจําเดือน<br />

สุบัณฑิต นิ่มรัตน<br />

สวัสดีคะทานผูฟง ในวันนี้เราก็กลับมาพบกันอีกครั้งพรอมกับเรื่องราวที่<br />

นาสนใจอีกเชนเคย สําหรับวันนี้เรื่องนารูที่ดิฉันนํามาฝากเปนเรื่องราวใกลตัวและ<br />

เปนปญหาที่พบไดบอยในผูหญิงสวนใหญ นั่นก็คือปญหาปวดประจําเดือน ในวันนี้<br />

ดิฉันจึงนําวิธีปองกันและวิธีการแกปญหาการปวดประจําเดือนโดยไมตองทานยามา<br />

เลาใหฟงคะ<br />

ผูหญิงโดยสวนใหญมักจะมีอาการบางอยางแสดงออกเมื่อใกลจะมี<br />

ประจําเดือน ซึ่งในผูหญิงแตละคนหรือในแตละเดือนอาการตาง ๆ ที่เกิดขึ้นอาจ<br />

แตกตางกันไป เชน บางรายอาจรูสึกหงุดหงิด หิวบอย หรือมีอาการเจ็บหลัง เปนตน<br />

อาการตาง ๆ เหลานี้ เรียกวา พีเอ็มเอส (PMS) ยอมาจาก Premenstrual syndrome เปน<br />

อาการของผูหญิงกอนจะมีประจําเดือน อาการที่พบบอย ๆ ไดแกอาการปวดหัว<br />

หงุดหงิด อารมณแปรปรวน อารมณที่มีความสุขอาจจะแปรเปลี่ยนเปนเศรากลับไป<br />

กลับมาไดในเวลาไมกี่นาที บวมน้ํา เจ็บคัดเตานม รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงทางดาน<br />

อาหารการกิน โดยผูหญิงที่มีอาการพีเอ็มเอสมักมีนิสัยการบริโภคที่ผิด ๆ เชน ชอบ<br />

กินอาหารหวาน ๆ และกินแปงมาก มีผลทําใหไดรับวิตามินและแรธาตุนอยลง เชน<br />

ธาตุเหล็ก แมงกานีสและสังกะสี ซึ่งเปนแรธาตุที่เปนประโยชน ซึ่งการเสริมวิตามิน<br />

แรธาตุรวมวันละเม็ดอาจชวยลดอาการพีเอ็มเอสในหญิงเหลานั้นได และหากรูจัก<br />

เอาใจใสในการบริโภคและเลือกรับประทานอาหารใหไดโภชนาการ โดยเฉพาะ<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 145

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!