เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา

เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา

sci.buu.ac.th
from sci.buu.ac.th More from this publisher
28.06.2014 Views

กรุงไนโรบี ประเทศสาธารณรัฐเคนยา ตอมาอนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทาง ชีวภาพไดถูกนําเสนอตอที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติวาดวยสิ่งแวดลอมและ การพัฒนา (The United Nations Conference on Environment Development : UNCED) หรือการประชุมสุดยอด (The Earth Summit) ที่กรุงริโอเดอเจนาโร ประเทศสหพันธ สาธารณรัฐบราซิล ระหวางวันที่ 3 - 14 มิถุนายน ค.ศ. 1992 เพื่อใหที่ประชุมดังกลาว ไดมีการพิจารณารวมลงนามและรับรองอยางเปนทางการ ซึ่งขณะนั้นมีประเทศที่ได รวมลงนามและรับรองทั้งสิ้น 157 ประเทศโดยคณะผูแทนไทยที่เขารวมประชุม ในครั้งนั้นประกอบดวยสมเด็จพระเจาลูกเธอ เจาฟาจุฬาภรณวลัยลักษณ อัครราช- กุมารี เปนองคหัวหนาคณะผูแทนไทย และผูแทนสวนพระองคพระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัว ไดลงนามในอนุสัญญาฯ ดังกลาวดวย แตในกรณีการใหสัตยาบัน เพื่อเขารวมเปนภาคีอนุสัญญาฯ ที่จะมีผลบังคับในทางกฏหมายและมีพันธกรณี ผูกมัดที่จะตองปฏิบัติตามอนุสัญญานั้น ปรากฏวา วันที่ 19 กรกฏาคม พ.ศ. 1995 มี 120 ประเทศ ไดใหสัตยาบันเพื่อรวมเปนภาคีอนุสัญญา และในปจจุบันประเทศที่ มีสวนรวมเปนภาคีอนุสัญญาฯ มีจํานวนทั้งสิ้น 192 ประเทศทั่วโลก สําหรับ ประเทศ ไทยไดเขาเปนภาคีอนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ ในลําดับที่ 188 เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2004 อนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพเปนสนธิสัญญาระดับโลก ที่มีความสําคัญมากที่สุดฉบับหนึ่ง ที่เกิดขึ้นในระหวางการประชุมสุดยอดวาดวย สิ่งแวดลอมและการพัฒนา ซึ่งเปนการประชุมครั้งแรกในระดับโลกที่เริ่มตื่นตัวเรื่อง ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม และเปนการประชุมที่ทําใหผูคนทั่วโลกรับรูโดย ทั่วกันวาการพัฒนาและการขยายตัวทางเศรษฐกิจไดทําลายทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมไปอยางที่ไมคาดคิด อนุสัญญาฯ ที่มีผลผูกพันตามกฎหมายฉบับนี้ ครอบคลุมวัตถุประสงค 3 ประการที่มีความสําคัญเทาเทียมกัน และชวยสนับสนุน สงเสริมซึ่งกันและกัน คือ การอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพ การใชประโยชน เลมที่ 33 125

จากองคประกอบของความหลากหลายทางชีวภาพอยางยั่งยืน และการแบงปน ผลประโยชนที่เกิดจากการใชทรัพยากรพันธุกรรมอยางยุติธรรมและเทาเทียม ใน ปจจุบันการมีสวนรวมในอนุสัญญาฯ เปนไปในลักษณะสากล เนื่องจากมีภาคี อนุสัญญาฯ ถึง 192 ประเทศทั่วโลก จึงเปนสัญญาณอันดีที่แสดงใหเห็นวาประชาคม โลกตระหนักถึงความจําเปนในการทํางานรวมกันมีพันธกรณีระหวางประเทศ เพื่อ พิทักษโลก เพื่อใหหลักประกันในการดํารงอยูของทุกชีวิตบนผืนโลก ทั้งนี้ องคการ สหประชาชาติไดประกาศใหวันที่ 22 พฤษภาคม ของทุกป เปนวันสากลแหงความ หลากหลายทางชีวภาพ (International Day of Biological Diversity) เพื่อรําลึกถึง วันที่อนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพเริ่มมีผลบังคับใช สําหรับวันที่ 22 พฤษภาคม 2553 นี้ นอกจากจะเปนวันสากลแหงความ หลากหลายทางชีวภาพแลว องคการสหประชาชาติไดประกาศใหปนี้เปนปสากลแหง ความหลากหลายทางชีวภาพดวย ทั้งนี้เปนผลเนื่องมาจากการประชุมสุดยอดโลก วาดวยการพัฒนาอยางยั่งยืน ณ นครโยฮันเนสเบอรก สาธารณรัฐแอฟริกาใต เมื่อ ป ค.ศ.2002 ไดใหการรับรองเปาหมายความหลากหลายทางชีวภาพป ค.ศ.2010 หรือตรงกับป พ.ศ.2553 ในการ ลดอัตราการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพลง ซึ่งสํานักเลขาธิการอนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ ไดขอความ รวมมือภาคีอนุสัญญา รัฐบาลและองคกรที่เกี่ยวของรวมกันจัดกิจกรรม ในปสากล แหงความหลากหลายทางชีวภาพ เพื่อใหบรรลุเปาหมาย ทั้งนี้ เนื่องจากความหลากหลาย ทางชีวภาพ เปนองคประกอบที่สําคัญตอความเปนอยูของมนุษย ความมั่นคงทาง อาหาร การแกไขปญหาความยากจนและการพัฒนา แตการพัฒนาโดยไมคํานึงถึง ขีดจํากัด และศักยภาพในการฟนตัวของทรัพยากรความหลากหลายทางชีวภาพ เปนเหตุใหมีการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพอยางตอเนื่อง และเปนปญหา ระดับโลกที่ทุกประเทศตองเรงหยุดยั้ง สําหรับประเทศไทยเปนประเทศหนึ่งที่มีความ หลากหลายทางชีวภาพสูงมาก แตความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย 126 วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน

จากองคประกอบของความหลากหลายทางชีวภาพอยางยั่งยืน และการแบงปน<br />

ผลประโยชนที่เกิดจากการใชทรัพยากรพันธุกรรมอยางยุติธรรมและเทาเทียม ใน<br />

ปจจุบันการมีสวนรวมในอนุสัญญาฯ เปนไปในลักษณะสากล เนื่องจากมีภาคี<br />

อนุสัญญาฯ ถึง 192 ประเทศทั่วโลก จึงเปนสัญญาณอันดีที่แสดงใหเห็นวาประชาคม<br />

โลกตระหนักถึงความจําเปนในการทํางานรวมกันมีพันธกรณีระหวางประเทศ เพื่อ<br />

พิทักษโลก เพื่อใหหลักประกันในการดํารงอยูของทุกชีวิตบนผืนโลก ทั้งนี้ องคการ<br />

สหประชาชาติไดประกาศใหวันที่ 22 พฤษภาคม ของทุกป เปนวันสากลแหงความ<br />

หลากหลายทางชีวภาพ (International Day of Biological Diversity) เพื่อรําลึกถึง<br />

วันที่อนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพเริ่มมีผลบังคับใช<br />

สําหรับวันที่ 22 พฤษภาคม <strong>2553</strong> นี้ นอกจากจะเปนวันสากลแหงความ<br />

หลากหลายทางชีวภาพแลว องคการสหประชาชาติไดประกาศใหปนี้เปนปสากลแหง<br />

ความหลากหลายทางชีวภาพดวย ทั้งนี้เปนผลเนื่องมาจากการประชุมสุดยอดโลก<br />

วาดวยการพัฒนาอยางยั่งยืน ณ นครโยฮันเนสเบอรก สาธารณรัฐแอฟริกาใต เมื่อ<br />

ป ค.ศ.2002 ไดใหการรับรองเปาหมายความหลากหลายทางชีวภาพป ค.ศ.2010<br />

หรือตรงกับป พ.ศ.<strong>2553</strong> ในการ ลดอัตราการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพลง<br />

ซึ่งสํานักเลขาธิการอนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ ไดขอความ<br />

รวมมือภาคีอนุสัญญา รัฐบาลและองคกรที่เกี่ยวของรวมกันจัดกิจกรรม ในปสากล<br />

แหงความหลากหลายทางชีวภาพ เพื่อใหบรรลุเปาหมาย ทั้งนี้ เนื่องจากความหลากหลาย<br />

ทางชีวภาพ เปนองคประกอบที่สําคัญตอความเปนอยูของมนุษย ความมั่นคงทาง<br />

อาหาร การแกไขปญหาความยากจนและการพัฒนา แตการพัฒนาโดยไมคํานึงถึง<br />

ขีดจํากัด และศักยภาพในการฟนตัวของทรัพยากรความหลากหลายทางชีวภาพ<br />

เปนเหตุใหมีการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพอยางตอเนื่อง และเปนปญหา<br />

ระดับโลกที่ทุกประเทศตองเรงหยุดยั้ง สําหรับประเทศไทยเปนประเทศหนึ่งที่มีความ<br />

หลากหลายทางชีวภาพสูงมาก แตความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย<br />

126<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!