28.06.2014 Views

เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา

เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา

เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ปูขน<br />

นงนุช ตั้งเกริกโอฬาร<br />

“ปูขน” จัดอยูในครอบครัวแกรพสิดีย (Grapsidae) เชนเดียวกับปูแปน<br />

และปูจาก มีชื่อวิทยาศาสตรวา อิริโอเฉีย ไซเน็นซิส (Eriocheir sinensis) คําวา อิริโอเฉีย<br />

(Eriocheir) เปนภาษาลาตินแปลวา “กามมีขน” สวนคําวา ไซเน็นซิส (sinensis) มี<br />

ความหมายวา “มาจากประเทศจีน” ดังนั้น อิริโอเฉีย ไซเน็นซิส จึงหมายถึง “ปูซึ่งมี<br />

ขนที่กามแหงประเทศจีน” ชาวจีนเรียกปูชนิดนี้วา “มอหอย” ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ<br />

ของปูขนคือ ไชนีส มิทเทิล แครบ (Chinese mitten crab) หรือ แฮรี่ แครบ (Hairy crab)<br />

สําหรับเมืองไทยเรานิยมเรียกสั้น ๆ วา ปูขน หรือปูกามขน หรือปูเซี่ยงไฮ จัดเปนปู 2 น้ํา<br />

คือ อาศัยอยูในทะเลสาบที่มีน้ําสะอาดและเย็นจัด พอชวงฤดูรอนจะอพยพไปผสม<br />

พันธุและวางไขในทะเล ที่เรียกวาปูขน เนื่องจากบริเณขาเดินและกามหนีบมีขนขึ้น<br />

เต็มไปหมด ปูขนที่สมบูรณจะมีขนเปนประกายสีเหลืองทองออน ซึ่งในชวงเดือน<br />

ตุลาคมถึงเดือนธันวาคม ซึ่งเปนชวงเทศกาลกินปูขนนั้น ปูขนจะมีความอุดมสมบูรณ<br />

มาก<br />

ปูขนมีถิ่นกําเนิดในประเทศจีน พบอาศัยอยูตามทะเลสาบในประเทศจีน<br />

เจริญเติบโตอยูในสภาพอากาศหนาว และน้ําที่เย็นจัด อุณหภูมิของน้ําต่ํากวา 10<br />

องศาเชลเชียส บริเวณที่พบมากและเปนที่รูจักกันดีคือ ทะเลสาบหยางเถิง มณฑล<br />

เวียงซู นอกจากนี้ยังพบในประเทศไตหวัน และบางสวนของเกาหลีไปจนถึงทะเลเหลือง<br />

ปจจุบันปูชนิดนี้ไดแพรกระจายไปถึงประเทศฟนแลนด สวีเดน เดนมารก ฮอลแลนด<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 117

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!