เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา

เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา

sci.buu.ac.th
from sci.buu.ac.th More from this publisher
28.06.2014 Views

เหตุเพราะอากาศรอน สวามินี ธีระวุฒิ เมืองไทยเรามีสภาพอากาศรอนอยูเสมอโดยเฉพาะหนารอน หลายคนอาจ เที่ยวพักผอนชายทะเลกับครอบครัว แตบางคนอาจไมไดไปเที่ยวที่ไหนไกลๆ ทวาทุก วันนี้อากาศจะยิ่งรอนขึ้นเรื่อย ๆ จากสถานการณโลกรอน ดังนั้นการดูแลและรูจัก โรคภัยที่มากับความรอนจึงจําเปนอยางยิ่งเพี่อใหปองกันและแกไขไดทันทวงที สําหรับทุก ๆ คน โรคที่คนเปนบอยในชวงหนารอนที่จะขอพูดถึงในบทความนี้ คือ "โรคจากความรอน” ซึ่งเปนโรคที่เกิดจากการที่รางกายที่มีอุณหภูมิมากกวา 38 องศา เซลเซียส ทําใหระบบการทํางานในรางกายผิดปกติ โดยทั่วไปรางกายจะพยายาม ควบคุมอุณหภูมิรางกายไวประมาณ 37 องศาเซลเซียส ซึ่งวิธีที่รางกายทําเพื่อลด ความรอนที่เกินของรางกายมี 4 วิธีคือ 1. การนําความรอน คือ การถายเทความรอน ใหผานผิวที่สัมผัสสิ่งที่เย็น ความรอนจะถายผานไปสิ่งที่เย็นกวาเชน น้ําแข็ง วิธีนี้ ถายเทความรอนไดประมาณ 2 เปอรเซ็นต วิธีที่ 2. การพาความรอน คือการถายเท ความรอนโดยการพัดผานของอากาศ ซึ่งจะนําเอาความรอนออกไปจากรางกาย เชน เมื่อมีลมพัดผานหรือการใชพัดเปนวิธีที่ถายเทความรอนได 10 เปอรเซ็นต วิธีที่ 3. การแผความรอน เปนการถายเทความรอนดวยการแผความรอนโดยไมตองการ ตัวกลางใด ๆ แตอุณหภูมิของสิ่งแวดลอมจะตองต่ํากวาอุณหภูมิของรางกาย วิธีนี้ ระบายความรอนของรางกาย ไดถึง 60 เปอรเซ็นต ของความรอนที่สามารถถายเท ทั้งหมด และวิธีที่ 4. การระเหยความรอน เปนการถายเทความรอนโดยการระเหย เลมที่ 33 113

ของน้ํา ในที่นี้หมายถึงการสรางเหงื่อเพื่อชวยลดอุณหภูมิของรางกาย การลดความ รอนดวยวิธีนี้เปนการควบคุมอุณหภูมิของรางกายระหวางออกกําลังกายและเปน กลไกการควบคุมอุณหภูมิวิธีแรก ๆ เมื่ออุณหภูมิของรางกายสูงขึ้น วิธีนี้ระบายความ รอนออกประมาณ 30 เปอรเซ็นต แตหากรางกายไมสามารถใหกระบวนการทั้งสี่ใน การลดอุณหภูมิในรางกายใหต่ํากวา 38 องศาเซลเซียสไดก็จะเกิดโรคจากความรอนขึ้น ซึ่งสามารถแบงยอยได 3 ประเภท ไดแก โรคตะคริวความรอน โรคเพลียความรอน และโรคลมความรอน 1. โรคตะคริวความรอน เปนภาวะที่กลามเนื้อหดเกร็งเองโดยที่รางกาย ไมไดสั่งใหเกร็ง หรือหดตัว แตกลามเนื้อนั้นหดเกร็งเองเปนระยะเวลาหนึ่ง รางกาย ไมสามารถควบคุมใหกลามเนื้อมัดนั้น ๆ คลายตัวหรือหยอนลงได ถาหากไมไดรับ การปฏิบัติที่ถูกตอง กลามเนื้อที่เปนตะคริวหรือหดเกร็งจะคอย ๆ คลายตัวทีละนอย ไปเอง แตกวาจะหายคนที่เปนตะคริวก็จะมีความเจ็บปวดคอนขางมาก โดยทั่วไป ตะคริวมักเกิดไมเกินสองนาที แตอาจมีบางรายเกิดนานไดถึงหานาทีหรือนานกวา นั้น การเกิดตะคริวจากความรอนนั้นเกิดไดหลายที่ แตพบมากบริเวณหนาทองและ ขา นอกจากนี้อาการที่พบรวมกันคือ อุณหภูมิรางกายเปลี่ยนไป เหงื่อออกมาก กระหายน้ําหรือหัวใจเตนเร็ว โดยผูปวยมักจะมีอาการหลังจากออกกําลังหรือทํางาน หนัก ซึ่งเกิดจากการเสียน้ําและเกลือแรทางเหงื่อที่มากเกินไป นอกจากนี้ยังคาดวา การเกิดตะคริวอาจมาจากการที่สูญเสียโซเดียมได โดยในนักกรีฑาที่ดื่มน้ําเปน จํานวนมากโดยไมชดเชยเกลือแรอาจทําใหเกิดการเจือจางของอิเล็กโตรไลทและ ทําใหกระตุนการเกิดตะคริวขึ้นได อยางไรก็ตามมีการแนะนําวิธีรักษาคือการชดเชย ดวยน้ํา หรือใหเครื่องดื่มเกลือแรที่มีจําหนายตามทองตลาด หรือใชสูตรที่ทําเอง โดยใชเกลือ 1 ชอนชาผสมกับน้ํา 500 มิลลิลิตร เพื่อชวยปองกันการสูญเสียเกลือแร มากเกินไป 114 วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน

ของน้ํา ในที่นี้หมายถึงการสรางเหงื่อเพื่อชวยลดอุณหภูมิของรางกาย การลดความ<br />

รอนดวยวิธีนี้เปนการควบคุมอุณหภูมิของรางกายระหวางออกกําลังกายและเปน<br />

กลไกการควบคุมอุณหภูมิวิธีแรก ๆ เมื่ออุณหภูมิของรางกายสูงขึ้น วิธีนี้ระบายความ<br />

รอนออกประมาณ 30 เปอรเซ็นต แตหากรางกายไมสามารถใหกระบวนการทั้งสี่ใน<br />

การลดอุณหภูมิในรางกายใหต่ํากวา 38 องศาเซลเซียสไดก็จะเกิดโรคจากความรอนขึ้น<br />

ซึ่งสามารถแบงยอยได 3 ประเภท ไดแก โรคตะคริวความรอน โรคเพลียความรอน<br />

และโรคลมความรอน<br />

1. โรคตะคริวความรอน เปนภาวะที่กลามเนื้อหดเกร็งเองโดยที่รางกาย<br />

ไมไดสั่งใหเกร็ง หรือหดตัว แตกลามเนื้อนั้นหดเกร็งเองเปนระยะเวลาหนึ่ง รางกาย<br />

ไมสามารถควบคุมใหกลามเนื้อมัดนั้น ๆ คลายตัวหรือหยอนลงได ถาหากไมไดรับ<br />

การปฏิบัติที่ถูกตอง กลามเนื้อที่เปนตะคริวหรือหดเกร็งจะคอย ๆ คลายตัวทีละนอย<br />

ไปเอง แตกวาจะหายคนที่เปนตะคริวก็จะมีความเจ็บปวดคอนขางมาก โดยทั่วไป<br />

ตะคริวมักเกิดไมเกินสองนาที แตอาจมีบางรายเกิดนานไดถึงหานาทีหรือนานกวา<br />

นั้น การเกิดตะคริวจากความรอนนั้นเกิดไดหลายที่ แตพบมากบริเวณหนาทองและ<br />

ขา นอกจากนี้อาการที่พบรวมกันคือ อุณหภูมิรางกายเปลี่ยนไป เหงื่อออกมาก<br />

กระหายน้ําหรือหัวใจเตนเร็ว โดยผูปวยมักจะมีอาการหลังจากออกกําลังหรือทํางาน<br />

หนัก ซึ่งเกิดจากการเสียน้ําและเกลือแรทางเหงื่อที่มากเกินไป นอกจากนี้ยังคาดวา<br />

การเกิดตะคริวอาจมาจากการที่สูญเสียโซเดียมได โดยในนักกรีฑาที่ดื่มน้ําเปน<br />

จํานวนมากโดยไมชดเชยเกลือแรอาจทําใหเกิดการเจือจางของอิเล็กโตรไลทและ<br />

ทําใหกระตุนการเกิดตะคริวขึ้นได อยางไรก็ตามมีการแนะนําวิธีรักษาคือการชดเชย<br />

ดวยน้ํา หรือใหเครื่องดื่มเกลือแรที่มีจําหนายตามทองตลาด หรือใชสูตรที่ทําเอง<br />

โดยใชเกลือ 1 ชอนชาผสมกับน้ํา 500 มิลลิลิตร เพื่อชวยปองกันการสูญเสียเกลือแร<br />

มากเกินไป<br />

114<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!