28.06.2014 Views

เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา

เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา

เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ทานผูฟงคงจะเห็นแลวนะครับวา เขื่อนสามารถนํามาเปนเครื่องมือในการ<br />

แกปญหาวิกฤติทรัพยากรน้ําทั้งในกรณีที่มีน้ํามากเกินไปหรือในสภาวะที่เกิดการ<br />

ขาดแคลนน้ําในพื้นที่ โดยเฉพาะในประเทศไทยของเราที่มีพื้นที่ทางการเกษตรกวา<br />

130 ลานไร แตกลับมีพื้นที่ชลประทานเพียง 30 ลานไร หรือประมาณ 1 ใน 4 ของ<br />

พื้นที่การเกษตรเทานั้น ซึ่งถือไดวานอยมาก ดังนั้นจึงควรมีการพิจารณาหาแนว<br />

ทางการจัดสรรทรัพยากรน้ําใหเหมาะสมและเพียงพอ โดยมีการเก็บขอมูลและมีการ<br />

คํานวณถึงฤดูกาลที่น้ํามากและน้ําแลง โดยฤดูน้ําหลากควรคํานวณถึงการจัดเก็บวา<br />

จะจัดเก็บน้ําในรูปแบบใด ทั้งน้ําที่ไหลจากลุมแมน้ําและน้ําฝนในชวงฤดูฝน โดย<br />

คํานวณถึงปริมาณการใชแตละปใหครอบคลุมการสํารองน้ําไวเพื่อใชในฤดูแลงดวย<br />

ดังนั้น การพิจารณาสรางเขื่อนเพื่อแกปญหาวิกฤติทรัพยากรน้ํา จําเปนตองศึกษา<br />

ขอมูลอยางรอบดาน ทั้งผลดีและผลกระทบจากการสรางเขื่อน โดยเฉพาะการเขา<br />

พูดคุยกับชาวบานที่อาศัยในพื้นที่ที่มีสวนไดสวนเสียตอการสรางเขื่อน เพื่อใหได<br />

ขอมูลที่จะชวยแกไขจุดบกพรองในการศึกษาผลกระทบของโครงการ และนําไปสูการ<br />

เจรจาเพื่อหาทางเลือกที่ดีที่สุดและยุติธรรมตอกลุมชาวบานผูตองรับผลกระทบ<br />

โดยเฉพาะการศึกษาถึงระบบนิเวศวาสงผลใหเปลี่ยนแปลงไปเชนไร<br />

ทานผูฟงที่เคารพครับ การแกปญหาวิกฤติทรัพยากรน้ําถือวามีความสําคัญ<br />

อยางยิ่งเพื่อใหมีการใชทรัพยากรน้ําอยางคุมคาและเกิดประโยชนสูงสุด โดยเฉพาะ<br />

ในประเทศไทยซึ่งเปนประเทศเกษตรกรรม หากประเทศไทยยังขาดการบริหาร<br />

จัดการน้ําที่ดี ยอมเปนปญหาที่ใหญหลวงและอาจกลายเปนปญหาบานปลายใน<br />

อนาคต การสรางเขื่อนอยางรอบคอบและมีการวางแผนที่ดี จะเปนอีกสวนหนึ่งที่ชวย<br />

ในการแกปญหาเรื่องวิกฤติทรัพยากรน้ําของไทยไดอยางยั่งยืน<br />

104<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!