เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา

เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา

sci.buu.ac.th
from sci.buu.ac.th More from this publisher
28.06.2014 Views

แหลงอางอิง ขนิษฐา ลุนเผ, เอื้อมพร สกุลแกว และ แกวตา สุขีทรัพย.(2548). เมนูอาหาร เบาหวาน. กรุงเทพฯ : ใกลหมอ. วันทนีย เกรียงสินยศ.(2551).โภชนการกับเบาหวาน. กรุงเทพฯ : สารคดี สุภัสสร วัฒนกิจ.(2551).หวาน “เบา” สักนิด. ชีวิตสดใส.พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : ฐานบัณฑิต. เลมที่ 33 101

เขื่อนกับการแกปญหาวิกฤติทรัพยากรน้ํา อนุเทพ ภาสุระ ปจจุบันปญหาวิกฤติทรัพยากรน้ําไดทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ ปญหาน้ําที่ แหงขอดลงอยางรวดเร็วในลุมน้ําหรือแหลงน้ําตาง ๆ สงผลใหวิถีชีวิตของมนุษยและ สิ่งแวดลอมเปลี่ยนแปลงไป เหตุการณที่กําลังไดรับความสนใจและสงผลกระทบ อยางเดนชัด ไดแก กรณีที่เกิดน้ําแหงขอดในแมน้ําโขงซึ่งเปนแมน้ําขนาดใหญและ ไหลผานหลายประเทศ ซึ่งปญหานี้ไดสงผลกระทบตอระบบนิเวศของแมน้ําโขงอยาง หลีกเลี่ยงไมได อันมีผลกระทบโดยตรงตอพันธุปลา พรรณพืช และวิถีชีวิตของ ชาวบานทั้งสองฝงโขงดวยเชนกัน เหตุการณดังกลาวนี้ทําใหกลุมนักอนุรักษและ กลุมนักเคลื่อนไหวตางเพงเล็งไปที่การสรางเขื่อนขนาดใหญ ที่ตั้งอยูบริเวณลุมแมน้ํา โขงตอนบนในเขตประเทศจีนวาเปนสาเหตุสําคัญที่ปดกั้นทางน้ําไมใหน้ําไหลผานไป ยังลุมน้ําโขงตอนลาง จึงเห็นไดวาการสรางเขื่อนเปรียบเสมือนดาบสองคม ที่ดาน หนึ่งมองวาเขื่อนมีความจําเปนเพราะสามารถเก็บกักน้ําไวใชไดยามขาดแคลน รวมถึงการใชประโยชนอื่นทั้งการผลิตไฟฟาหรือใชในการชลประทาน ขณะที่อีกดาน หนึ่งมองวาเขื่อนสรางผลกระทบตอสิ่งแวดลอมอยางใหญหลวงทั้งตอคน สัตว และ ระบบนิเวศในพื้นที่ จึงทําใหการสรางเขื่อนเพื่อเก็บกักน้ําในปจจุบันทําไดยากมากขึ้น เนื่องจากกระแสคัดคานในดานลบดังกลาว 102 วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน

เขื่อนกับการแกปญหาวิกฤติทรัพยากรน้ํา<br />

อนุเทพ ภาสุระ<br />

ปจจุบันปญหาวิกฤติทรัพยากรน้ําไดทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ ปญหาน้ําที่<br />

แหงขอดลงอยางรวดเร็วในลุมน้ําหรือแหลงน้ําตาง ๆ สงผลใหวิถีชีวิตของมนุษยและ<br />

สิ่งแวดลอมเปลี่ยนแปลงไป เหตุการณที่กําลังไดรับความสนใจและสงผลกระทบ<br />

อยางเดนชัด ไดแก กรณีที่เกิดน้ําแหงขอดในแมน้ําโขงซึ่งเปนแมน้ําขนาดใหญและ<br />

ไหลผานหลายประเทศ ซึ่งปญหานี้ไดสงผลกระทบตอระบบนิเวศของแมน้ําโขงอยาง<br />

หลีกเลี่ยงไมได อันมีผลกระทบโดยตรงตอพันธุปลา พรรณพืช และวิถีชีวิตของ<br />

ชาวบานทั้งสองฝงโขงดวยเชนกัน เหตุการณดังกลาวนี้ทําใหกลุมนักอนุรักษและ<br />

กลุมนักเคลื่อนไหวตางเพงเล็งไปที่การสรางเขื่อนขนาดใหญ ที่ตั้งอยูบริเวณลุมแมน้ํา<br />

โขงตอนบนในเขตประเทศจีนวาเปนสาเหตุสําคัญที่ปดกั้นทางน้ําไมใหน้ําไหลผานไป<br />

ยังลุมน้ําโขงตอนลาง จึงเห็นไดวาการสรางเขื่อนเปรียบเสมือนดาบสองคม ที่ดาน<br />

หนึ่งมองวาเขื่อนมีความจําเปนเพราะสามารถเก็บกักน้ําไวใชไดยามขาดแคลน<br />

รวมถึงการใชประโยชนอื่นทั้งการผลิตไฟฟาหรือใชในการชลประทาน ขณะที่อีกดาน<br />

หนึ่งมองวาเขื่อนสรางผลกระทบตอสิ่งแวดลอมอยางใหญหลวงทั้งตอคน สัตว และ<br />

ระบบนิเวศในพื้นที่ จึงทําใหการสรางเขื่อนเพื่อเก็บกักน้ําในปจจุบันทําไดยากมากขึ้น<br />

เนื่องจากกระแสคัดคานในดานลบดังกลาว<br />

102<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!