28.06.2014 Views

เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา

เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา

เล่มที่ 33 (2553) - นิสิต - มหาวิทยาลัยบูรพา

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน<br />

เลมที่ <strong>33</strong><br />

โครงการเผยแพรวิชาการทางวิทยุกระจายเสียง<br />

มหาวิทยาลัยบูรพา<br />

จัดทําโดย<br />

สํานักบริการวิชาการ<br />

รวมกับ<br />

คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา


สารและคํานํา


สารและคํานํา


สารจากอธิการบดีมหาวิทยาลัยบูรพา<br />

การเปนที่พึ่งทางวิชาการ สืบสานวัฒนธรรม ชี้นําแนวทางการพัฒนาแก<br />

สังคม โดยเฉพาะภาคตะวันออก คือ หนึ่งในสามของปณิธานที่มหาวิทยาลัยบูรพาได<br />

ตั้งไว เพื่อใหบรรลุตามปณิธาน มหาวิทยาลัยบูรพาไดมีการวางแนวทางพัฒนา<br />

มหาวิทยาลัยสูความเปนเลิศ เปนองคกรทางการศึกษาของชาติในระดับสากล เปน<br />

มหาวิทยาลัยวิจัยที่มีผลงานและสรางสรรคองคความรูใหม ในขณะเดียวกันก็ได<br />

พัฒนาระบบบริการวิชาการเพื่อนํางานวิจัยและองคความรูตาง ๆ ถายทอดสูสังคม<br />

การสนองตอบตอความตองการทางดานความรูของสังคมสามารถนําสังคมสูความ<br />

อยูดีมีสุขบนฐานความรูและปญญา การเปนศูนยกลางความรูของภาคตะวันออก<br />

และประเทศ รวมถึงการสรางเครือขายวิชาการที่แพรหลายทั้งในและตางประเทศ เพื่อ<br />

พัฒนาสังคมไทยใหมีความเขมแข็งและสงเสริมใหประเทศไทยมีบทบาทในประชาคม<br />

โลกได<br />

โครงการเผยแพรวิชาการทางวิทยุกระจายเสียงเปนอีกหนึ่งชองทางในการ<br />

ถายทอดความรูสูสังคมซึ่งไดรับความรวมมือจากคณะและหนวยงานตาง ๆ ภายใน<br />

มหาวิทยาลัยบูรพา และยังไดรับความรวมมืออยางดียิ่งจากสถานีวิทยุกระจายเสียง<br />

ในเครือขายอีกกวา 150 สถานีทั่วประเทศในการถายทอดความรูสูภาคประชาชน<br />

มหาวิทยาลัยบูรพาตองขอขอบคุณทุก ๆ ทานที่มีสวนเกี่ยวของในการดําเนินงาน<br />

โครงการเผยแพรวิชาการทางวิทยุกระจายเสียงใหสําเร็จลุลวงดวยดี<br />

(ศาสตราจารย นายแพทยสมพล พงศไทย)<br />

อธิการบดีมหาวิทยาลัยบูรพา


สารจากคณบดีคณะวิทยาศาสตร<br />

มหาวิทยาลัยบูรพา<br />

คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพาและสํานักบริการวิชาการไดรวมกัน<br />

ผลิตรายการวิทยุ“วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน” มาอยางตอเนื่องและสม่ําเสมอ ดวย<br />

ความตระหนักถึงความสําคัญของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ที่มีตอการพัฒนา<br />

คุณภาพชีวิต และความเปนอยูของประชาชน ในสังคมทั้งในปจจุบันและอนาคต<br />

รวมทั้งเพื่อใหคณาจารยและบุคลากรในคณะวิทยาศาสตรไดมีโอกาสเผยแพรความรู<br />

สูสังคมผานบทความดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ที่ประชาชนทั่วไปสามารถ<br />

เขาถึงไดนําไปใชประโยชนในชีวิตประจําวันได การใหบริการวิชาการแกสังคม ถือเปน<br />

กิจสําคัญตามปรัชญาและวิสัยทัศนของคณะวิทยาศาสคร ในการที่จะสรางสังคม<br />

อุดมปญญาใหเกิดขึ้นแกประชาชนในวงกวางและประเทศชาติสืบไป<br />

ขาพเจาขอแสดงความชื่นชมตอความมุงมั่นของทานคณะกรรมการ และ<br />

ผูทรงคุณวุฒิที่รวมกันดําเนินกิจกรรมในโครงการเผยแพรวิชาการทางสถานี<br />

วิทยุกระจายเสียงรายการ “วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน” ที่นับเปนภาระงาน<br />

อันยิ่งใหญ และขอใหสําเร็จประโยชน บรรลุวัตถุประสงคดวยดี พรอมกันนี้ ขาพเจา<br />

ขอขอบคุณผูอํานวยการและหัวหนาสถานีวิทยุกระจายเสียงทุกแหงที่ไดกรุณา<br />

ใหความอนุเคราะหและอํานวยความสะดวกดานสถานที่และเวลาออกอากาศดวยดี<br />

เสมอมา<br />

(ผูชวยศาสตราจารย ดร.อุษาวดี ตันติวรานุรักษ)<br />

คณบดีคณะวิทยาศาสตร


สารจากผูอํานวยการสํานักบริการวิชาการ<br />

มหาวิทยาลัยบูรพา<br />

สํานักบริการวิชาการ คือหนวยงานบริการวิชาการกลางของมหาวิทยาลัย<br />

บูรพา โดยมีภารกิจหลักดานบริการวิชาการ ทั้งในรูปแบบของการฝกอบรม<br />

การถายทอดความรูและเทคโนโลยี การเปนที่ปรึกษา หรือบริการวิชาการผาน<br />

ชองทางสื่อตาง ๆ โครงการเผยแพรวิชาการทางวิทยุกระจายเสียงเปนอีกหนึ่งชองทาง<br />

ในการถายทอดความรูสูสังคม ซึ่งไดรับความรวมมือจากผูบริหาร คณาจารยและ<br />

บุคลากรจากคณะและหนวยงานตาง ๆ ภายในมหาวิทยาลัยบูรพา ไดแก<br />

คณะวิทยาศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะพยาบาลศาสตร<br />

คณะสาธารณสุขศาสตร และศูนยวิทยาศาสตรสุขภาพ ในการผลิตรายการ เพื่อ<br />

เผยแพรวิชาการในสาขาตาง ๆ ผานชองทางวิทยุกระจายเสียงกวา 150 สถานีใน<br />

พื้นที่ 66 จังหวัดซึ่งสามารถกระจายเสียงครอบคลุมพื้นที่ 76 จังหวัดทั่วประเทศ<br />

นอกจากนี้ยังมีการขยายการเผยแพรสูชองทางอินเตอรเน็ต ซึ่งในป <strong>2553</strong> นี้มีผูมาใช<br />

บริการแลวกวา 600,000 ครั้ง และหนังสือรวมเลมบทความที่จัดสงไปยังหองสมุด<br />

ตาง ๆ<br />

สํานักบริการวิชาการ ขอขอบคุณคณะผูบริหาร คณาจารย และบุคลากร<br />

ของมหาวิทยาลัยบูรพา และสถานีวิทยุกระจายเสียง ทุก ๆ ทานที่มีสวนรวมให<br />

โครงการเผยแพรวิชาการทางวิทยุกระจายเสียงดําเนินงานไดสําเร็จตามเปาหมาย<br />

ที่วางไว<br />

(ผูชวยศาสตราจารยฉันทนา จันทวงศ)<br />

ผูอํานวยการสํานักบริการวิชาการ


คํานํา<br />

คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา มีหนาที่หลักสําคัญประการหนึ่ง<br />

นอกจากประสิทธิ์ประสาทความรูแกนิสิตนักศึกษา คือการเผยแพรความรูทาง<br />

วิทยาศาสตรแกประชาชน ใหไดรับขาวสารทันกับการเปลี่ยนแปลงของวงการวิชาการ<br />

ดานวิทยาศาสตรที่เกิดขึ้น ซึ่งจะกอใหเกิดตนทุนทางทรัพยากรมนุษยที่มีศักยภาพ<br />

เพื่อการพัฒนาประเทศ<br />

โครงการเผยแพรวิชาการทางวิทยุกระจายเสียงรายการ “วิทยาศาสตรเพื่อ<br />

ประชาชน” เปนกิจกรรมที่สําคัญของคณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา ที่มุงเผยแพร<br />

ความรูทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่ทันสมัยสูประชาชน โดยใชภาษาที่งาย<br />

ตอการเขาใจ เพื่อใหผูฟงสามารถนําขอมูลขาวสารที่ไดรับไปประยุกตใชในการดํารงชีวิต<br />

ไดอยางเหมาะสม ตามเจตนารมณหลักประการหนึ่งของมหาวิทยาลัยบูรพา<br />

หนังสือรวมเลมบทความวิชาการของโครงการเผยแพรวิชาการทางวิทยุ<br />

กระจายเสียง รายการ “วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน”เลมที่ <strong>33</strong> ไดรวบรวมบทความที่<br />

เผยแพรทางสถานีวิทยุกระจายเสียง จํานวน 115 สถานี ตั้งแตเดือนตุลาคม 2552 ถึง<br />

เดือนกันยายน <strong>2553</strong> จํานวน 52 บทความ และการดําเนินงานดังกลาวนี้ไดทํามา<br />

อยางตอเนื่องทุกป<br />

การนําบทความตาง ๆ ออกอากาศทางสถานีวิทยุกระจายเสียงและการรวม<br />

เลมบทความนี้ สําเร็จลุลวงดวยดี ดวยความชวยเหลือและสนับสนุนจากผูอํานวยการ<br />

และสถานีวิทยุตางๆ ที่ใหความอนุเคราะหเวลาออกอากาศ ผูเขียนบทความวิชาการที่<br />

กรุณาสละเวลาเขียนบทความเพื่อเปนวิทยาทาน รวมทั้งเจาหนาที่ฝายสงเสริมและ<br />

เผยแพรวิชาการ สํานักบริการวิชาการที่กรุณาประสานงานจนสําเร็จลุลวง ขอขอบคุณ<br />

คณะวิทยาศาสตรและสํานักบริการวิชาการที่สนับสนุนใหโครงการนี้ดําเนินมาดวยดี<br />

และขอขอบคุณมูลนิธิดํารงลัทธิพิพัฒนที่ใหการสนับสนุนงบประมาณสําหรับ<br />

ดําเนินงานของคณะกรรมการมาเปนระยะเวลานานถึง 10 ป มาแลว


คณะกรรมการฯ หวังเปนอยางยิ่งวาหนังสือเลมนี้จะเปนประโยชนตอผูอาน<br />

ทุกทานตลอดจนวงการวิชาการ<br />

คณะกรรมการรายการ “วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน”


สารบัญ<br />

หนา<br />

สารจากอธิการบดี<br />

สารจากคณบดีคณะวิทยาศาสตร<br />

สารจากผูอํานวยการสํานักบริการวิชาการ<br />

คํานํา<br />

19 ตุลาคม : วันเทคโนโลยีของไทย กรองจันทร รัตนประดิษฐ 1<br />

บรรจุภัณฑอาหารในอนาคต สวามินี ธีระวุฒิ 5<br />

ตําลึง ผักริมรั้วสารพัดประโยชน เกศราภรณ จันทรประเสริฐ 9<br />

โรคนิ้วล็อค นงนุช ตั้งเกริกโอฬาร 13<br />

กินแลวสวย แนวทางสงเสริมการขาย สวามินี ธีระวุฒิ 17<br />

แบบใหม<br />

กิ้งกือมังกรสีชมพู –สิ่งมีชีวิตชนิดใหม นงนุช ตั้งเกริกโอฬาร 21<br />

ของโลก<br />

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว กมล สมพันธุ 25<br />

: พระบิดาแหงการถายภาพไทย<br />

เรื่องนารูเกี่ยวกับตอมไทรอยด นุชจรินทร แกลวกลา 29<br />

ชนิดพันธุตางถิ่นที่รุกราน นุชจรินทร แกลวกลา 32<br />

ทําดีเพื่อพอกันเถอะ นุชจรินทร แกลวกลา 36<br />

สรางสีสันใหชีวิตดวยเครื่องเทศ สวามินี ธีระวุฒิ 40<br />

โรคที่มากับฤดูหนาว กรองจันทร รัตนประดิษฐ 44


สื่อสารอยางไรใหทันสมัย กันทิมา ออนละออ 48<br />

มาฉลองปใหมดวยการสรางนิสัยการกิน อนุเทพ ภาสุระ 52<br />

ใหมกันเถอะ<br />

สรางแรงบันดาลใจใหเด็กไทยหัวใจ สวามินี ธีระวุฒิ 55<br />

วิทยาศาสตร<br />

14 มกราคม : วันอนุรักษทรัพยากรปาไม กรองจันทร รัตนประดิษฐ 59<br />

แหงชาติ<br />

ไฮโดรเจน : พลังงานทดแทนที่นาสนใจ สุบัณฑิต นิ่มรัตน 63<br />

ในปจจุบัน<br />

ความรูเรื่องทรัพยสินทางปญญาเนื่องใน อนุเทพ ภาสุระ 67<br />

วันนักประดิษฐไทย 2 กุมภาพันธ <strong>2553</strong><br />

วันมะเร็งโลก (4 ก.พ.) สวามินี ธีระวุฒิ 70<br />

ชวนดื่มชา เบญจวรรณ ชิวปรีชา 74<br />

สมุนไพรลดปญหารังแค สุบัณฑิต นิ่มรัตน 78<br />

เครื่องปรุงรสจากผัก วิชมณี ยืนยงพุทธกาล 82<br />

กลูตาไทโอน..ขาว แตอันตรายถึงชีวิต กรองจันทร รัตนประดิษฐ 86<br />

ลด ละ เลิกใชโฟมกันเถอะ จุฬารัตน หงสวลีรัตน 90<br />

รูจักอุปกรณบอกชี้ตําแหนงบนพื้นโลก กันทิมา ออนละออ 94<br />

(จีพีเอส) กันเถอะ<br />

อาหารกับผูปวยเบาหวาน นุชจรินทร แกลวกลา 98<br />

เขื่อนกับการแกปญหาวิกฤติทรัพยากรน้ํา อนุเทพ ภาสุระ 102<br />

ภัยแฝงจากขวดและภาชนะพลาสติก สิริมา ชินสาร 106<br />

การปองกันตนเองจากภัยแผนดินไหว อนุเทพ ภาสุระ 110<br />

เหตุเพราะอากาศรอน สวามินี ธีระวุฒิ 113


ปูขน นงนุช ตั้งเกริกโอฬาร 117<br />

การพัฒนาปรับปรุงพันธุขาวไทย กรองจันทร รัตนประดิษฐ 121<br />

22 พฤษภาคม – วันสากลแหงความ นงนุช ตั้งเกริกโอฬาร 124<br />

หลากหลายทางชีวภาพ<br />

“บัวบก สมุนไพรมหัศจรรย” กรองจันทร รัตนประดิษฐ 128<br />

เลิกบุหรี่ดวยสมุนไพรไทยหญาดอกขาว กรองจันทร รัตนประดิษฐ 131<br />

ชื่อ (อาหาร) สําคัญไฉน ? อรสา สุริยาพันธ 134<br />

นาโนเทคโนโลยีในชีวิตประจําวัน รุงนภา แซเอ็ง 138<br />

วิทยาศาสตรของการทําสมาธิ อนุเทพ ภาสุระ 142<br />

อาหารและการปวดประจําเดือน สุบัณฑิต นิ่มรัตน 145<br />

ควันที่เกิดขึ้นจากการเผายางรถยนต : อนุเทพ ภาสุระ 148<br />

อันตรายที่ทานมองเห็น<br />

น้ํามันรั่ว...เคราะหรายลงทะเล สวามินี ธีระวุฒิ 151<br />

กลีส 581 ซี (Gliese 581 C ) : ดาวเคราะห อนุเทพ ภาสุระ 155<br />

ที่มีลักษณะคลายโลก<br />

จริงหรืออาหารนี้มีโซเดียมต่ํา อรสา สุริยาพันธ 158<br />

สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ กรองจันทร รัตนประดิษฐ 161<br />

นักอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ<br />

สิ่งแวดลอม<br />

18 สิงหาคม <strong>2553</strong> : วันวิทยาศาสตร นุชจรินทร แกลวกลา 165<br />

แหงชาติ<br />

การปองกันโรคดวยอาหารมื้อเชา สุบัณฑิต นิ่มรัตน 168<br />

ประโยชนอันเกินคาดคิดจากขาวกลอง กรองจันทร รัตนประดิษฐ 172<br />

อันตรายจากเครื่องเลนเอ็มพี 3 (MP3) อนุเทพ ภาสุระ 176


ใครวาระบบขับถายไมสําคัญ สุบัณฑิต นิ่มรัตน 179<br />

16 กันยายน วันโอโซนสากล... โอโซนกับ สวามินี ธีระวุฒิ 183<br />

อาหาร<br />

เบาหวาน...ไมหวานอยางที่คิด สุบัณฑิต นิ่มรัตน 186<br />

รานอาหารริมถนน : แหลงสะสมสารพิษ<br />

ที่คุณมองขาม<br />

อนุเทพ ภาสุระ 191<br />

ภาคผนวก


19 ตุลาคม : วันเทคโนโลยีของไทย<br />

กรองจันทร รัตนประดิษฐ<br />

ดวยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ทรงเปน<br />

นักปกครอง และทรงมีอัจฉริยภาพทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จนเปนที่<br />

ประจักษไปทั่วโลก ดวยเหตุนี้ประเทศไทยจึงใหความสําคัญกับการพัฒนาวิทยาศาสตร<br />

และเทคโนโลยีและไดกําหนด ใหวันที่ 19 ตุลาคม เปนวันเทคโนโลยีของไทย<br />

เนื่องจาก เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ.2515 หรือเมื่อ 36 ปที่แลว พระบาทสมเด็จ<br />

พระเจาอยูหัวฯ ไดทรงอํานวยการสาธิตฝนเทียมสูตรใหมครั้งแรกของโลกดวย<br />

พระองคเอง ณ เขื่อนแกงกระจาน จังหวัดเพชรบุรี และทรงพระปรีชาสามารถบังคับ<br />

ใหฝนตกลงตรงเปาหมาย การสาธิตฝนเทียมครั้งนั้น ถือเปนตนกําเนิดเทคโนโลยี<br />

ฝนหลวงที่พัฒนาเปนการทําฝนเทียมมาถึงปจจุบัน และเพื่อจารึกไวเปนเหตุการณ<br />

สําคัญทางประวัติศาสตรของชาติไทย ในวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ.2543 คณะรัฐบาล<br />

จึงมีมติใหเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงเปน"พระบิดาแหง<br />

เทคโนโลยีของไทย" และกําหนดใหวันที่ 19 ตุลาคมของทุกปเปน "วันเทคโนโลยี<br />

ของไทย" เพื่อเปนการแสดงความจงรักภักดีและรําลึกในพระมหากรุณาธิคุณของ<br />

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวที่ทรงมีตอพสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอด ที่ไดทรง<br />

ศึกษาคนควา วิจัยและทรงนําเทคโนโลยีสมัยใหมมาประยุกตใช เพื่อแกไขปญหา<br />

ความเดือดรอนของประชาชน และเปนการแสดงเทคโนโลยีที่คิดคนประดิษฐและ<br />

พัฒนาโดยคนไทย เพื่อเปนการกระตุนใหสาธารณชนเกิดความเชื่อมั่นและเขารวม<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 1


พัฒนาเทคโนโลยีของไทย ดวยทรงเห็นวาประเทศไทยประสบปญหาความแหงแลง<br />

มาเปนเวลานาน พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ จึงทรงริเริ่มโครงการพระราชดําริ<br />

ฝนหลวง หรือฝนเทียมขึ้น โดยใชกรรมวิธีการสรางฝนจริง ๆ อาศัยไอน้ําที่อยูใน<br />

บรรยากาศ คือ กอนเมฆซึ่งในหนาแลงมักจะลอยผานพื้นที่แหงแลงไป โดยไมกลายเปน<br />

น้ําฝน และใชเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร รวมทั้งการบิน เปนเครื่องมือสรางความ<br />

เปลี่ยนแปลงในธรรมชาติ ทําใหกอนเมฆโตขึ้น และสรางสถานการณที่ทําใหเกิด<br />

แรงลมชวยลดระดับของกอนเมฆที่โตขึ้น จนกลั่นตัวเปนหยดน้ําฝน ตกลงในพื้นที่<br />

เปาหมายไดสําเร็จ<br />

โครงการพระราชดําริฝนหลวง เปนโครงการที่กอกําเนิดจากพระมหา<br />

กรุณาธิคุณ ที่ทรงหวงใยในความทุกขยากของพสกนิกรในทองถิ่นทุรกันดาร ที่ตอง<br />

ประสบปญหาขาดแคลนน้ํา เพื่ออุปโภคบริโภค และเกษตรกรรม อันเนื่องมาจาก<br />

ภาวะแหงแลง นอกจากนี้พระองคยังทรงเปนนักประดิษฐและนักวิทยาศาสตร<br />

ทรงพัฒนาโครงการตาง ๆ ดวยพระอัจฉริยภาพและพระปรีชาสามารถดานเทคโนโลยี<br />

โดยทรงคนคิด ทดลอง ดัดแปลง ปรับปรุง และแกไข ทั้งแนวคิดและแนวปฏิบัติ<br />

จนสัมฤทธิ์ผลในทางปฏิบัติ ดวยพระอัจฉริยภาพและพระปรีชาสามารถดังกลาว<br />

ไดกอเกิดเปนนวัตกรรมเปนจํานวนมาก ดังจะเห็นไดจากโครงการในพระราชดําริ<br />

และที่เปนสิ่งประดิษฐตาง ๆ หลายดาน ตัวอยางเชน<br />

การออกแบบสายอากาศ เพื่อใชกับวิทยุสื่อสารใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น<br />

เกษตรทฤษฎีใหม เปนการบริหารจัดการที่ดินเพื่อเกษตรกร ใหมีสภาพการ<br />

ใชงานที่สรางความยั่งยืนมากกวาการทําการเกษตร โดยไมมีการแบงสวนของที่ดิน<br />

เพื่อใชทําหนาที่เปนแหลงน้ํา และเพาะพันธุสัตวน้ํา ควบคูไปกับการเพาะปลูก เปน<br />

ตน ฯลฯ<br />

โครงการ "แกลงดิน" โดยทรงพบวา ดินพรุเปนดินเปรี้ยวจัด ไมสามารถใช<br />

ประโยชนได จึงมี พระราชดําริวาควรแกลงทําใหดินเปรี้ยวจนถึงที่สุดแลวทํา"วิศวกรรม<br />

2<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


ยอนรอย" หาทางปรับปรุงดินที่เปรี้ยวนั้น เพื่อจะไดรูวิธีแกไขและปองกันไมใหเกิด<br />

สภาพเปรี้ยวแบบที่เคยเปน จากนั้นจึงปรับปรุงดินเปรี้ยวโดยวิธีการตางๆ ใหพื้นดิน<br />

กลับฟนคืนสภาพสามารถทําการเพาะปลูกไดอีกครั้งหนึ่ง<br />

เทคโนโลยีคอมพิวเตอร ไดแก การประดิษฐตัวอักษรไทยดวยคอมพิวเตอร<br />

แบบจิตรลดาและแบบภูพิงค โปรแกรมคอมพิวเตอรที่ใชพิมพตัวอักษรไดทั้งภาษา<br />

สันสกฤต ภาษาไทยและโปรแกรมตัวอักษรเทวนาครี พระไตรปฎกฉบับคอมพิวเตอร<br />

ตลอดจนนวัตกรรมดาน เทคโนโลยีการสื่อสาร อุตุนิยมวิทยา การอนุรักษดินและน้ํา<br />

โดยการปลูกหญาแฝก ฝายชะลอความชุมชื้น ปาไมสาธิต การปลูกปาทดแทน<br />

การอนุรักษและการพัฒนาปาชายเลนและปาพรุ การแกปญหาน้ําเค็มจากการทํานา<br />

เกลือ เทคโนโลยีการบําบัดน้ําเสียดวยเครื่องกล สารเคมี และกระบวนการทาง<br />

ธรรมชาติ เปนตน ดวยพระอัจฉริยภาพและพระปรีชาสามารถ ตลอดจนพระวิสัยทัศน<br />

อันกวางไกลของพระองคดังประจักษแกพสกนิกรชาวไทยและชาวโลก นับเปน<br />

พระมหากรุณาธิคุณเปนลนพนแกชาวไทยทั้งมวล คณะรัฐมนตรีเห็นชอบให<br />

เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ในฐานะที่ทรงเปน “พระบิดาแหง<br />

เทคโนโลยีของไทย” และกําหนดใหวันที่ 19 ตุลาคมของทุกป เปน “วันเทคโนโลยีของ<br />

ไทย” ในวโรกาสอันเปนมงคลยิ่งที่วันเทคโนโลยีของไทยเวียนมาบรรจบครบรอบ<br />

ในปนี้ ประชาชนชาวไทยไดนอมรําลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จ<br />

พระเจาอยูหัวที่พระองคไดทรงพัฒนาเทคโนโลยีตาง ๆ ที่สามารถนํามาใชแกปญหา<br />

ตาง ๆ เพื่อประโยชนสุขของประชาชนตลอดมา ทําใหประชาชนไดมีชีวิตความเปนอยู<br />

ที่ดีขึ้นสงผลตอคุณภาพชีวิตที่ดีตอ ๆ ไป<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 3


แหลงอางอิง<br />

กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. รายงานประจําปกระทรวงวิทยาศาสตรและ<br />

เทคโนโลยี 2548. โรงพิมพ บริษัท รําไทยเพรส จํากัด.<br />

ชาติบุตร บุณยะจิตติ. โครงการในพระราชดําริ. นิกสสรรคสรางโลกใหม. ปที่ 10(120),<br />

หนา 8-10.<br />

เย็นใจ เลาหวณิช. พระบิดแหงเทคโนโลยีของไทย. วารสารไทย. ปที่ 22 (79), หนา 4-10.<br />

4<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


บรรจุภัณฑอาหารในอนาคต<br />

สวามินี ธีระวุฒิ<br />

การเก็บอาหารไวสําหรับการบริโภคในระยะยาวไดมีมาตั้งแตยุคดึกดํา<br />

บรรพ โดยมนุษยเริ่มใชภาชนะที่ทําจากวัสดุธรรมชาติ เชน ใบไม กะลา หนังสัตว<br />

และดิน ตอมาไดวิวัฒนาการมาเปนภาชนะประเภทเครื่องปนดินเผา ถังไม เซรามิค<br />

แกว โลหะ เรื่อยมาจนถึงวัสดุสังเคราะหหลายหลากชนิด เชน พลาสติก เนื่องจาก<br />

กระบวนการผลิตสามารถผลิตไดครั้งละมาก ๆ ราคาตนทุนตอหนวยต่ํา และ<br />

สามารถกันความชื้นได แตอยางไรก็ตามในยุคปจจุบันหนาที่ของบรรจุภัณฑมีความ<br />

หลากหลายมากขึ้น ไดแก 1. เปนภาชนะบรรจุสําหรับผลิตภัณฑตาง ๆ 2. ถนอมและ<br />

ปองกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นตอผลิตภัณฑ 3. ชวยใหการนําผลิตภัณฑมาใชได<br />

อยางสะดวก 4. เปนสื่อกลางในการใหขอมูลสําคัญแกผูบริโภคและเพื่อการตลาด<br />

และ 5. คือบรรจุภัณฑตองมีรูปแบบและคุณสมบัติเหมาะสมในการผลิตดวย<br />

เครื่องจักร<br />

ปจจุบันพัฒนาการของบรรจุภัณฑไดเปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็วสืบเนื่อง<br />

จากอิทธิพลของความตองการของมนุษยในยุคที่ตองแขงขันกับเวลา คนสวนใหญไม<br />

มีเวลาที่จะมาปรุงแตงอาหารหรือพิถีพิถันกับการบริโภค ดังนั้นอาหารจานดวน<br />

อาหารแชแข็ง จึงเปนที่นิยมอยางมาก เพียงนําเขาเครื่องไมโครเวฟ 1-2 นาที ก็สามารถ<br />

รับประทานได ซึ่งจากคานิยมดังกลาวนี้เอง ทําใหอุตสาหกรรมอาหารเติบโตอยาง<br />

รวดเร็ว การแขงขันนอกจากจะขึ้นอยูกับรสชาติของอาหารแลวยังขึ้นอยูกับรูปลักษณ<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 5


ของผลิตภัณฑดวย บรรจุภัณฑนับวามีอิทธิพลอยางมากในการดึงดูดความสนใจ<br />

ของลูกคา อยางไรก็ตามบรรจุภัณฑอาหารที่ดีควรสะดวกตอการใชงาน ปองกัน<br />

ความเสียหายที่จะเกิดกับผลิตภัณฑ มีอายุใชงานนาน ไมเปนอันตรายตอผูบริโภค<br />

ชวยเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการผลิตผลิตภัณฑอาหาร ชวยปรับปรุงรูปลักษณ<br />

ของผลิตภัณฑ งายตอการติดฉลาก ไมกอใหเกิดปญหาตอสิ่งแวดลอม<br />

จากแนวโนมดังกลาวผลักดันใหนักวิทยาศาสตรพยายามคิดคนวัสดุใหม<br />

ขึ้นมาทดแทนเพื่อชวยปรับปรุงคุณภาพของบรรจุภัณฑอาหาร โดยมีการพัฒนาฟลม<br />

หออาหารที่เติมสารธรรมชาติที่สามารถปองกันแบคทีเรีย เชน ไคโตซาน หรือการ<br />

พัฒนาฟลมหออาหารที่สามารถบริโภคได เชน ฟลมที่ทําจากโปรตีนไขขาวผสมกับ<br />

ไคโตซาน ซึ่งคิดคนโดยนักวิทยาศาสตรจากประเทศสหรัฐอเมริกา ปจจุบันไดทําการ<br />

จดลิขสิทธิ์แลว เพียงแคจุมผลิตภัณฑอาหาร ผัก ผลไมลงในสารละลายผสม แลว<br />

ปลอยใหแหงในอากาศ สารดังกลาวจะเกิดเปนฟลมบางเคลือบที่ผิวของผลิตภัณฑ<br />

จากการทดลองพบวาสารนี้สามารถชวยปองกันการสูญเสียของสารอาหารและ<br />

คงความสดใหมของอาหารไดนานขึ้น นอกจากนี้ยังมีการใชสารยับยั้งการเจริญเติบโต<br />

ของจุลินทรียในบรรจุภัณฑอาหาร เพื่อปกปองตัวบรรจุภัณฑหรือวัตถุดิบที่ใชผลิต<br />

บรรจุภัณฑจากจุลินทรีย และยังมีสวนชวยปกปองอาหารที่อยูในบรรจุภัณฑจาก<br />

จุลินทรียดวย สารดังกลาวสวนใหญสามารถใชกับอาหารไดไมเปนอันตรายถาใชใน<br />

ปริมาณที่พอเหมาะ แตทั้งนี้ตองคํานึงถึงวาสารนั้นจะไมสงผลกระทบกับอาหารที่อยู<br />

ในบรรจุภัณฑดวย ตัวอยางของการใชสารยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรียใน<br />

บรรจุภัณฑอาหาร เชน การใชนิซิน ซึ่งเปนสารยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย<br />

เปนองคประกอบในโพลิเมอรที่ใชผลิตบรรจุภัณฑอาหารหรือการใชในรูปการเคลือบ<br />

บรรจุภัณฑ<br />

การบรรจุแบบวินิจฉัย เปนรูปแบบหนึ่งของการบรรจุแบบอัจฉริยะที่<br />

สามารถพัฒนาตอไปไดในเชิงธุรกิจ วัสดุบรรจุแบบวินิจฉัยจะใชขอมูลภายในบรรจุ<br />

6<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


ภัณฑอาหารซึ่งผูบริโภคไมสามารถรับรูไดจากภายนอกมาแสดงใหผูบริโภครับรูถึง<br />

คุณภาพของผลิตภัณฑอาหารภายในโดยผานตัวชี้วัด ซึ่งวัสดุบรรจุนี้สามารถสราง<br />

ประโยชนใหแกผูบริโภค เชน ความสะดวก ความปลอดภัยอาหารและคุณภาพของ<br />

ผลิตภัณฑ ตัวอยางของวัสดุบรรจุแบบวินิจฉัย ไดแก ตัวชี้วัดเวลาและอุณหภูมิ<br />

ตัวชี้วัดกาซ ตัวชี้วัดชีวภาพ ตัวชี้วัดความพรอมในการบริโภค ตัวชี้วัดการสุกของ<br />

ผลไม และตัวชี้วัดการเนาเสียของอาหาร เปนตน หลักการทํางาน คือ ตัวชี้วัดจะอาศัย<br />

ขอมูลภายในบรรจุภัณฑ เชน สารเมตาบอไลท ไดแก กาซชนิดตาง ๆ (คารบอนไดออกไซด<br />

ซัลเฟอรไดออกไซด แอมโมเนีย) กรดอินทรีย แอลกอฮอล หรือเอมีน เปนตน ซึ่งเปน<br />

สารที่เกิดจากการเจริญเติบโตของจุลินทรียในอาหาร ตัวอยางตัวชี้วัดการเนาเสีย<br />

ของอาหารทางการคา เชน สารประกอบเชิงซอนกลุมโครโมฟอรหรือกลุมแพลทตินัม<br />

เมทัลฟลูออโรฟอร ใสเขาไปในแถบตัวชี้วัด เมื่อมีกาซที่เกิดจากการเนาเสียของ<br />

อาหารที่ประกอบดวยธาตุกํามะถันหรือไนโตรเจน สารประกอบดังกลาวจะเปลี่ยนสี<br />

ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกลาวจะไมผันกลับ ตัวชี้วัดการเนาเสียของอาหารสามารถ<br />

นํามาประยุกตใชกับอาหารที่ผานกระบวนการแปรรูปขั้นต่ํา อาหารกลุมเนื้อสัตวสด<br />

จําพวกเนื้อวัว เนื้อหมู เนื้อไก อาหารทะเล ขนมอบ ผักและผลไมตัดแตง เปนตน ซึ่ง<br />

ตัวชี้วัดการเนาเสียของอาหารนี้เองจะเปนเครื่องมือสําหรับผูบริโภคเพื่อใชในการ<br />

ตัดสินใจวาควรจะซื้อบริโภคหรือไม และสําหรับผูผลิตสามารถใชในการควบคุม<br />

คุณภาพหลังการผลิต และระหวางการจําหนายได<br />

นอกจากการพัฒนาบรรจุภัณฑที่สอดคลองกับความตองการและพฤติกรรม<br />

ของผูบริโภคแลว ยังตองสอดคลองกับกฎระเบียบและมาตรฐาน โดยเฉพาะในประเด็น<br />

เกี่ยวกับสิ่งแวดลอม ซึ่งปจจุบันทุกประเทศตางใหความสําคัญ และประกาศเปน<br />

ขอกําหนดสําหรับบรรจุภัณฑดวย เชน บรรจุภัณฑตองประกอบขึ้นจากวัสดุที่ผาน<br />

การทดสอบแลววาปลอดภัย เหมาะแกการใชซ้ําและการรีไซเคิล การเผาคืนพลังงาน<br />

หรือการหมักเปนปุย และเมื่อบรรจุภัณฑถูกนํามาทิ้ง บรรจุภัณฑนั้นควรมีผลกระทบ<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 7


ตอสิ่งแวดลอมนอยที่สุด รวมถึงการกําหนดใหทําเครื่องหมายระบุชนิดของวัสดุที่ใช<br />

ทําบรรจุภัณฑ เพื่อชวยใน การจัดเก็บ คัดแยก ใชซ้ํา และการรีไซเคิลขยะบรรจุภัณฑ<br />

ใหสะดวกขึ้นดวย<br />

แหลงอางอิง<br />

โครงการวิจัยการพัฒนาวิธีการวิเคราะหเพื่อประเมินการปนเปอนจากบรรจุภัณฑ<br />

อาหาร. 2552. ความสําคัญและวิวัฒนาการของบรรจุภัณฑอาหาร.สืบคน<br />

จาก http://pack.cutip.net/foodcon/gen.php (วันที่คนขอมูล 20 มิถุนายน<br />

2552)<br />

ตัวชี้วัดการเนาเสียของอาหาร : ประเด็นความปลอดภัยอาหาร. 2006. Food Focus<br />

Thailand 1(1): P 24 – 26.<br />

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย. 2552. วัตถุเจือปนในบรรจุ<br />

ภัณฑอาหาร. สืบคนจาก http://www.tistr-foodprocess.net/download/<br />

article/additive_th.htm (วันที่คนขอมูล 20 มิถุนายน 2552)<br />

8<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


ตําลึง ผักริมรั้วสารพัดประโยชน<br />

เกศราภรณ จันทรประเสริฐ<br />

ตําลึงผักพื้นบานขึ้นอยูตามริมรั้ว ปลูกงาย หาซื้อตามทองตลาดก็ราคา<br />

ยอมเยา มีคุณประโยชนมาก ซึ่งสามารถกินไดตั้งแตตน ใบ ไปจนถึงผล ตําลึงมีชื่อ<br />

เรียกตามภาษาถิ่นหลายชื่อดวยกัน ทาง(ภาคกลาง) เรียกวา ตําลึง สี่บาท ผักแคบ<br />

(ภาคเหนือ) ผักตํานิน (ภาคอีสาน) แคเดาะ (กระเหรี่ยงและแมฮองสอน) มีชื่อ<br />

วิทยาศาสตรวาคอกซิเนีย แกรนดิส (Coccinia grandis L) ลักษณะทั่วไป ตําลึงเปน<br />

พืชเถาเลื้อย มีมือเกาะยื่นออกมาที่ขอเปนเสนยาวและมวนงอได ดอกมีสีขาวเปน<br />

ดอกเดี่ยวและดอกคู มีลักษณะเปนรูประฆัง ออกดอกตรงที่ซอกใบ ใบเปนใบเดี่ยว<br />

เรียงสลับ มีลักษณะเปน 3 แฉก หรือ 5 แฉก กวางและยาวประมาณ 4-8 ซม. โคนใบ<br />

เวาเปนรูปหัวใจ ผลเปนผลสดรูปทรงกระบอก วาดวยเรื่องกินผักเปนเรื่องดีอยูแลว<br />

เพราะตําลึงมีคุณคาทางอาหารสูงไมวาจะเปนแคลเซียม เหล็ก ฟอสฟอรัส โปรตีน<br />

ไนอะซีน วิตามินบี 1 บี 2 วิตามินซี สวนกากใยมีผลตอการขับถาย และที่สําคัญมี<br />

วิตามินเอในรูปของเบตา-แคโรทีนที่สามารถปองกันมะเร็งได สวนใหญจะใชยอด<br />

ออน ลําตนออน หรือใบและผลมาทําอาหาร เมนูที่เปนที่นิยมของคนไทยจะเปนแกง<br />

เลียง กวยเตี๋ยวตําลึง แกงจืดตําลึงหมูสับ ยําผักตําลึง น้ําตําลึงดื่มดับกระหาย<br />

รวมถึงตําลึงลวกหรือนึ่งรับประทานกับน้ําพริก สวนผลที่ยังดิบเปนสีเขียวไมใสแกง<br />

ก็กินกับสลัด<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 9


นอกจากนี้แลวตําลึงยังมีสรรพคุณทางยา ดวยตําลึงมีวิตามินซี เอ<br />

และเบตาแคโรทีนสูง จึงชวยตานการเปนมะเร็ง บํารุงผิวพรรณ บํารุงสายตา มี<br />

แคลเซียมสูง ชวยบํารุงกระดูกและฟน มีธาตุเหล็กมากชวยสรางเม็ดเลือด มีโปรตีน<br />

ไขมัน คารโบไฮเดรต ที่ใหกําลังและบํารุงรางกาย สวนใบและเถามีน้ํายอยชื่อ<br />

อะมายเลส (amylase) และใบสดนํามาตําเปนยาพอกแกผดผื่น แกอักเสบ ลดอาการ<br />

คันจากแมลงสัตวกัดตอย ชวยปองกันโลหิตจาง โรคมะเร็ง และหัวใจขาดเลือดจาก<br />

ประสบการณตรงของดิฉันที่มีบุตรวัย 8 เดือน ซึ่งอยูในวัยคืบคลานถูกมดคันไฟกัด<br />

คุณยายไดนําใบมาขยี้และถูบริเวณที่ถูกกัด เห็นผลไดทันทีวาการอักเสบหายไป<br />

เหลือเพียงแตจุดแดงเล็ก ๆ เทานั้น จากการศึกษาการใชใบตําลึงรักษาแมลงกัดตอย<br />

ของเรืออากาศหญิงพัตรา สมิตติพัฒน หัวหนากลุมงานคุมครองผูบริโภคและสาธารณสุข<br />

สํานักงานสาธารณสุข จังหวัดนครปฐม พบวาใบตําลึงนั้นสามารถชวยใหผูปวยที่<br />

ไดรับพิษจากสัตวปก มดตะนอย มดคันไฟ ซึ่งผูปวยที่ใชจะหายจากอาการและมี<br />

อาการดีขึ้น คุณสมบัติในแตละสวนของตําลึง นั่นคือ<br />

ดอกตําลึง: ใชแกคัน<br />

เมล็ด: นํามาตําผสมกับน้ํามะพราวใชแกหิด<br />

หัว: มีคุณสมบัติดับพิษตางๆ<br />

ใบ: ใชเปนยาพอกรักษาโรคผิวหนัง แกทองอืด รักษาผื่นคันที่เกิดจากพิษ<br />

ของหมามุย ตําแย บุงราน ใชเปนยาเขียว แกไขดับพิษรอน ถอนพิษทั้งปวง แกแมลง<br />

กัดตอย แกไขหวัด แกพิษกาฬ แกเริม แกงูสวัด แกพิษฝ<br />

ตน: ใชกําจัดกลิ่นตัว น้ําจากตนรักษาเบาหวาน<br />

เถา: แกฝทําใหฝสุก พอกฝ แกปวดตา แกตาเจ็บ ตาแดง ตาฝา ตาแฉะ<br />

เปนยารักษาโรคผิวหนัง แกเบาหวาน และแกอาการวิงเวียนไดถานําไปชงในน้ําดื่ม<br />

ราก: แกดวงตาเปนฝา ลดความอวน แกไขทุกชนิด แกพิษอักเสบ แกรอน<br />

ใน แกพิษแมงปอง<br />

10<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


ผล: แกฝแดงทั้งหา รักษาโรคผิวหนัง รักษาอาการอักเสบของหลอดลม<br />

รักษาเบาหวาน<br />

และจากประสบการณที่ไดรับมา จึงขอนําเอาประโยชนทางยาของสวนใบ<br />

มาเลาสูทานฟงถึงวิธีการนําใบตําลึงมาใชนั้น ทําไดโดยลางบริเวณที่ถูกพิษสัตวให<br />

สะอาดเสียกอน เด็ดใบตําลึงสด อายุของใบไมแกจัดหรือออนจนเกินไป มาลางให<br />

สะอาดขยี้จนเละ นําใบที่ขยี้ปดบริเวณที่แมลงกัดตอยจะรูสึกเย็น ถารูสึกดีขึ้นแตไม<br />

หายภายใน 15 นาที ใหเปลี่ยนใบตําลึงทําบอย ๆ จนหาย หากบริเวณที่ปดดวยใบ<br />

ตําลึงมีอาการอื่นนอกจากรูสึกเย็น แสดงวาแพ ใหรีบลางออก แลวใชยาแผนปจจุบัน<br />

ตอไป จะเห็นวาตําลึงผักริมรั้วนี้มีประโยชนนานัปการ ดังที่กลาวมา อีกทั้งการ<br />

ขยายพันธุก็ทําไดแสนงาย โดยการเพาะเมล็ดหรือปลูกดวยเถา ซึ่งวิธีปลูกดวยเมล็ด<br />

นั้นใหนําลูกตําลึงสุกมาแกะเอาแตเมล็ดและนําไปเพาะเปนตน แลวจึงนําไปปลูกลง<br />

แปลงซึ่งการเพาะเมล็ดจะใชเวลานานกวาการปลูกดวยเถา แตถานําเถามาปลูกก็<br />

ควรตัดใหสั้นประมาณ 7 นิ้ว นําไปชําไวในกระถางชํา หรือจะปลูกลงดินเลยก็ได<br />

ควรจะปลูกชวงฤดูฝน เพราะตําลึงจะงอกไดรวดเร็วกวาชวงอื่น ๆ เพราะถายิ่งเก็บ<br />

ยอดออนมากเทาใด ยอดใหมก็จะแตกมากเทานั้น ตําลึงไมตองบํารุงรักษามาก<br />

เนื่องจากเปนพืชพื้นบานที่คอนขางทนทานและสามารถปรับตัวเขากับสภาพแวดลอม<br />

เปนอยางดี เรียกวาขึ้นงาย ตายยาก การบํารุงใหตําลึงงอกงามดี ยอดอวบ มีไวกินได<br />

นาน ๆ ก็ควรรดน้ําพรวนดินและใสปุยมูลสัตว<br />

ทานผูฟงคะเมื่อไดทราบคุณประโยชนและสรรพคุณของตําลึงขนาดนี้แลว<br />

มาปลูกตําลึงกันไวติดบานกันทุกครัวเรือนดีไหม เพราะผักดี ๆ แบบนี้หาไมไดงาย ๆ<br />

แบบปลูกแลวปลูกเลย ในหนาฝนก็เติบโตไดไว ปราศจากโรคหรือแมลงรบกวน<br />

ปลอดภัยสําหรับทุกชีวิตในบานคะ<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 11


แหลงอางอิง<br />

มะปราง คุณคาผักคืออาหารและยาอายุวัฒนะ. 2548. กรุงเทพฯ : ไพลินบุคเน็ต.<br />

หนา 144.<br />

วราภรณ วิชญฐ.2548. ไมเลื้อยกินได. สุรีวิยาสาสน หนา 120.<br />

ปาสงวน.2545. ผักสวนครัวไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพตั้งตรงฮวด.หนา 43.<br />

วารสารอาหารและยา ฉบับเดือน พ.ค-ส.ค 2542<br />

http://www.tungsong.com/sawunpai/drug/22_Tumlung/Index_Tumlung.html<br />

เขาถึงเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2552.<br />

12<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


โรคนิ้วล็อค<br />

นงนุช ตั้งเกริกโอฬาร<br />

ทานผูฟงที่เคารพคะ มือเปนอวัยวะสําคัญที่จําเปนตอการดํารงชีวิตและ<br />

สรางสรรคสิ่งตาง ๆ มากมาย ในแตละวันมนุษยเราใชมือประกอบกิจกรรมมากมาย<br />

ความแตกตางของอาชีพ เพศ และวัย เปนปจจัยสําคัญที่ทําใหกิจกรรมการใชมือนั้น<br />

แตกตางกันออกไป ทานผูฟงทราบไหมคะวา ผูที่ใชมือประกอบกิจกรรมที่ซ้ําๆ และ<br />

รุนแรงบอย ๆ อาจนําไปสูอาการบาดเจ็บภายในของมือ ซึ่งอาจนําไปสูการเกิดความ<br />

ผิดปกติของมือ อาการบาดเจ็บหรือผิดปกติของมือที่เกิดขึ้นไดบอยที่สุดในปจจุบัน<br />

คือ อาการปวดนิ้วหรืออาการนิ้วล็อค ซึ่งจัดเปนโรคชนิดหนึ่ง ที่รูจักกันทั่วไปวา “โรค<br />

นิ้วล็อก” นั่นเอง<br />

“โรคนิ้วล็อค” เปนโรคที่ผูปวยสามารถกํามืองอนิ้วได แตเวลาเหยียดนิ้วออก<br />

นิ้วใดนิ้วหนึ่งเกิดเหยียดไมออกเหมือนโดนล็อคไว ถาเรียกกันใหถูกตองแลว โรคนี้<br />

ตองเรียกวา โรคนิ้วเหนี่ยวไกปน (Trigger Finger) โรคนิ้วล็อก หรือโรคนิ้วเหนี่ยวไกปน<br />

เปนโรคที่เกิดขึ้นจากการใชงานของมือ สามารถเกิดขึ้นไดกับคนทุกเพศทุกวัย<br />

ทุกสาขาอาชีพ ตั้งแตเด็กจนถึงผูสูงอายุ โดยเฉพาะกลุมคนที่ตองใชมือและนิ้ว<br />

ทํางานหนัก ตองใชมือจับสิ่งของ หรืออุปกรณตาง ๆ อยางตอเนื่องบอย ๆ หรือพวก<br />

ที่มีพฤติกรรมการใชมือที่รุนแรง ไมนิยมใชเครื่องทุนแรง ทํางานฝมือ งานชาง ดวย<br />

มือเปลา ไมใสถุงมือ ในผูชายมักพบในอาชีพที่ตองใชมือทํางานหนัก ๆ ซ้ํา ๆ เชน คน<br />

สงแกส คนสงน้ํา คนทําสวนใชกรรไกรตัดกิ่งไม ใชจอบเสียม มีดฟนตนไม ชางที่ตอง<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 13


ใชไขควง สวาน สวนในผูหญิงมักพบมากในผูหญิงสูงอายุ โดยสวนใหญรอยละ 80<br />

จะเกิดในผูหญิงกลุมอายุ 45 ปขึ้นไป โดยเฉพาะอยางยิ่งแมบานที่ทํางานบานเอง ใช<br />

มือทํางานหนัก เชน หิ้วจายตลาด ใชนิ้วมือเกี่ยวถุงพลาสติกดวยนิ้วเพียง 1 นิ้ว หรือ<br />

2 นิ้ว หิ้วเดินเปนระยะทางไกล ๆ นาน ๆ หิ้วยกของหนักเปนประจํา หิ้วถังน้ําและบิด<br />

ผา เปนตน<br />

นิ้วล็อก เปนโรคที่ เกิดจากการอักเสบของเสนเอ็นและปลอกหุมเสนเอ็น<br />

ที่ใชในการงอขอนิ้วมือ ซึ่งโดยปรกติแลวเสนเอ็นที่ใชงอขอนิ้วมือจะทอดผานบริเวณ<br />

นิ้วมือโดยลอดผานปลอกหุมเสนเอ็นซึ่งทําหนาที่ยึดเสนเอ็นใหแนบติดกับกระดูก<br />

ทําใหเสนเอ็นไมโกงตัวออกเมื่องอนิ้ว ในขณะที่นิ้วเคลื่อนไหว เสนเอ็นที่นิ้วมือก็จะถูก<br />

ดึงเสียดสีไปมากับปลอกหุมเสนเอ็น การใหมือทํางานหนักๆ อยูซ้ําๆ เปนระยะเวลา<br />

นานทําใหเกิดการเสียดสี จนทําใหเสนเอ็นหนาแข็งตัวเสียความยืดหยุน ทําใหเอ็น<br />

ไมสามารถลอดผานปลอกหุมเอ็นได บางรายพบวามีการหนาตัวขึ้นของปลอกหุม<br />

เสนเอ็น ซึ่งอยูตรงบริเวณฝามือตรงตําแหนงโคนนิ้ว เกิดเปนพังผืด หดรั้งและขวาง<br />

การเคลื่อนตัวของเสนเอ็น เมื่อเสนเอ็นและปลอกหุมเอ็นมีการอักเสบ จะบวมและ<br />

หนาตัวขึ้นทําใหมีอาการเจ็บบริเวณเสนเอ็น และเมื่อขยับเสนเอ็น เสนเอ็นที่บวมจะ<br />

ลอดผานปลอกหุมเสนเอ็นไดลําบากทําใหเกิดอาการนิ้วล็อก<br />

อาการของโรคนิ้วล็อก แบงเปน 4 ระยะ คือ ระยะแรก มีอาการปวดเปนอาการหลัก<br />

โดยจะมีอาการปวดบริเวณโคนนิ้วมือ และจะมีอาการปวดมากขึ้น ถาเอานิ้วกด<br />

บริเวณฐานนิ้วมือดานหนา แตยังไมมีอาการติดสะดุด ระยะที่สองมีอาการสะดุด<br />

(triggering) เปนอาการหลัก และอาการปวดก็มักจะเพิ่มมากขึ้นดวย เวลาขยับนิ้ว<br />

งอ และเหยียดนิ้ว จะมีการสะดุดจนรูสึกได ระยะที่สาม มีอาการติดล็อคเปนอาการ<br />

หลัก โดยเมื่องอนิ้วลงไปแลว จะติดล็อคจนไมสามารถเหยียดนิ้วออกเองได ตองเอา<br />

มืออีกขางมาชวยแกะ หรืออาจมีอาการมากขึ้นจนไมสามารถงอนิ้วลงไดเอง ระยะที่<br />

สี่ มีการอักเสบบวมมาก จนนิ้วบวมติดอยูในทางอเล็กนอย ไมสามารถเหยียดใหตรง<br />

14<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


ได ถาใชมือมาชวยเหยียดจะปวดมาก นิ้วล็อคมักเกิดกับมือขางถนัดที่ใชงาน นิ้วที่<br />

เปนบอยไดแก นิ้วหัวแมมือ นิ้วกลาง และนิ้วนาง อาจเปนเพียงนิ้วเดียว หรือเปน<br />

พรอมกันหลายนิ้วก็ได และอาจเปนที่มือขางเดียวหรือทั้ง 2 ขางก็ได อาการมักจะ<br />

เปนมากตอนเชา เมื่อใชมือไประยะหนึ่งถึงกํามือไดมากขึ้น<br />

วิธีการรักษาโรคนิ้วล็อค มีหลายวิธีแลวแตระยะเวลาหรืออาการ ที่เปน<br />

ผูปวยที่มาพบแพทยและมีอาการยังไมมาก แพทยจะใชวิธีการรักษาโดยไมผาตัดเชน<br />

ถามีอาการปวดเวลางอหรือเหยียดนิ้วหรือกํามือไมคลองก็ใชวิธีกินยาแกการอักเสบ<br />

ที่ไมใชสเตียรอยด เพื่อลดการอักเสบ ลดบวม และลดอาการปวด รวมกับพักการใช<br />

มือ การทํากายภาพบําบัดเพื่อลดอาการปวดและบวมของเสนเอ็น ไดแก การใช<br />

เครื่องดามนิ้วมือ การนวดเบา ๆ การใชความรอนประคบ การออกกําลังกายเหยียด<br />

นิ้ว การแชพาราฟน โดยการรักษาดวยยาและกายภาพบําบัด อาจใชรวมกันได และ<br />

มักใชไดผลดีเมื่อมีอาการของโรคในระยะแรก และระยะที่สอง การฉีดยาสเตียรอยด<br />

เขาในเยื่อหุมเสนเอ็นบริเวณตําแหนงที่เปน เพื่อลดการอักเสบ ลดปวดและลดบวม<br />

เปนการรักษาที่มีประสิทธิภาพคอนขางมาก สวนมากมักจะหายเจ็บ บางรายอาการ<br />

ติดสะดุดจะดีขึ้น แตการฉีดยามักถือวาเปนการรักษาแบบชั่วคราว และขอจํากัดก็คือ<br />

ไมควรฉีดยาเกิด 2 หรือ 3 ครั้ง ตอ 1 นิ้วที่เปนโรค เพราะอาจทําใหเสนเอ็นขาดได<br />

การรักษาโดยการฉีดยานี้สามารถใชไดกับอาการของโรคตั้งแตระยะแรกจนถึงระยะ<br />

ทาย ถามีอาการยึดติดที่รุนแรง หรือนิ้วติดล็อก กินยาและฉีดยาไมไดผล การรักษา<br />

โดยการผาตัด ถือวาเปนการรักษาที่ดีที่สุดในแงที่จะไมทําใหกลับมาเปนโรคอีก<br />

แพทยจะทําการผาตัดโดยการตัดปลอกหุมเสนเอ็นที่หนาอยูใหเปดกวางออก เพื่อให<br />

เสนเอ็นเคลื่อนผานไดโดยสะดวก ไมติดขัดหรือสะดุดอีก ทั้งนี้ การผาตัดแบงออกได<br />

เปน 2 วิธี คือ การผาตัดแบบเปด เปนวิธีมาตรฐาน ที่ควรทําในหองผาตัด โดยฉีดยา<br />

ชาเฉพาะที่ผาตัดเสร็จก็กลับบานได หลังผาตัดหลีกเลี่ยงการใชงานหนัก และการ<br />

สัมผัสนิ้ว ประมาณ 2 สัปดาห อีกวิธีเปนการผาตัดแบบปด โดยการใชเข็มเขี่ยหรือ<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 15


สะกิดปลอกหุมเอ็นออก โดยแทบไมมีแผลใหเห็น โดยวิธีนี้อาจมีผลแทรกซอนไดถา<br />

ไปเขี่ยหรือสะกิดถูกเสนประสาท ดังนั้น จึงไมแนะนําสําหรับนิ้วที่มีโอกาสเสี่ยงตอ<br />

การบาดเจ็บของเสนประสาทสูง คือ นิ้วหัวแมมือ และนิ้วชี้ และการผาตัดแบบปดนี้<br />

ใชไดสําหรับคนไขที่มีอาการของโรคตั้งแตระยะที่สองขึ้นไป<br />

ทานผูฟงที่เคารพคะ นิ้วล็อก เปนภัยเงียบ มีสาเหตุ ปองกัน และรักษาให<br />

หายขาดได ดังนั้น ทานผูฟงควรตระหนัก และพยายามลดความเสี่ยงของการใชมือ<br />

ผิด ๆ ซื่งสามารถปองกันได โรคนิ้วล็อกนั้น หากมีอาการแลว จะรูสึกเจ็บปวดทรมาน<br />

มาก เสียนิ้วมือ หนึ่งนิ้ว เสมือนเสียมือ หนึ่งขาง เปนอุปสรรค ในการดําเนินชีวิตอยาง<br />

ปกติสุข ฉะนั้น "กันไวยอมดีกวาแก" นะคะ<br />

แหลงอางอิง<br />

ชานิดา แสงสุริย.2549. นิตยสารชีวจิต ปที่ 8 ฉบับ 16 มิถุนายน 2549<br />

สุรเกียรติ อาชานานุภาพ. 2549. นิตยสารหมอชาวบาน เลมที่ 344 เดือนธันวาคม 2549<br />

อดิศร ภัทราดูลย. 2549. คอลัมน “พบแพทย จุฬาฯ” หนังสือพิมพมติชน ฉบับวันศุกร<br />

ที่ 31 มีนาคม 2549<br />

16<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


กินแลวสวย แนวทางสงเสริมการขายแบบใหม<br />

สวามินี ธีระวุฒิ<br />

กอนหนานี้คําวาอาหารเพื่อสุขภาพไดถูกนําไปใชโฆษณาเพื่อทําการตลาด<br />

เพื่อใหเขาถึงผูบริโภคที่พิถีพิถันในการเลือกซื้ออาหาร ทําใหอาหารและเครื่องดื่ม<br />

หลายชนิดขายดีอยางที่ไมเคยมีมากอน เชน ชาเขียว และงาดํา แตมาวันนี้นักการ<br />

ตลาดไดสรางนิยามของอาหารรูปแบบใหมขึ้นมากระตุนความตองการในตลาด<br />

เรียกวา “อาหารเพื่อความงาม” ซึ่งความเคลื่อนไหวของอาหารเพื่อความงามในตลาดโลก<br />

กําลังเจริญเติบโตอยางรวดเร็ว คานิยมของผูบริโภคในตอนนี้ไดปรับเปลี่ยน<br />

พฤติกรรมการบริโภคอาหารจากเคยใหความใสใจเฉพาะอาหารที่บํารุงสุขภาพ หัน<br />

มาแสวงหาอาหารที่จะชวยเสริมสรางความงามจากภายในมากขึ้น ผูบริโภคยุค<br />

ปจจุบันยินดีที่จะเปลี่ยนแปลงอาหารที่บริโภคประจําวันทันที หากมีขอมูลที่ทําให<br />

ความเชื่อเดิมที่เคยมีเปลี่ยนไป เชน ทําใหสวยขึ้นทันตาเห็น ผานผิวหนาที่แดงเรื่อ<br />

หรือริ้วรอยหมองคล้ําที่ลดลง กลุมอาหารที่ถูกกระตุนอยางหนักเพื่อทําใหลูกคาเกิด<br />

ความเชื่อและหันมาบริโภคเพื่อความงาม 5 กลุมไดแก<br />

- กลุมที่ 1 อาหารที่นําแครอท น้ําสม มะมวง รวมทั้งผลไมและผักสีจัดจาน<br />

ทั้งหลายมาเปนสวนผสม เพราะสีสันที่จัดจานนั้นจะมีสวนผสมตาง ๆ รวมทั้งเบตา<br />

แคโรทีนที่มีผลตอตานการเหี่ยวยนและริ้วรอยซึ่งเปนผลดีตอผิวพรรณอยางมาก<br />

ในแครอท นอกจากจะมีเบตาแคโรทีน ที่มีอํานาจตอตานการเกิดเซลลมะเร็งไดเปน<br />

อยางดีและชวยใหตับขับสารพิษออกจากรางกายแลว ยังชวยลดระดับคลอเลสเตอรอล<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 17


ลดการเกิดภาวะหัวใจลมเหลว ชวยบํารุงเซลลผิวหนังและเสนผมใหมีสุขภาพดี มี<br />

วิตามินเอสูง ชวยลดการเสื่อมของตา มีสารตางๆ ที่เปนทั้งเกลือแรและวิตามินอีก<br />

มากมาย เชน แคลเซียม ฟอสฟอรัส เหล็ก วิตามินเอ บี1 บี2 และซี ในมะมวงและสม<br />

มีทั้งวิตามินซีและเบตาแคโรทีนสูง วิตามินซี นอกจากจะเปนสารตานอนุมูลอิสระ<br />

แลว ยังทําหนาที่เปนกาวชวยสรางคอลลาเจน ทําใหผิวพรรณเตงตึง ไมเหี่ยวยน<br />

แถมยังทําใหผิวหนังสะสมโปรตีนที่ชื่อวาอิลาสตินทําใหผิวหนังยืดหยุนไดดีขึ้น อีกทั้ง<br />

วิตามินซียังชวยสรางสื่อประสาทที่ชื่อวา นอรอะดีนาลีน ซึ่งควบคุมการไหลเวียนของ<br />

โลหิต และสารซีโรโทนินซึ่งชวยใหนอนหลับดวย<br />

- กลุมที่ 2 อาหารที่มีสวนผสมของถั่วและเมล็ดพืช เชน วอลนัท อัลมอนต<br />

และถั่วลิสง ที่ลวนแตมีโปรตีนและวิตามินบี อี และโอเมกา-3 ที่มีในปลา สวนผสม<br />

เหลานี้มีความสําคัญในการเสริมสรางเซลลที่สึกหรอและเหี่ยวยน เนื่องจากผนังของ<br />

เซลลตาง ๆ ในรางกายมีไขมันที่ไมอิ่มตัวเปนโครงสรางหลัก โครงสรางที่วานี้จะถูก<br />

ทําลายไดงายหากสัมผัสกับสารอนุมูลอิสระ วิตามินอีเปนสารตานการเกิดอนุมูล<br />

อิสระที่มีประสิทธิภาพ จึงปองกันการทําลายเซลล หรือลดความเสื่อมของอวัยวะ<br />

ตาง ๆ ที่มีสาเหตุมาจากอนุมูลอิสระได นอกจากนี้ยังชวยปกปองการเสื่อมสลายของ<br />

เยื่อหุมเซลลที่บุอยูตามอวัยวะตาง ๆ เชน ผิวหนัง ตา ตับ หลอดเลือดและเม็ดเลือด<br />

แดง ทําใหอวัยวะดังกลาวทํางานอยางมีประสิทธิภาพและมีความคงทนมากขึ้นดวย<br />

ในสวนของโอเมกา-3 นั้นสามารถบรรเทาอาการความดันโลหิตสูง รักษาระดับ<br />

คอเลสเตอรอลใหต่ํา ชวยลดระดับไตรกลีเซอรไรด ชวยหัวใจที่เตนผิดจังหวะใหเตน<br />

สม่ําเสมอขึ้น<br />

- กลุมที่ 3 อาหารที่มีสวนผสมของโยเกิรตที่เปนอาหารที่มีแบคทีเรียที่ชวย<br />

เรงระบบการยอยอาหารซึ่งชวยฟนฟูการทํางานของลําไส ลดการสะสมของแกสใน<br />

กระเพาะทําใหทองไมอืดและรางกายดูดซึมอาหารไดดีขึ้น นอกจากนั้นแคลเซียมที่มี<br />

ในโยเกิรตยังสงผลตอฮอรโมนที่เกี่ยวกับระบบการเผาผลาญไขมัน อีกทั้งในโยเกิรต<br />

18<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


ยังมีธาตุเหล็กที่เปนประโยชนตอการขจัดรอยหมองล้ําบนใบหนาไดอยางดี<br />

เนื่องจากธาตุเหล็กเปนสวนประกอบสําคัญของฮีโมโกลบิน ซึ่งอยูในไมโอโกลบินของ<br />

เม็ดเลือดแดงที่สงออกซิเจนไปยังกลามเนื้อ ธาตุเหล็กยังเปนสวนหนึ่งของเอนไซม<br />

และสารประกอบในภูมิคุมกัน และปองกันการเปนโรคโลหิตจางไดดวย<br />

- กลุมที่ 4 อาหารที่ปรุงจากน้ํามันมะกอกบริสุทธิ์ ที่ถูกนํามาประชาสัมพันธ<br />

วาเปนน้ํามันที่ดีตอความงามและไมกอใหเกิดไขมันเลว ที่ทําลายสุขภาพและรูปราง<br />

เพราะผูบริโภคไมตองเผชิญหนากับน้ํามันที่ผานการกลั่น ซึ่งยังไมดีพอตอความงาม<br />

เทียบกับน้ํามันมะกอกที่ใชวิธีการบีบเย็นในการผลิต อีกทั้ง ในน้ํามันมะกอกยัง<br />

ประกอบดวยวิตามินเอ และอี ที่เปนสารตานอนุมูลอิสระชวยชะลอการเกิดริ้วรอย<br />

ตาง ๆ ได<br />

- กลุมที่ 5 ลงทายดวยเบอรี่ทั้งหลายอยางสตอเบอรรี่ แครนเบอรรี่<br />

ราสเบอรรี่ บลูเบอรรี่ เปนกลุมที่มีสวนผสมทางเคมีที่ลงตัว อยางสตรอเบอรรีที่อุดม<br />

ดวยวิตามินซี และธาตุเหล็ก มีคุณประโยชนตอระบบเลือดและหัวใจ ชวยลดปริมาณ<br />

คลอเลสเตอรอล ชวยการทํางานของระบบทางเดินอาหาร และอุดมไปดวยสาร<br />

แอนโทไซยานินที่มีฤทธิ์ในการตานอนุมูลอิสระ สวนบลูเบอรรี มีสารไฟโทเคมิคอล<br />

ฟลาโวนอยตซึ่งมีฤทธิ์ในการตานอนุมูลอิสระสูง ตานการอับเสบและการติดเชื้อจาก<br />

บาดแผล รวมทั้งยังชวยเรื่องการแข็งตัวของเลือด ชวยการไหลเวียนของโลหิตใน<br />

ดวงตา ชะลอการเกิดริ้วรอย และลดอัตราการเกิดของเซลลมะเร็ง<br />

จากตัวอยางกลุมอาหารที่นักการตลาดนํามาใชในการโปรโมทสินคานั้น<br />

แทที่จริงแลวมาจากพื้นฐานของทฤษฎีที่วาความงามที่สะทอนออกมาภายนอกมา<br />

จากผลของการที่ผูคนกินอาหารเขาไปมากกวาการประทินโฉมดวยเครื่องสําอางจาก<br />

ภายนอก สําหรับในประเทศไทยเมื่อกระแสนี้เริ่มขยายวงกวางมากขึ้น ทําใหใน<br />

ปจจุบันมีอาหารอีกหลายชนิด เชน สินคาในกลุมอาหารเสริม นม โยเกิรต น้ําผลไม<br />

และเครื่องดื่มชนิดตาง ๆ ตางเริ่มนําแนวคิดสวยจากภายในมาใชเปนตัวสรางจุดขาย<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 19


ใหกับสินคาของตน อยางไรก็ตามแมวาจะเสริมอาหารที่อุดมไปดวยสารตานอนูมูล<br />

อิสระแลว ยังควรตองหลบเลี่ยงสิ่งแวดลอมที่สรางปญหาเรื่องอนุมูลอิสระดวย ไมวา<br />

จะเปนแสงแดดจา ฝุนผงหรือมลพิษในอากาศ และออกอําลังกายเปนประจําหากทํา<br />

ไดอยางที่แนะนํา ทานผูฟงก็จะสามารถเพิ่มความสวยทั้งผิวพรรณ ผม เล็บ รวมทั้ง<br />

ดวงตาที่แข็งแรงไมเปนปญหาและสุขภาพที่แข็งแรงไดอยางแนนอนคะ<br />

แหลงอางอิง<br />

กินแลวสวย จุดขายใหมในตลาดผลิตภัณฑอาหาร. 2548. ผูจัดการรายสัปดาห ปที่<br />

18 ฉบับที่ 965 วันที่ 30 พฤษภาคม –วันที่ 5 มิถุนายน 2548<br />

ความมหัศจรรยของแคลเซียม. 2550. สืบคนจาก http://gotoknow.org/blog/healthy<br />

foryou/21266 (วันที่คนขอมูล 30 มิถุนายน 2552)<br />

บริษัทซีพีเมจิจํากัด. 2008. มิกซเบอรรี สุดยอดผลไมตระกูลเบอรรี. สืบคนจากhttp://<br />

www.cpmeiji.com/articlemodule/tabid/62/articleType/ArticleView/ar<br />

ticleId/9/-.aspx (วันที่คนขอมูล 30 มิถุนายน 2552)<br />

บริษัท แอ็คเซส บิสเนซ กรุป จํากัด. 2552. สารอาหาร. สืบคนจาก http://www.nutrilite.<br />

com/th-th/Nature/Nutrients/omega-fatty-acids.aspx? (วันที่คนขอมูล 30<br />

มิถุนายน 2552)<br />

เรณู โคตรจรัส. 2552. วิตามินอี. สืบคนจาก http://www.doctor.or.th/node/5912<br />

(วันที่คนขอมูล 30 มิถุนายน 2552)<br />

20<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


กิ้งกือมังกรสีชมพู -สิ่งมีชีวิตชนิดใหมของโลก<br />

นงนุช ตั้งเกริกโอฬาร<br />

สวัสดีคะทานผูฟงที่เคารพ ทานผูฟงทุกทานคงรูจักและเคยเห็นกิ้งกือ<br />

โดยเฉพาะในสมัยที่ยังเปนเด็ก หลังฝนตกหรือในวันที่อากาศชื้น เราจะพบเห็นกิ้งกือ<br />

ออกมาเดินเพนพานเต็มไปหมด หลายคนคงเคยใชไมเขี่ยกิ้งกือ เพื่อใหมันขดตัวเปน<br />

วงกลม ซึ่งนั่นเปนการหลบภัยอยางหนึ่งของมัน กิ้งกือสวนใหญที่ทานพบเห็นจะมี<br />

สีแดง มีลําตัวยาวคลายหนอน ทานทราบหรือไมวา ประเทศไทยไดมีการคนพบกิ้งกือ<br />

ชนิดใหมของโลก ซึ่งมีสีชมพูสวยงามมาก ลักษณะรูปรางคลายมังกร จึงถูกตั้งชื่อวา<br />

“กิ้งกือมังกรสีชมพู” และการคนพบกิ้งกือดังกลาวไดถูกจัดใหเปน10 สุดยอดของการ<br />

คนพบสิ่งมีชีวิตชนิดใหมของโลก ที่เคยเปนขาวฮือฮาในหนาหนังสือพิมพและวงการ<br />

วิทยาศาสตรทางดานชีววิทยาเมื่อไมนานมานี้ วันนี้เรามาลองฟงเรื่องราวที่เกี่ยวกับ<br />

สัตวชนิดใหมของโลกตัวนี้ดูบางนะคะ<br />

เมื่อปที่แลว ในวันที่ 23 พฤษภาคม 2551 คณะกรรมการคัดเลือกการคนพบ<br />

สิ่งมีชีวิตในโลกของสถาบันสํารวจสายพันธุสิ่งมีชีวิตนานาชาติหรือสถาบันไอไอเอสอี<br />

(International Institute for Species Exploration; IISE) มหาวิทยาลัยอริโซนา ประเทศ<br />

สหรัฐอเมริกา ไดประกาศรายชื่อ 10 สุดยอดการคนพบสิ่งมีชีวิตชนิดใหมของโลก<br />

ซึ่ง "กิ้งกือมังกรสีชมพู" ไดรับการคัดเลือกเปนอันดับ 3 ของการคนพบสิ่งมีชีวิตใหม<br />

ครั้งนี้ดวย รองจากการคนพบปลากระเบนไฟฟาในแอฟริกาและการคนพบฟอสซิล<br />

ไดโนเสารปากเปดอายุ 75 ลานป ในสหรัฐฯ ซึ่งไดอันดับที่ 1 และ 2 ตามลําดับ<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 21


กิ้งกือมังกรสีชมพูเปนผลงานการคนพบของ ศาสตราจารย ดร.สมศักดิ์ ปญหา และ<br />

คณะ จากหนวยปฏิบัติการซิสเทมาติคสของสัตว (Animal Systematics Research<br />

Unit) ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ซึ่งไดรับทุน<br />

สนับสนุนการวิจัยสํารวจจากโครงการพัฒนาองคความรูและศึกษานโยบายการ<br />

จัดการทรัพยากรชีวภาพในประเทศไทยหรือบีอารที (Biodiversity Research and<br />

Training Program; BRT) ของศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ<br />

หรือไบโอเทค<br />

กิ้งกือมังกรสีชมพู (Shocking pink millipede) ถูกพบในประเทศไทยโดย<br />

สมาชิกในชมรมคนรักกิ้งกือเมื่อเดือนพฤษภาคม 2550 ในปาเขาหินปูนที่อุดม<br />

สมบูรณและมีความชื้นสูง บริเวณรอยตอระหวางภาคกลางตอนบนตอกับภาคเหนือ<br />

ตอนลาง และพบในประเทศไทยเพียงแหงเดียวในโลก เมื่อ ศาสตราจารย ดร.<br />

สมศักดิ์ ปญหา นํามาศึกษาวิจัยภายใตโครงการวิจัยกิ้งกือและไสเดือนดิน และ<br />

รวมกับ ศาสตราจารย เฮนริค อิงฮอฟ (Henrik Enghoff) ผูเชี่ยวชาญดานกิ้งกือมือ<br />

หนึ่งของโลกแหงมหาวิทยาลัยโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมารก พบวาเปนกิ้งกือชนิด<br />

ใหมของโลกและใหชื่อวิทยาศาสตรวา เดสโมไซเตส เพอรพิวโรเซีย (Desmoxytes<br />

purpurosea) และไดตีพิมพเผยแพรในวารสารนานาชาติ ซูแทกซา (Zootaxa)<br />

กิ้งกือมังกรสีชมพูนั้น เปนสัตวไมมีกระดูกสันหลัง จัดอยูในไฟลัมอารโทรโพดา<br />

(Arthropoda) ไฟลัมยอย ไมเรียโพดา (Myriapoda) ชั้นไดโพลโพดา (Diplopoda)<br />

เชนเดียวกับกิ้งกือธรรมดาทั่วไป ที่มีเปลือกแข็งหุมบริเวณลําตัวสําหรับทําหนาที่<br />

ปองกันและชวยพยุงรางกายที่ออนนิ่มที่ซอนอยูภายใตเปลือกแข็งสวนหัว มีตาอยู<br />

ดานขาง เปนสัตวมีขามากที่สุดในบรรดาสัตวบก ลักษณะขาเปนขอมีหนวดสั้น<br />

มีปาก 2 สวน บนและลางเพื่อใชเคี้ยวและกด ลําตัวยาว มีขาสองคูตอหนึ่งวงปลอง<br />

ผิวมันแข็งทําหนาที่เสมือนเกราะปองกัน สวนใหญเมื่อโตเต็มที่นับปลองได ประมาณ<br />

100-200 ปลอง ขนาดลําตัวยาว 2 มิลลิเมตร ถึง 30 เซ็นติเมตร มีมากถึง 10,000 ชนิด<br />

22<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


(สปชีส) สําหรับบานเราจากการสํารวจพบกิ้งกือประมาณ 100 ชนิด มักจะเห็น<br />

บอยครั้งตามถนนหนทาง ชายปา สวนครัว ปาละเมาะ เขาหินปูน กิ้งกือที่พบเห็น<br />

โดยทั่วไป เปนกิ้งกือตัวใหญ ทรงกระบอก หรือกิ้งกือหนอน มีลักษณะสีออกแดงๆ<br />

หรือสีน้ําตาล สําหรับกิ้งกือมังกรสีชมพูนั้น จัดอยูในวงศกิ้งกือมังกรหรือพาราดอกโซ<br />

โซมาติดี (Paradoxosomatidae) จุดเดนของกิ้งกือมังกรสีชมพูนี้มีความแตกตาง<br />

จากกิ้งกือชนิดอื่น ๆ โดยมีสีชมพูสดซึ่งเปนที่มาของชื่อ กิ้งกือมังกรสีชมพู มีปุมหนาม<br />

และขนรอบตัว ลักษณะโครงสรางหนาตาคลายมังกรในเทพนิยาย ที่สําคัญยังมี<br />

ระบบปองกันตัว โดยจะขับสารพิษประเภทไซยาไนดออกมาปองกันศัตรู แตไมสงผล<br />

กระทบตอมนุษย เพราะปริมาณสารพิษที่ออกมานอยมาก นอกจากนี้ ยังพบวามี<br />

พฤติกรรมที่ชอบออกหากินตอนกลางวัน ซึ่งเปนสาเหตุของการปรับตัวใหมีสีชมพู<br />

สดใส พบไดในปาที่มีความชุมชื้นสูงและอุดมสมบูรณ เมื่อโตเต็มวัยจะมีลําตัวยาว<br />

ประมาณ 7 ซม. มีจํานวนปลองราว 20-40 ปลอง และสามารถขับสารพิษประเภท<br />

ไซยาไนดออกมาจากตอมขับสารพิษขางลําตัวเพื่อปองกันตนเองจากศัตรูธรรมชาติ<br />

จําพวกสัตวเลี้ยงลูกดวยนมขนาดเล็ก เชน หนู สารพิษดังกลาวมีสีเหลือง เมื่อถูก<br />

อากาศจะเปลี่ยนเปนสีแดงและเขมในที่สุด มีกลิ่นเหม็นคลายน้ํายาทําความสะอาด<br />

หองน้ําตามโรงพยาบาล และหากมีปริมาณมาก ๆ ยอมกอใหเกิดอันตรายตอรางกาย<br />

ได อยางไรก็ตาม ศาสตราจารย ดร.สมศักดิ์ ปญหา เตือนวา แมสารไซยาไนดที่กิ้งกือ<br />

มังกรสีชมพูขับออกมามีปริมาณนอยเกินกวาที่จะเปนอันตรายตอคนได แตทางที่ดีก็<br />

ควรปองกันไวกอนโดยไมไปแตะตองหากพบเห็นในธรรมชาติ<br />

กอนหนาการคนพบกิ้งกือมังกรสีชมพู นักวิจัยในโครงการวิจัยกิ้งกือและ<br />

ไสเดือนดิน เคยพบกิ้งกือชนิดใหมของโลกมาแลวหนึ่งชนิดคือกิ้งกือหินปูนใน จ.สระบุรี<br />

เมื่อป 2549 ซึ่งขณะนี้ก็กําลังศึกษาวิจัยการใชประโยชนจากกิ้งกือในการทําปุย<br />

อินทรียดวย คนทั่วไปมักไมคอยชอบและไมสนใจสิ่งมีชีวิตจําพวกกิ้งกือ และมีไม<br />

นอยที่สัตวเหลานี้ถูกคนสวนใหญเหยียบตายอยางไมใยดี เพราะไมมีคุณคาและ<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 23


ประโยชนแกพวกเขา อีกทั้งบางสวนยังเขาใจผิดวากิ้งกือกัดคนได แทที่จริงแลวไมมี<br />

กิ้งกือชนิดไหนที่กัดคนจนเปนอันตรายได กิ้งกือเปนสัตวที่มีประโยชนตอสิ่งแวดลอม<br />

อยางมาก ชวยทําใหดินอุดมสมบูรณไปดวยแรธาตุอาหารตาง ๆ ทําใหเกิดปุยอินทรีย<br />

ตามธรรมชาติ และมีความสําคัญอยางยิ่งในระบบนิเวศ ถือไดวาเปนสิ่งมีชีวิต<br />

พื้นฐานที่สรางความมั่นคงใหกับดิน น้ํา และระบบนิเวศ การคนพบกิ้งกือมังกร<br />

สีชมพูติดอันดับโลกในครั้งนี้ ไดสรางชื่อเสียงและความนาเชื่อถือใหกับประเทศไทย<br />

และแสดงใหเห็นถึงความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย ที่ยังอุดมสมบูรณ<br />

อยูอีกมาก<br />

แหลงอางอิง<br />

ผูจัดการออนไลน http://www.enn.co.th/news/146/ARTICLE/2534/2008-06-10.html<br />

Enghoff, H., C. Sutcharit & S. Panha. 2007. The shocking pink dragon millipede,<br />

Desmoxytes purpurosea, a colourful new species from Thailand<br />

(Diplopoda: Polydesmida: Paradoxosomatidae). Zootaxa 1563: 31-36.<br />

24<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว :<br />

พระบิดาแหงการถายภาพไทย<br />

กมล สมพันธุ<br />

ปจจุบันการถายภาพไดมีสวนเกี่ยวของและจําเปนในหลาย ๆ ดานของการ<br />

ดําเนินชีวิตของคน โดยจะพบเห็นไดทั่วไปไมวาจะเปนกลองตั้งแตระดับมืออาชีพ<br />

กลองสมัครเลน หรือแมกระทั่งโทรศัพทติดตามตัวก็พัฒนาใหมีกลองถายรูปติดไป<br />

ดวย แตจะมีสักกี่คนที่จะรูถึงประวัติและความเปนมาของการถายภาพและวิชาการ<br />

ถายภาพที่เขาสูเมืองไทยในอดีต สําหรับประเทศไทยมีหนังสือเกาชื่อวา“สยามประเภท”<br />

ฉบับลงวันที่ 11 เมษายน พ.ศ.2444 กลาววาเรามีชางถายภาพครั้งแรกในปลายสมัย<br />

พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ 3) สวนพระมหากษัตริยพระองค<br />

แรกของไทยที่ไดทรงฉายพระบรมรูปหลงเหลือไวเปนหลักฐานคือพระบาทสมเด็จ<br />

พระจอมเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ 4)<br />

แตการถายภาพในเมืองไทยไดพัฒนาอยางมากในสมัย พระบาทสมเด็จ<br />

พระจุลจอมเกลเจาอยูหัว (รัชกาลที่ 5) กษัตริยไทยพระองคนี้ทรงสนพระทัยในวิทยาการ<br />

สมัยใหมทุกดาน และเปนที่ทราบกันดีในหมูชนชาวไทยวาทรงพัฒนาประเทศไทยให<br />

กาวหนาอยางมหาศาลเพียงไร วิชาการถายรูปก็เปนวิชาหนึ่งที่ทรงสนพระทัยเปน<br />

อันมาก ทราบไดจากการเปดรานถายภาพกันอยางแพรหลายมากขึ้น สิ่งสําคัญที่ทําให<br />

การถายภาพในเมืองไทยพัฒนาเปนผลมาจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 25


เจาอยูหัว (รัชกาลที่ 5) ทรงจัดมีการอวดรูปภาพหรือโชวรูปขึ้นเปนครั้งแรก ในวันที่<br />

21 พฤศจิกายน ร.ศ. 124 หรือ พ.ศ. 2448<br />

เพื่อเปนการรําลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ ที่มีตอวงการถายภาพไทย อีกทั้ง<br />

ยังเปนการแสดงถึงความภาคภูมิใจ และเปนศูนยรวมน้ําใจของคนในวงการถายภาพ<br />

และประชาชนชาวไทย คณะกรรมการเอกลักษณ ของชาติไดมีมติในการประชุม<br />

ครั้งที่2/2547 เมื่อวันที่ 9 กันยายน 2547 เห็นสมควรใหดําเนินการเทิดพระเกียรติ<br />

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ในฐานะพระบิดาแหงการถายภาพไทย<br />

ดวยเหตุผล 6 ประการ คือ<br />

1. เปนพระมหากษัตริยไทยพระองคแรก ที่มีความสนพระราชหฤทัยอยาง<br />

มาก ในวิชาการถายภาพ จนเปนที่ประจักษ กลาวคือ ไดทรงพระราชนิพนธเรื่อง<br />

"การถายรูป" ตีพิมพในหนังสือกุมารวิทยา ซึ่งในพระราชนิพนธนี้ ไดแสดงใหเห็นวา<br />

ทรงเขาพระทัยเรื่องการถายภาพบนแผนเงิน การถายภาพแบบกระจกเปยก และ<br />

กระจกแหง เปนอยางดี นอกจากนี้ ยังโปรดที่จะทรงถายภาพเปนอยางมาก เชน การ<br />

เสด็จประพาสตน ครั้งที่ 2 ใน พ.ศ.2449 เมื่อเสด็จประพาสที่ใด ก็จะทรงหยุดเพื่อ<br />

ทรงถายภาพทิวทัศน วัดวาอาราม และชีวิตความเปนอยูของประชาชนและโปรด<br />

เกลาฯใหจัดหองสําหรับถายภาพที่งานไหวพระ ณ วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม<br />

2. มีพระวิริยะและทรงอุทิศเวลาในการถายภาพทรงศึกษาทดลองและ<br />

คนควาใหไดภาพถายที่ทรงคุณคากลาวคือ ทรงสนพระราชหฤทัยในการถายภาพ<br />

อยางจริงจัง โดยมีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ใหสั่งซื้อกลองมาจากตางประเทศ<br />

นอกจากนี้ พระองคยังทรงรอบรูในกระบวนการทั้งหมดของการถายภาพในสมัยนั้น<br />

ทรงแกไขกลไกสวนตางๆ ของกลองไดอยางเขาใจ และยังทรงแนะนํานายชาง<br />

ชาวตางชาติ ที่เปนผูผลิตกลอง ใหแกไขเพื่อการใชงานที่ดีขึ้น<br />

3. ทรงเปนเอตทัคคะทางดานการถายภาพ ที่มีความชํานาญทั้งในภาคทฤษฎี<br />

และภาคปฏิบัติอยางเดนชัด<br />

26<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


กลาวคือ โปรดเกลาฯ ใหพระบรมวงศานุวงศ และขาราชบริพาร ฝกหัดการ<br />

ถายภาพ และเปนที่ทราบกันดีวา จะมีการนําสมุดภาพทูลเกลาฯ ถวายเพื่อทอดพระเนตร<br />

และขอพระราชทานคําแนะนําอยูเสมอ ๆ ซึ่งมีพระมหากรุณาธิคุณพระราชทาน<br />

คําแนะนํา อยางผูที่มีความรูความชํานาญ ทั้งในภาคปฏิบัติ และเชี่ยวชาญในภาคทฤษฎี<br />

เปนอยางดี แมแตชาวตางชาติยังชื่นชมภาพฝพระหัตถดวยความปลาบปสื้ม<br />

4. ทรงมีผลงานภาพถาย พระราชนิพนธ และขอพระราชวินิจฉัย ตลอดจน<br />

ทรงจดบันทึกเรื่องราวตาง ๆ ที่สอดคลองในวิชาการถายภาพ อันเปนมรดกที่ทรงคุณคา<br />

ทั้งในดานวิชาการ และประวัติศาสตรของชาติ กลาวคือ ทรงมีผลงาน ภาพฝพระหัตถ<br />

มากมาย ทั้งในประเทศและประเทศตางทุกประเทศที่ไดเสด็จประพาส พรอมทั้งทรง<br />

จดบันทึกขอคิดเห็น เกี่ยวกับกลองถายภาพ สถานที่ และ เหตุการณตางๆ ไว<br />

5. ทรงสงเสริมการถายภาพใหเปนที่แพรหลาย เพื่อถายทอดวิชาความรูในการ<br />

พัฒนา จนเกิดความเจริญกาวหนามาจนทุกวันนี้ กลาวคือ ทรงสงเสริมใหพระบรมวงศา-<br />

นุวงศและขาราชบริพารฝกหัดการถายภาพดวย การซื้อกลองและพระราชทาน<br />

เพื่อจักไดนําไปถายภาพ ในป พ.ศ. 2448 ซึ่งถือเปนประวัติศาสตรการถายภาพของ<br />

ไทยคือ โปรดเกลาฯใหจัดการประกวดภาพถายเปนครั้งแรกของประเทศไทย โดยมี<br />

การประกาศแจงขาวการจัดประกวดการถายภาพ เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 2448 ซึ่งถือวา<br />

เปนวันเริ่มตนของการสงเสริมการถายภาพของไทยอยางสมบูรณ ตามแบบอยาง<br />

สากล<br />

6. ในครั้งที่พระองคเสด็จประพาสยุโรป ไดฉายพระบรมรูปกับพระเจาซาร<br />

นิโคลัส ที่ 2 แหงรัสเซีย และภาพนั้นไดเผยแพรลงหนังสือพิมพทั่วยุโรป ดวยพระปรีชา<br />

สามารถในการดําเนินวิเทโศบายตางประเทศ<br />

ดานรักษาความมั่นคงของชาติ จากภาพคูที่ปรากฏในหนังสือพิมพครั้งนั้น<br />

ทําใหประเทศมหาอํานาจตะวันตกทั้งหลายประจักษชัดถึงความสัมพันธอันดีของ<br />

ประเทศสยามและรัสเซีย จึงไมกลาที่จะหักหาญกับประเทศสยาม เชนที่ทํากับ<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 27


ประเทศอื่น ๆ ในเอเซีย ทําใหประเทศสยามยังคงดํารงความเปนเอกราช อยูภายใต<br />

ประเทศเดียว จนเปนประเทศไทยทุกวันนี้<br />

ทั้งนี้สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีไดแจงมติคณะรัฐมนตรี เรื่อง การถวาย<br />

พระราชสมัญญาแดพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ 5) ในฐานะ<br />

“พระบิดาแหงการถายภาพไทย” เพื่อเปนการเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จ<br />

พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ 5)<br />

แหลงอางอิง<br />

สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ทําเนียบรัฐบาล ที่ นร 0507/ว61 ลงวันที่ 17 เมษายน<br />

2549. เรื่อง การเทิดพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว<br />

ในฐานะพระบิดาแหงการถายภาพไทยและกําหนดวันนักถายภาพไทย<br />

เอนก นิวิกมูล. 2548. ประวัติการถายรูปยุคแรกของไทย สํานักพิมพสารคดี<br />

www.eppo.go.th/admin/cab/cab-2549-03-28.html#11 (วันที่คนขอมูล 10 กันยายน 2550)<br />

funscience.gistda.or.th/nearir/fatherofthaiphoto.html (วันที่คนขอมูล 10 กันยายน 2550)<br />

www.osknetwork.com/modules.php?name=News&file=article&sid=715 (วันที่คนขอมูล<br />

10 กันยายน 2550)<br />

www.taklong.com/beginner/s-be.php?No=55027 (วันที่คนขอมูล 10 กันยายน 2550)<br />

28<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


เรื่องนารูเกี่ยวกับตอมไทรอยด<br />

นุชจรินทร แกลวกลา<br />

สวัสดีคะทานผูฟง วันนี้ขอนําเรื่องใกลตัวที่หลายคนยังมีความเขาใจ<br />

คลาดเคลื่อนมาเลาสูกันฟงเกี่ยวกับตอมไทรอยด ซึ่งบางคนเขาใจวาเปนชื่อของโรค<br />

แตความจริงแลวไทรอยดเปนชื่อของอวัยวะสวนหนึ่งในรางกายคนเรา มีลักษณะเปน<br />

รูปคลายปกผีเสื้ออยูดานหนาของคอ ตอมนี้มีขนาดไมใหญ ซึ่งโดยปกติจะมองไม<br />

คอยเห็น ยกเวนคนที่ผอมมาก ๆ หนาที่หลักของตอมนี้คือการสรางและหลั่งสารเคมี<br />

ชนิดหนึ่งแลวปลอยเขาสูกระแสเลือด สารเคมีนี้คือฮอรโมนไทรอยด หรือเรียกวา<br />

“ฮอรโมนไทร็อกชิน (thyroxin)” ซึ่งฮอรโมนนี้ตอมไทรอยดสรางเองโดยอาศัยธาตุ<br />

ไอโอดีนจากอาหารที่กินเขาไปเปนวัตถุดิบ เมื่อฮอรโมนนี้สรางเสร็จจะถูกปลอยเขาสู<br />

ระบบไหลเวียนเลือดภายหลังเขาสูกระแสเลือดฮอรโมนตัวนี้จะกระจายไปควบคุม<br />

การทํางานของเซลล เนื้อเยื่อของอวัยวะตาง ๆ ทั่วรางกายในหลายลักษณะ เชน<br />

ควบคุมอุณหภูมิของรางกายใหสมดุล ควบคุมการเคลื่อนไหวของรางกายใหราบรื่น<br />

ควบคุมการเตนของหัวใจใหปกติ โดยฮอรโมนไทรอยดมีบทบาทตั้งแตเราอยูในครรภ<br />

มารดา เพราะในขณะที่ทารกอยูในครรภจนถึงระยะแรกของวัยเด็ก ฮอรโมนไทรอยด<br />

มีหนาที่ทําใหเกิดการพัฒนาการของสมองและระบบประสาท และเมื่อโตขึ้นฮอรโมน<br />

ไทรอยดมีผลตอการเผาผลาญอาหารใหไดพลังงานออกมา ตลอดจนการทํางานของ<br />

หัวใจ ระบบประสาทในสวนที่เรียกวาระบบประสาทอัตโนวัติ และการสรางโปรตีน<br />

ตาง ๆ ในรางกายของเรา โดยปกติตอมไทรอยดจะสรางฮอรโมนออกมาในปริมาณที่<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 29


เหมาะสม แตเมื่อมีความผิดปกติของการสรางและหลั่งฮอรโมนของตอมไทรอยด<br />

ยอมนําไปสูการทํางานผิดปกติในหลายระบบ และโรคตอมไทรอยดเปนความ<br />

ผิดปกติที่พบไดบอย เกิดขึ้นไดทุกเพศ ทุกวัย ในรายที่รุนแรงมีอันตรายถึงแกชีวิตได<br />

ลักษณะอาการที่สังเกตไดทําใหรูวา เปนโรคของตอมไทรอยดคืออาจมีกอนที่คอหรือ<br />

คอโตซึ่งเรียกวาคอพอก ซึ่งอาจจะโตทั่วทั้งตอม หรือโตเปนกอนเดียว หรือโตเปน<br />

กอนทั้งซายและขวา อาจไมมีอาการอื่น ๆ เกิดขึ้นนอกจากคอพอกอยางเดียว<br />

นอกจากนี้แลวอาจสังเกตความผิดปกติที่เกิดจากการทําหนาที่ของตอมไทรอยด เชน<br />

ตอมสรางฮอรโมนออกมามากเกิน ซึ่งฮอรโมนที่ออกมามากเกินความตองการของ<br />

รางกายทําใหเกิดอาการตอมไทรอยดเปนพิษ โดยมีอาการแสดงออกหลายอยาง เชน<br />

ใจสั่น มือสั่น ตื่นเตนตกใจงาย ขี้รอน เหงื่อออกมาก ขี้โมโห หงุดหงิด เครียดงาย หิว<br />

บอย กินเกง แตน้ําหนักไมขึ้น หรือน้ําหนักลดลง เหนื่อยงายกวาปกติ อุจจาระบอย<br />

ขึ้นแตไมเปนแบบทองเสีย ประจําเดือนนอยลงหรือขาดหายไป บางรายตาโปนขึ้น<br />

เปนตน ในทางตรงขามกันถาตอมไทรอยดสรางฮอรโมนตัวนี้นอยกวาปกติ รางกายก็<br />

จะถูกกระตุนใหทํางานนอยลง จะมีอาการตรงกันขามกับตอมไทรอยดเปนพิษ เชน<br />

เฉื่อยชา เบื่อ ขี้เกียจ ไมอยากทําอะไร ความสนใจลดลง งวงนอนบอย ขี้หนาว ผม<br />

รวง น้ําหนักขึ้น อวนแบบบวมฉุ ๆ เหนื่อยงาย ทําอะไรไมคอยไหว ทองผูก บางราย<br />

ประจําเดือนมามากกวาปกติ เปนตน โรคที่ตอมไทรอยดทํางานนอยกวาปกตินี้ ถา<br />

เกิดขึ้นในเด็กเล็กอาจทําใหเด็กคนนั้นโตขึ้นมาเปนเด็กที่มีปญหาปญญาออนได<br />

โดยทั่วไปแลวจะพบคนที่เปนโรคไทรอยดเปนพิษมากกวาคนที่ตอมไทรอยดทํางาน<br />

นอยกวาปกติหลายคนคงสงสัยวาเกิดขึ้นไดอยางไร โรคตอมไทรอยดที่เกิดขึ้นนี้<br />

มีสาเหตุหลายประการแตไมทราบสาเหตุที่แนชัด ซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากกรรมพันธุ<br />

จากอาหาร จากสิ่งแวดลอม ยกเวนในเด็กที่คลอดจากมารดาที่เปนโรคนี้และกินยา<br />

ควบคุมโรคนี้มากเกินไป ก็อาจจะทําใหลูกเปนโรคตอมไทรอยดทํางานนอยกวาปกติ<br />

อันตรายของโรคตอมไทรอยดคือ ภาวะหัวใจลมเหลว วิกฤตตอมไทรอยด ซึ่งเปน<br />

30<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


ภาวะเปนพิษอยางรุนแรง และภาวะรุนแรงจากตอมไทรอยดไมทํางาน ดังนั้นผูฟงทุก<br />

ทานคงตองหมั่นลองสังเกตตนเองดูวามีอาการผิดปกติดังกลาวขางตนหรือไม หรือมี<br />

กอนที่คอหรือไม และไมจําเปนตองรอใหมีครบทุกอยาง อาจมีอาการเดนอยางใด<br />

อยางหนึ่ง เชน เหนื่อยงาย ใจสั่น หรือน้ําหนักลดลงผิดปกติ ถาสงสัย อยาปลอยทิ้งไว<br />

รีบไปหาแพทยเพื่อทําการตรวจ วาทานมีความผิดปกติจริงหรือไม จะไดทําการรักษา<br />

ไดทันเวลา<br />

แหลงอางอิง<br />

สันต ใจยอดศิลป. เขาใจสรีรวิทยาของไทรอยดใหลึกซึ้ง กอนจะเขาใจโรคของไทรอยด.<br />

Health.Co.Th Journal 2009:1:p.10 สืบคนจาก http://www.health.co.th/Health<br />

EducationArticle4/ThyroidPhysiology.html. (วันที่คนขอมูล 14 ตุลาคม 2552)<br />

ศูนยการเรียนรูสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ ฝายสุขศึกษาและประชาสัมพันธ<br />

โรงพยาบาลวชิระ ภูเก็ต.2551.รูไดอยางไรวาเปนโรคไทรอยด สืบคนจาก<br />

http://www.vachiraphuket.go.th/www/public-health/ (วันที่คนขอมูล14<br />

ตุลาคม 2552 )<br />

Campbell,N.A. and Reece ,J.B.2005 .Biology . 7 th edition (Internatioonal edition). Pearson<br />

Education,Inc : San fransisco.1230 pp.<br />

Randall,D.,Burggren,.W.,and French,K.2002. Ecket Animal physiology : mechanisms<br />

and adaptations .W.H.Freeman and Company ,New York.7<strong>33</strong> pp.<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 31


ชนิดพันธุตางถิ่นที่รุกราน<br />

นุชจรินทร แกลวกลา<br />

สวัสดีคะทานผูฟง วันนี้ขอหยิบยกเรื่องของชนิดพันธุพืชและชนิดพันธุสัตว<br />

ที่ทําใหเกิดความเสียหายตอระบบนิเวศตามธรรมชาติ รวมทั้งระบบการผลิตทาง<br />

การเกษตรมาเลาสูกันฟง ซึ่งชนิดพันธุที่ทําใหเกิดความเสียหายนั้นสวนใหญไมใช<br />

ชนิดพันธุที่มีอยูเดิมในพื้นที่นั้น ๆ จึงเรียกชนิดพันธุเหลานั้นวาชนิดพันธุตางถิ่นหรือ<br />

ภาษาอังกฤษเรียกวาเอเลี่ยนสปชีส (alien species) ซึ่งมีความหมายถึง ชนิดพันธุ<br />

ที่ถูกนําเขาหรือเดินทางเขามาแลวมีชีวิตรอดสืบพันธุอยูไดในอีกถิ่นหนึ่ง และ<br />

ชนิดพันธุตางถิ่นบางชนิดแพรระบาดจนกลายเปนการรุกรานหรือที่เรียกวาอินวาซีฟ<br />

เอเลี่ยนสปชีร (invasive alien species) หมายถึงวาชนิดพันธุนั้นคุกคามระบบนิเวศ<br />

แหลงที่อยูอาศัย หรือชนิดพันธุอื่น ๆ โดยมีปจจัยตาง ๆ ที่เหมาะสมเกื้อหนุนให<br />

ชนิดพันธุตางถิ่นนั้นตั้งรกรากในพื้นที่ใหม และเกิดการรุกรานในที่สุด โดยความหมาย<br />

ของการรุกรานคือการไปแกงแยงอาหาร แกงแยงที่อยูอาศัยของชนิดพันธุที่มีอยูเดิม<br />

และเจริญเติบโตไดดีกวา แตกําจัดหรือทําลายยากจนไมสามารถกําจัดไดหรือ<br />

การกําจัดหรือจัดการตองเสียคาใชจายที่สูงมากเปนตน ซึ่งการรุกรานของชนิดพันธุ<br />

ตางถิ่นนี้ ประเทศตาง ๆ ทั่วโลกระบุวาเปนการคุกคามความหลากหลายทางชีวภาพ<br />

ที่รายแรงของโลก จัดเปนอันดับสองรองจากการทําลายแหลงที่อยูอาศัยตาม<br />

ธรรมชาติเชนการตัดไมทําลายปา การเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่ตามธรรมชาติเพื่อ<br />

สรางโรงงานอุตสาหกรรมหรือสรางบานเรือนที่อยูอาศัยเปนตน ในบางประเทศถือวา<br />

32<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


การแพรระบาดของชนิดพันธุตางถิ่นนี้เปนการคุกคามที่สําคัญที่สุด เพราะชนิดพันธุ<br />

เหลานี้คุกคามระบบธรรมชาติและระบบการผลิต ซึ่งการแพรระบาดของชนิดพันธุ<br />

ตางถิ่นนั้นมีสาเหตุหลักมาจากมนุษยเปนผูนําเขาไปในสถานที่ตาง ๆ ดวยเหตุผล<br />

ตางกัน ทั้งตั้งใจและไมตั้งใจ นอกจากนั้นเกิดจากปรากฏการณธรรมชาติ เชน<br />

ลมพายุ กระแสน้ํา และการติดไปกับสัตวหรือพืชที่นําเขามาจากตางประเทศ การระบาด<br />

ของชนิดพันธุตางถิ่นที่รุกรานนั้นทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศอยางสิ้นเชิง<br />

เกิดการสูญพันธุของชนิดพันธุพื้นเมือง ซึ่งมักจะสงผลใหเกิดปญหาสําคัญทาง<br />

สิ่งแวดลอม เศรษฐกิจ สุขอนามัย และสังคม ที่ตองเสียคาใชจายนับลานดอลลาร<br />

สหรัฐและมีผลเสียหายรายแรงตอเศรษฐกิจของประเทศกําลังพัฒนา ตัวอยางของ<br />

ชนิดพันธุที่สหพันธเพื่อการอนุรักษแหงโลก (IUCN) ไดทําบัญชีรายชื่อไววาเปนหนึ่ง<br />

ในรอยชนิดพันธุตางถิ่นที่รายแรงของโลก เชน ผักตบชวา (Eichhornia crassipes)<br />

ไมยราบยักษ (giant sensitive plant) ผกากรอง (Lantana camera) หอยทากยักษ<br />

แอฟริกา (Achatina fulica) หอยเชอรรี่ (Pomacea canaliculata) เปนตน สําหรับ<br />

ประเทศไทยไดมีการจัดทําบัญชีรายชื่อชนิดพันธุตางถิ่นไวและมีชนิดพันธุตางถิ่นที่<br />

รุกรานแลว 82 ชนิด เชน ผักตบชวา ไมยราบยักษ บัวตอง (Tithonia diversifolia)<br />

มดคันไฟ (Solenopsis geminate) หอยเชอรี่ ปลาซักเกอร (Hypostomus plecostornus)<br />

ปลานิล (Oreochromis nilotcus) ตะพาบไตหวัน (Pilodiscus sinensis sinensis)<br />

และนกพิราบ (Columba livia) เปนตน และการนําเขาชนิดพันธุตางถิ่นทั้งพืชและสัตว<br />

ในประเทศไทยนั้นทํามาเปนเวลานานจนลืมแลววาเปนชนิดพันธุนําเขา ชนิดพันธุ<br />

และพันธุกรรมตางถิ่นที่นําเขามาเพื่อการเกษตรและการประมง เปนหัวใจในการ<br />

ผลิตและพัฒนาอาหารใหกับโลกโดยรวม เชน การนําปลาตางถิ่นเขามาทั้งเพื่อการ<br />

เลี้ยงเปนอาหารและปลาสวยงาม กรมประมงไดทําการเพาะพันธุปลาตางถิ่น<br />

ปลอยลงสูแหลงน้ํา อาทิ ปลานิล ปลายี่สก ปลาดุกยักษ ดวยวัตถุประสงคเพื่อเพิ่ม<br />

อาหารและรายไดใหแกชาวประมงและชาวบาน ปลาบางชนิดมีการเพาะเลี้ยงเปน<br />

เลมที่ <strong>33</strong> <strong>33</strong>


กิจการขนาดใหญ ซึ่งในบางกรณีมีการเล็ดรอดออกสูแหลงธรรมชาติ หรือ การนําชนิด<br />

พันธุตางถิ่นเขาและออกนอกประเทศไทยโดยรูเทาไมถึงการณ เชน นักทองเที่ยวนําเขา<br />

อาหาร หรือเมล็ดพันธุตางถิ่นติดมาในกระเปาเดินทาง เปนตน ประเทศไทยจึงเปนหนึ่งใน<br />

ประเทศตาง ๆ ทั่วโลกที่ไดรับผลกระทบจากชนิดพันธุเหลานี้ โดยพบวามีชนิดพันธุ<br />

เหลานี้แพรกระจายไปทั่วเกือบทุกภาคของประเทศไทย เชน ไมยราบยักษที่นําเขามา<br />

ในประเทศไทยเนื่องจากผูนําเกษตรกรชาวไรยาสูบไปดูงานที่ประเทศอินโดนีเซีย<br />

แลวนําเมล็ดเขามาที่อําเภอแมแตง อําเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม เพื่อจะ<br />

เพาะปลูกใหไดตนกลามาทําปุยพืชสดเชนเดียวกับประเทศอินโดนีเซีย แตตอมาเกิด<br />

การกระจายรอบไรยาสูบและริมคลองชลประทาน ทางสํานักงานชลประทานจึงนํา<br />

เมล็ดมาโปรยไวตามคลองสงน้ําเพื่อปองกันตลิ่งคลองสงน้ําพังทลายจากวัวที่มากิน<br />

น้ํา ทําใหไมยราบยักษระบาดไปทั่วประเทศ เชนเดียวกับประเทศออสเตรเลียจาก<br />

รายงานการศึกษาวิจัยที่กลาวถึงไมยราบยักษไววา ไมยราบยักษเปนไมพุมเมื่อโต<br />

เต็มที่สูงประมาณ 6 เมตรมีระบบรากที่หยั่งลึกลงไปในพื้นดิน เมื่ออยูรวมกันจะ<br />

ขึ้นอยูอยางหนาแนนพืชอื่นหรือสิ่งมีชีวิตอื่นไมสามารถขึ้นหรือเจริญเติบโตได<br />

โดยเฉพาะบริเวณพื้นที่ราบน้ําทวมถึง ไมยราบยักษนี้สามารถมีชีวิตอยูไดในชวงฤดู<br />

แลงที่มีระยะเวลานานประมาณ 7 เดือนหรือในชวงฤดูฝนที่มีน้ําทวมขัง ในการ<br />

สืบพันธุนั้นไมยราบยักษหนึ่งตนนั้นสามารถสรางเมล็ดไดมากกวา 9,000 เมล็ดใน<br />

แตละป และจะรวงลงพื้นหมดในชวงกลางฤดูฝนและกลางฤดูแลง และไมยราบยักษ<br />

ที่ขึ้นอยูรวมกันเปนกลุมนั้นสามารถสรางเมล็ดไดปละประมาณ 220,000 เมล็ด และ<br />

เมล็ดของไมยราบจะอยูในฝกและเมล็ดเหลานั้นสามารถพักตัวในพื้นดินที่มีสภาพ<br />

ไมเหมาะสมไดนานประมาณถึง 23 ปกอนจะงอกขึ้นมา ไมยราบยักษ ชอบขึ้นใน<br />

บริเวณที่มีน้ําทวมขังหรือบริเวณริมฝงแมน้ําที่ดินมีลักษณะเปนดินเหนียว ดินเหนียว<br />

ปนทรายหรือดินทรายหยาบริมน้ํา ดินที่มีธาตุอาหารต่ําก็สามารถขึ้นและเจริญเติบโตได<br />

จึงทําใหบริเวณที่พบไมยราบยักษนั้นไมพบหรือพบพืชหรือสัตวตาง ๆ อยูนอยมาก<br />

34<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


จากที่เลามานี้เปนเนื้อหาเพียงบางสวนของชนิดพันธุตางถิ่นที่รุกรานซึ่งกําลังเปน<br />

ปญหาหลักของเกษตรกรทั่วประเทศ ดังนั้นเมื่อพบเห็นพืชหรือสัตวเหลานี้ไมควร<br />

นําไปเลี้ยงหรือไปขยายพันธุตอ หรือควรหาวิธีการปองกันและกําจัดตั้งแตระยะ<br />

แรก ๆ ที่มีจํานวนนอยเพื่อลดตนทุนในการกําจัดนะคะ<br />

แหลงอางอิง<br />

สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม. 2544. ความหลากหลายทางชีวภาพและ<br />

การจัดการชนิดพันธุตางถิ่นที่รุกราน. กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยี<br />

และสิ่งแวดลอม. กรุงเทพฯ.<br />

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. 2550.รายงานโลก<br />

ทัศนความหลากหลายทางชีวภาพ ฉบับที่ 2.กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ<br />

และสิ่งแวดลอม.กรุงเทพฯ 90 หนา<br />

Ecological Society of Japan. 2002. Handbook of Alien Species in Japan,<br />

Chijinshokan, Tokyo, p. 408. (In Japanese).<br />

Lonsdale, W. M., Miller, I. L. and I.W. Forno. 1995. Mimosa pigra L.. Pages 169-188<br />

in R.H. Groves, R. H., R.C. H. Shepherd, and R.G. Richardson (eds.).<br />

The Biology of Australian Weeds, Volume 1. R. G. & F. J. Richardson,<br />

Melbourne.<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 35


ทําดีเพื่อพอกันเถอะ<br />

นุชจรินทร แกลวกลา<br />

พอเมื่อไดยินคํานี้ทุกคนคงนึกถึงผูชายที่ใหกําเนิดลูก หรือคําที่ลูกเรียก<br />

ผูใหกําเนิดตน แตนอยคนนักที่จะตระหนักถึงความหมายซึ่งแฝงไวถึงภาระ<br />

ความรับผิดชอบที่ผูชายคนหนึ่ง ๆ ตองพึงมีในฐานะหัวหนาหรือผูนําของครอบครัว<br />

ทานผูฟงทั้งหญิงและชายหลาย ๆ คนคงเริ่มคิดถึงผูชายคนหนึ่งซึ่งเราพบครั้งแรกใน<br />

ชีวิตที่ลืมตาดูโลก ผูชายที่ทุกคนคิดวาเกงที่สุด ดีที่สุด หรือทํางานหนักที่สุด<br />

จนตนเองตองนําลักษณะบุคลิกบางอยางไปใช หรือติดไปโดยไมรูตัว หรือแมแต<br />

บางคนที่เกิดมาแลวอาจจะไมไดพบผูชายคนนี้จะดวยเหตุผลความจําเปนใดก็ตาม<br />

แตในใจนั้นคงคิดอยากเห็นหนา หรือบางคนไดพบเจอ แตคิดวาผูชายคนนี้เปนเพียง<br />

ผูใหกําเนิดแตมิไดใหชีวิต เพราะชีวิตอาจพบเจอกับคนที่มีความรับผิดชอบต่ํา<br />

แตความคิดนี้คงมีอยูเปนสวนนอยบนผืนโลก เพราะพอสวนใหญเต็มใจและตั้งใจที่<br />

จะใหลูกเกิดมาและเมื่อลูกเกิดมาแลวสองมือของพอก็ไดพยายามหลอเลี้ยงอุมชู<br />

ลูกนั้นดวยความรักความหวงใย แมบางครั้งตนเองจะเหนื่อยกาย เหนื่อยใจก็ตองทน<br />

ดวยความรักตอชีวิตใหมที่ตนสรางขึ้นมา ตองยอมอดทนทําทุกอยาง เพื่อใหลูกนั้น<br />

เดินไดจนถึงฝงแตบางคนก็ตองตรอมใจเพราะลูกนั้นไมเขาใจในความรักที่มีให ตั้ง<br />

หนาแตจะเดินในทางของตนเอง จนลืมถึงความหวังดีที่พอมอบให แตหลายคนก็<br />

สุขใจ เพียงเพราะเห็นลูกนั้นเปนคนดี แมลูกบางคนใหความสําคัญตอทานเพียงนอย<br />

นิดก็ตาม นี่แหละคือพอผูใหกําเนิดของแตละคน แตสําหรับเราชาวไทยแลวนั้น มีพอ<br />

36<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


คนเดียวกันคือ พอของแผนดิน ที่ทรงคอยโอบอุมฟูมฟกพสกนิกรของทานทั้งแผนดิน<br />

ซึ่งนับวาโชคดีเหนือใครที่ไดเกิดมาในแผนดินสยาม อันมีพระมหากษัตริยซึ่งทรงเต็ม<br />

เปยมไปดวยทศพิธราชธรรม ทรงมีความหวงใยประชาชนชาวไทยทุกดาน จะเห็นได<br />

จากการที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดเสด็จทรงเยี่ยมราษฎรทุกหนทุกแหงทั่ว<br />

ประเทศ และเห็นความทุกขยากของพสกนิกร ซึ่งเปนคนสวนใหญของประเทศ แลว<br />

ทรงพยายามหาทางชวยเหลือประชาชนเหลานี้ใหมีชีวิตความเปนอยูที่ดีขึ้น ทรง<br />

บําบัดทุกข บํารุงสุขราษฎรใหอยูดีกินดีตามวิถีแหงความพอเพียง ดวยโครงการ<br />

พระราชดําริมากมาย เชนพระราชดําริโครงการ “ฝนเทียม” หรือ “ฝนหลวง” เพื่อ<br />

แกปญหาความแหงแลง โครงการ “แกมลิง” กักตุนแลวระบายน้ําตามแรงโนมถวง<br />

เพื่อบรรเทาปญหาน้ําทวม ปญหาดินเสื่อมโทรมจนชาวบานไมสามารถเพาะปลูกได<br />

หรือเพาะปลูกได แตใหผลผลิตต่ําจนไมคุมทุน ชาวบานยากจนและขาดแคลน เชน<br />

กรณีของชาวบานภาคใตที่ทํามาหากินบริเวณปาพรุในจังหวัดนราธิวาส ซึ่งสภาพ<br />

พื้นดินเปนดินเปรี้ยว พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดทรงแกไขดวยการขุดสระและ<br />

กรุดวยหินปูน และใสหินฝุนเขาไปเพื่อใหน้ําไมเปรี้ยว แลวสงไปตามคลองตามทอก็<br />

สามารถแกไขดินเปรี้ยวนี้ได จนในที่สุดชาวบานบริเวณนี้สามารถทําการเพาะปลูก<br />

ไดผลดีขึ้น ในหลวงของเราทรงเปนนักปราชญที่ทรงนําความรูซึ่งมีอยูมาใชใหเกิด<br />

ประโยชนทุกดาน เชนการนําความรูทางดานวิทยาศาสตรมาผลิตเครื่องกล<br />

เติมอากาศที่รูจักกันในชื่อของ “กังหันน้ําชัยพัฒนา” และตอมาไดนํากังหันน้ําชัยพัฒนา<br />

ไปใชแกปญหาน้ําเสียอยางแพรหลายทั่วประเทศ เหนือสิ่งอื่นใดพระบาทสมเด็จ<br />

พระเจาอยูหัวเปรียบเสมือนผูทรงหยั่งรูอนาคตของโลกที่จะเกิดการเปลี่ยนแปลง<br />

อยางมาก จะเห็นไดจากเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงที่ทานทรงเตือนพสกนิกรของทานมา<br />

นานกวา 30 ป ในการใหเราพึ่งตนเอง ภูมิใจในอาชีพ จัดการผืนดินใหเกิดประโยชน<br />

มีความพอเพียง ประหยัดอดออม มีเหตุมีผลในการตัดสินใจ มีความรอบรู รอบคอบ<br />

ดําเนินชีวิตดวยความอดทน มีความเพียร และซื่อสัตยสุจริต การเตรียมตัวใหพรอม<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 37


รับกับสถานการณตาง ๆ ที่จะเกิดขึ้น ใหเห็นถึงความสําคัญของสถาบันครอบครัวที่<br />

ควรอยูรวมกันดวยความรักความอบอุน การสรางความเขมแข็งของชุมชน และมี<br />

ความรักสมัครสมานสามัคคีตอกัน<br />

แมพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวจะทรงงานหนักเพื่อพสกนิกรทั้งประเทศแลว<br />

พระองคยังทรงเปนพระราชบิดาของพระราชโอรสและพระราชธิดา ทรงทะนุบํารุง<br />

พระราชโอรสธิดาดวยความรัก และทรงอบรมอนุศาสนใหทรงเจริญวัยสมบูรณ<br />

พระองคทรงเปน “พอ” ตัวอยางของปวงชนชาวไทยที่เปยมลนดวยพระเมตตากรุณา<br />

ทรวงหวงใยอยางหาที่เปรียบมิได และทรงเปน “พอของแผนดิน”ของชาวไทย ดังนั้น<br />

ในวโรกาสของวันที่ 5 ธันวาคมซึ่งเปนวันเฉลิมพระชนมพรรษาของพระบาทสมเด็จ<br />

พระเจาอยูหัว หรือวันพอแหงชาติของเราชาวไทย เวียนมาบรรจบอีกครั้งในป 2552 นี้<br />

เรามาทําความดีรวมกัน เพื่อแผนดินเกิดของเรา และลองหันหนามาคุยกัน รักสามัคคีกัน<br />

เพื่อความเขมแข็งของประเทศชาติ ถวายเปนราชสักการะใหในหลวงของเรากันเถอะ<br />

และในฐานะความเปนลูกของพอผูใหกําเนิด ตัวเราเองเทานั้นที่บอกไดวาไดหัน<br />

กลับไปหาทานบางหรือยัง หรือปลอยทานไวใหอยูแตเพียงลําพัง หากเปนเชนนั้น<br />

แลว ลองกลับไปหาทานตั้งแตวันนี้เพื่อสรางรอยยิ้มบนใบหนาของชายชราคนหนึ่ง<br />

ซึ่งคุณเรียกวา พอ<br />

แหลงอางอิง<br />

พันนที .2549. จากธุลีดิน เพื่อพอของแผนดิน วันที่สืบคนขอมูล 9 พฤศจิกายน 2552<br />

เขาถึงขอมูลทาง http://www.noknoi.com/magazine/article.php<br />

38<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


ประมวลและกลั่นกรองจากพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวเรื่อง<br />

เศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งพระราชทานในวโรกาสตาง ๆ รวมทั้งพระราชดํารัส<br />

อื่น ๆ ที่เกี่ยวของโดยไดรับพระราชทานพระบรมราชานุญาต ใหนําไป<br />

เผยแพรเมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 2542 เพื่อเปนแนวทางปฏิบัติของทุกฝาย<br />

และประชาชนโดยทั่วไป วันที่สืบคนขอมูล วันที่ 9พฤศจิกายน 2552 เขาถึง<br />

ขอมูลทาง http://km.chondaen.ac.th/km_chondaen.htm/<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 39


สรางสีสันใหชีวิตดวยเครื่องเทศ<br />

สวามินี ธีระวุฒิ<br />

เสนหแหงการปรุงแตงกลิ่น และชูรสชาติอาหารที่คนไทยเราคุนเคยกันมา<br />

แตโบราณ คนไทยสมัยกอนไดเลือกสรรใชเครื่องเทศชนิดตาง ๆ ในการปรุงแตงกลิ่น<br />

และรสชาติอาหารใหนารับประทาน และนํามาชวยดับกลิ่นคาวของเนื้อสัตว เพราะ<br />

ในเครื่องเทศสวนใหญนั้นจะมีน้ํามันหอมระเหยในตัวเองและที่นาทึ่งกวานั้นก็คือ<br />

ภูมิปญญาอันลึกซึ้งของคนสมัยกอน ที่เขาใจถึงคุณคาของพืชสมุนไพรเหลานี้อยางดี<br />

วาสามารถใหประโยชนตอสุขภาพไดมากเพียงไร<br />

เครื่องเทศ หมายถึง สวนตาง ๆ ของพืชที่นํามาใชเปนเครื่องปรุงรสอาหาร<br />

หรือเพื่อใหอาหารมีกลิ่นหอม สารประกอบอินทรียที่เปนกลิ่นหอมของเครื่องเทศนั้น<br />

มาจากสวนที่เปนน้ํามัน และน้ํามันหอมระเหย สวนรสชาติที่เผ็ดรอนนั้นมาจากสวน<br />

ที่เปนยาง นอกจากนี้ยังมีสารอื่นๆ อีก เชน แปง น้ําตาล แรธาตุ และวิตามินบางชนิด<br />

เปนตน เนื่องจากทั้งรสชาติที่เผ็ดรอนหรือฝาดและกลิ่นที่หอมของเครื่องเทศทําใหสิ่ง<br />

เหลานี้ไปกระตุนการหลั่งน้ํายอยและน้ําลาย ทําใหรูสึกวาอาหารอรอยขึ้น นอกจากนี้<br />

สารบางอยางในน้ํามันหอมระเหย สารมารถยับยั้งหรือทําลายแบคทีเรียกอโรค<br />

บางชนิดได โดยเครื่องเทศถูกนํามาใชประโยชนในการเปนสวนประกอบอาหาร ซึ่ง<br />

คุณคาทางอาหารของเครื่องเทศนั้นมีมากมายดวยกัน<br />

เครื่องเทศตัวแรกที่จะขอกลาวถึงคือ อบเชย ซึ่งมีหลายงานวิจัยที่พบวา<br />

อบเชยมีประโยชนตอสุขภาพหลายอยาง โดยเฉพาะชวยควบคุมปริมาณกลูโคส<br />

40<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


ในเลือดใหอยูในระดับปกติ เนื่องจากมีสวนทําใหอาหารคางอยูในกระเพาะอาหาร<br />

นานขึ้น ออกมาสูลําไสเล็กชาลง ชวยอธิบายไดวาทําไมการกินอบเชยจึงมีสวนชวย<br />

ลดระดับน้ําตาลในเลือดหลังอาหารใหต่ําลงได ซึ่งหากระดับน้ําตาลในเลือดเพิ่มขึ้น<br />

เร็วหลังอาหารมักจะตามมาดวยการหลั่งฮอรโมนอินซูลินขนาดสูง ทําใหระดับ<br />

น้ําตาลในเลือดต่ําลงในเวลาตอมา ทําใหหิวงาย ออนเพลียงาย อาจมีสวนทําใหกิน<br />

มื้อตอไปหนักขึ้น และตามมาดวยโรคอวน นอกจากนี้ยังมีงานวิจัยที่พบวา อบเชย<br />

ชวยรักษาโรคความดันโลหิตสูงอีกดวย<br />

พริกเปนเครื่องเทศอีกชนิดหนึ่งที่คนไทยคุนเคยกันเปนอยางดี พริกมีสาร<br />

แคปไซซิน ซึ่งมีฤทธิ์ระคายเคืองตอสัตวเลี้ยงลูกดวยนม โดยทําใหประสาทรับ<br />

ความรูสึกไหมที่เนื้อเยื่อ กระตุนการผลิตเมือกออกมาปองกันการระคายเคืองและ<br />

กระตุนการหลั่งน้ํายอย โดยพริกจะผลิตสารนี้ออกมาเพื่อปองกันการถูกบริโภคโดย<br />

สัตวกินพืช ในเนื้อเยื่อของผลพริกมีแคปไซซินมากกวาในเมล็ด แตแคปไซซินก็มี<br />

ประโยชนตอรางกายเชนกัน หลายงานวิจัยพบวาสารตัวนี้ชวยบรรเทาอาการ<br />

เจ็บปวดของผูปวยโรคมะเร็ง และชวยรักษาน้ําหนักหลังจากการลดน้ําหนักใหคงที่ได<br />

นอกจากนี้การกินพริกจะชวยใหระบบยอยอาหารทํางานไดมากขึ้น และทําใหระบบ<br />

ไหลเวียนเลือดดีขึ้นดวย สารสําคัญอีกอยางที่มีอยูในพริกและมีประโยชนในดาน<br />

ตานมะเร็งคือ เบตา-แคโรทีนอยด ซึ่งเมื่อถูกยอยในลําไสเล็กแลว จะกลายเปน เรตินอล<br />

ซึ่งเปนรูปแบบหนึ่งของวิตามินเอ และจะถูกเก็บสะสมไวในตับเพื่อนําไปใชในคราว<br />

จําเปน เบตาแคโรทีนเปนสารตานอนุมูลอิสระ และยังชวยเสริมสรางภูมิคุมกัน<br />

รวมทั้งชวยใหระบบสืบพันธุทํางานไดดี สารสุดทายในพริกที่จะกลาวถึงคือกรด<br />

แอสคอรบิก ซึ่งเปนรูปแบบหนึ่งของวิตามินซี ชวยเสริมสรางระบบภูมิคุมกัน และ<br />

เกี่ยวของกับการสรางคอลลาเจนซึ่งเปนโครงสรางของผิวหนังและหลอดเลือด ทั้งยัง<br />

ชวยขนสงไขมันไปยังไมโทรคอนเดรียใหสันดาปอาหารไดเปนพลังงานกับรางกาย<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 41


ขมิ้นชัน ขิง และขา เปนที่รูกันวาเครื่องเทศทั้งสามชนิดนี้ มีสารเคอรคิวมิน<br />

ซึ่งมีสรรพคุณชวยลดโคเลสเตอรอลในกระแสเลือด ลดการอักเสบของกระเพาะ<br />

อาหาร และกระตุนการหลั่งสารมิวซินออกมาเคลือบกระเพาะ จึงบรรเทาอาการปวด<br />

ทองเนื่องจากแผลในกระเพาะได นอกจากนี้น้ํามันหอมระเหยในเหงาขมิ้นชันยังมี<br />

สารพาราโทริลคารบินอล ชวยเพิ่มน้ํายอยและขับน้ําดีออกมามากขึ้น ชวยยอย<br />

อาหาร ลดการ จุกเสียดโดยเฉพาะผูที่กินไขมันมากเกินไป ปองกันการเกิดการแพ<br />

ฮีสตามีน และโรคอัลไซเมอรไดอีกดวย<br />

หัวหอมเปนครื่องเทศคูครัวไทยอีกชนิดที่มีประโยชน เนื่องจากในหัวหอมมี<br />

กรดลิโนลีนิค ซึ่งเปนสารที่ชวยลดปริมาณไขมันในเลือด และยังชวยขยายเสนเลือด<br />

ใหกวางขึ้น เปนผลใหเลือดไหลเวียนไปเลี้ยงสวนตาง ๆ ของรางกายไดสะดวกยิ่งขึ้น<br />

นอกจากนี้ ยังไดมีการนําหัวหอมมาชวยกันบูด เพราะในหัวหอมประกอบดวยสาร<br />

พวกซัลไฟดตาง ๆ หลายชนิด ซึ่งนอกจากจะทําใหเกิดกลิ่นที่เปนลักษณะเฉพาะของ<br />

หัวหอมแลวยังใหผลยับยั้งการเจริญของจุลินทรียตาง ๆ ไดดี เชน ในอาหารที่มีน้ํา<br />

สกัดของหัวหอมอยูดวยจะสามารถยับยั้งการเจริญของวิบริโอ พาราฮิโมไลติคัส<br />

(Vibrio parahaemolyticus) ซึ่งเปนแบคทีเรียที่เปนสาเหตุของโรคอหิวาตเทียม นอกจากนี้<br />

ยังทําลายแบคทีเรียซึ่งเปนสาเหตุของโรคบิดและอาหารเปนพิษได นอกจากนี้ยัง<br />

พบวาในหัวหอมมีน้ํามันหอมระเหยอยูดวยเชนเดียวกับพืชที่เปนเครื่องเทศอื่นๆ<br />

นอกจากสมุนไพรทั้งสี่ชนิดที่กลาวมาแลว สมุนไพรอีกหลายอยางก็มี<br />

สรรพคุณในการรักษาโรคตาง ๆ ไดแก กระเทียมชวยลดคอเลสเตอรอลไดดีสําหรับ<br />

ผูปวยโรคหัวใจ สวนกะเพราชวยแกอาการทองอืดทองเฟอ ขับลม ขับเสมหะ และ<br />

เพิ่มน้ํานมในหญิงหลังคลอด กระชายชวยแกบิด ปวดทอง ทองอืด ทองรวง ไอ และ<br />

บํารุงหัวใจ สวนผักชีชวยขับลม แกไข แกไอ ในขณะที่ตะไครชวยขับปสสาวะ แกนิ่ว<br />

และลดความดันโลหิตสูง เครื่องเทศที่มีฤทธิ์เปนยาตามธรรมชาติเหลานี้อยูรอบ ๆ<br />

ตัวนะคะ อยาลืมเติมสักนิดในอาหารจานโปรดของคุณ<br />

42<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


แหลงอางอิง<br />

กรมเศรษฐกิจการพาณิชย. 2545. เครื่องเทศและสมุนไพร. เขาถึงจาก http://mis.rmutt.ac.th/<br />

sme/Details/InvestmentExamples/I010.doc (วันที่สืบคน 28 สิงหาคม<br />

2552).<br />

วัลลภ พรเรืองวงศ. 2550. กินอะไรไมเชย ตอบ "อบเชย" (ดีกับสุขภาพ). เขาถึงจาก http://<br />

www.herbalone.net/index.php?option=com_content&task=view&id<br />

=236&Itemid=41 (วันที่สืบคน 28 สิงหาคม 2552).<br />

บัญญัติ สุขศรีงาม. 2548. หัวหอม : เครื่องเทศประจําครัวเรือนของไทย. บทความ<br />

รายการกาวไกลในโลกกวาง. สํานักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยบูรพา<br />

ชลบุรี<br />

สุทัศน ยกสาน. 2551. ขมิ้น: พืชทองของอินเดีย. ขาวดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี.<br />

สํานักหอสมุดและศูนยสารสนเทศวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. กรุงเทพฯ<br />

สุนีย จันทรสกาว. 2546. อาหารไทยเพื่อสุขภาพ. ขาวสารเชียงใหมเภสัชสนเทศ ปที่ 7<br />

ฉบับที่ 2.<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 43


โรคที่มากับฤดูหนาว<br />

กรองจันทร รัตนประดิษฐ<br />

สวัสดีคะทานผูฟงทุกทาน ตอนนี้ก็ยางเขาฤดูหนาวอีกรอบแลวนะคะ<br />

ที่ปนี้อาจมีชวงเวลาของอุณหภูมิที่ต่ําลงยาวนานกวาปกติเนื่องจากภาวะโลกรอน<br />

ทําใหอากาศแปรปรวน หลายพื้นที่ตองระมัดระวังเพิ่มมากขึ้น เพราะไมใชแตปญหา<br />

จากอุณหภูมิเทานั้น ฤดูหนาวยังนําโรคหลายประการติดมาดวย จากขอมูลของ<br />

ประกาศกรมควบคุมโรค เรื่องการปองกันโรคที่เกิดในฤดูหนาว ระบุวาอากาศที่<br />

เปลี่ยนแปลงนั้นหากรางกาย ปรับตัวไมทันอาจทําใหเกิดโรคตาง ๆ ขึ้นได โรคที่เกิดใน<br />

ฤดูหนาว มักจะเกิดกับเด็กและผูสูงอายุเปนสวนใหญ ไดแก โรคหวัด ไขหวัดใหญ<br />

ปอดบวม หัดเยอรมัน อีสุกอีใส และอุจจาระรวง จากขอมูลจากกระทรวงสาธารณสุข<br />

กลาววา จากการติดตามสถานการณฤดูหนาวที่ผานมา4 เดือน ตั้งแตเดือน<br />

พฤศจิกายน 2550 จนถึงเดือนกุมภาพันธ 2551 มีผูปวยจากโรคฤดูหนาว 6 โรค<br />

รวมกันทั่วประเทศ 515,580 ราย เสียชีวิต 315 รายมากที่สุดคือ อุจจาระรวงปวย<br />

442,187 ราย เสียชีวิต 31 ราย รองลงมาคือ ปอดบวม ปวย 43,109 ราย เสียชีวิต 280<br />

ราย โรคอีสุกอีใสปวย 22,745 ราย เสียชีวิต 2 ราย ไขหวัดใหญปวย 6,754 ราย เสียชีวิต<br />

2 ราย โรคหัดปวย 1,645 ราย และหัดเยอรมันปวย 128 ราย ไมมีการเสียชีวิต เรามา<br />

ทําความรูจักโรคเหลานี้กันนะคะ<br />

ไขหวัดและโรคไขหวัดใหญ เกิดจากเชื้อไวรัส ติดตอไดงายโดยการ<br />

หายใจ และเชื้อจะอยูในน้ํามูก น้ําลาย จึงติดตอไดโดยการสัมผัส แพรกระจายใน<br />

44<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


สถานที่ซึ่งมีคนอยูรวมกันจํานวนมาก และอากาศไมถายเท เชน โรงหนัง<br />

หางสรรพสินคา อาการจะเริ่มตนดวยการมีไขสูง ปวดศีรษะ ปวดเมื่อย น้ํามูกไหล ไอ<br />

จาม เจ็บหรือแสบคอ บางคนอาจหนาวสั่น ไขหวัดใหญจะมีอาการรุนแรงกวา คือ<br />

ตัวรอนจัด หนาวสั่น ปวดศีรษะมาก ปวดกระดูก มักคลื่นไสดวย ควรระวังโรคแทรกซอน<br />

เชน ปอดบวม หลอดลมอักเสบ คออักเสบ ในเด็กเล็ก และผูสูงอายุจะมีความเสี่ยง<br />

มากกวาชวงวัยอื่น และที่สําคัญหากอยูในพื้นที่ที่เลี้ยงสัตวปก และปวยหลังจากมี<br />

สัตวตายอยางผิดปกติ ตองระวังเรื่องของไขหวัดนก ควรพบแพทยและแจงปศุสัตว<br />

ทันที สิ่งที่ตองระวังเพิ่มขึ้นก็คือเรื่องของไขหวัดใหญสายพันธุใหม 2009 เนื่องจาก<br />

ไขหวัดใหญสายพันธุใหมนี้มีการติดตอหรือแพรเชื้อไดงายและรวดเร็วและสามารถ<br />

สงผานระหวางมนุษยสูมนุษยได ดังนั้นจึงควรปองกันตนเองเบื้องตนดวยการ<br />

หลีกเลี่ยงการไปในสถานที่ชุมชนแออัด รักษาสุขภาพใหแข็งแรง และลางมือบอย ๆ<br />

โรคอุจจาระรวง หมายถึง ภาวะที่มีการถายอุจจาระเหลว จํานวน 3 ครั้งตอ<br />

กันหรือ มากกวา หรือถายเปนน้ํามากกวา 1 ครั้ง ใน 1 วัน หรือถายเปนมูกหรือปนเลือด<br />

อยางนอย 1 ครั้ง สาเหตุเกิดจากการติดเชื้อในลําไสจากเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส โปรโตซัว<br />

ปรสิตและหนอนพยาธิ สถานีอนามัย โรงพยาบาลชุมชนในประเทศไทยมักจะหา<br />

สาเหตุของเชื้อโรคที่กอใหเกิดอาการอุจจาระรวงไมได ก็จะใหการวินิจฉัยจากอาการ<br />

อาการแสดงและลักษณะอุจจาระไดแก บิด อาหารเปนพิษ ไขไทฟอยด เปนตน แต<br />

โรคนี้เปนโรคที่ประชาชนสามารถปองกันไดดวยการดูแลสุขอนามัยในการ<br />

รับประทานอาหาร การเก็บอาหาร และการปรุงอาหารรวมทั้งลางมือหลังเขาหองน้ํา<br />

ทุกครั้ง<br />

โรคหัดเยอรมัน โรคนี้มีสาเหตุมาจากเชื้อไวรัสที่ชื่อวา ไวรัสรูเบลลา<br />

อาการที่พบสวนใหญมักจะเริ่มดวยอาการคลายหวัดนํามากอน ในบางรายอาจจะ<br />

เล็กนอยมากจนแทบสังเกตไมพบวาตัวเองไมสบาย อาการแสดงที่สําคัญมากในโรค<br />

หัดเยอรมันคือ การที่มีตอมน้ําเหลืองที่อยูหลังใบหู และบริเวณคอดานหลังโตขึ้น<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 45


และเจ็บมากกวาโรคผื่นที่เกิดจากไวรัสตัวอื่น เมื่อมีตอมน้ําเหลืองโตขึ้นได 1 วัน ก็<br />

จะเริ่มมีผื่นขึ้น และคงอยูประมาณ 3 วัน ผื่นมักจะเริ่มที่บริเวณหนา แลวกระจายไป<br />

ทั้งตัวอยางรวดเร็ว อาการอื่นที่อาจพบไดคลายโรคหัด ไดแก คอแดง เยื่อบุตาอักเสบ ไข<br />

ต่ํา ๆ และมักพบอาการปวดตามขอรวมดวย โรคหัดเยอรมันมีความสําคัญก็เพราะ<br />

ความสามารถของตัวเชื้อในการกอใหเกิดความพิการแตกําเนิด ซึ่งจะเกิดในผูหญิง<br />

ตั้งครรภที่บังเอิญเกิดปวยดวยโรคนี้ พบวาหนึ่งในสี่ของเด็กที่คลอดจะมีความพิการ<br />

ออกมาดวยและยังทําใหอัตราการแทงและการตายในครรภสูงกวาปกติดวย<br />

โรคอีสุกอีใส มักเกิดในเด็ก อาการเริ่มดวยมีไขต่ํา ๆ เหมือนไขหวัด หัด<br />

ไขหวัดใหญ แลวจะมีผื่นแดง ตุมนูน และเปลี่ยนเปนตุมพองใสในวันที่ 2-3 นับแต<br />

เริ่มมีไขหลังจากนั้นจะเปนหนอง เริ่มแหงตกสะเก็ด ในชวง 5-20 วัน ผื่นอาจขึ้นใน<br />

คอ ตา และปาก โดยทั่วไปจะไมเกิดโรคแทรกซอน<br />

ปอดบวม เปนสาเหตุการตายอันดับหนึ่งของกลุมโรคติดเชื้อในเด็กอายุ<br />

ต่ํากวา 5 ป โดยเฉพาะเด็กแรกเกิด น้ําหนักตัวนอย เด็กในวัยขวบแรก เด็กขาด<br />

สารอาหาร เด็กที่มีความพิการแตกําเนิด สวนใหญปอดบวมจะเกิดหลังจากโรคหวัด<br />

ประมาณ 2-3 วัน หากเกิดในเด็กเล็กใหระวังอาการช็อก ทั้งนี้เมื่อทราบสาเหตุ<br />

อาการของโรคตาง ๆ ในหนาหนาวแลวเด็กเล็กและผูสูงอายุควรระมัดระวังดูแล<br />

สุขภาพรางกายใหแข็งแรงอยูเสมอ จะสามารถปองกันโรคไดทุกชนิด และใหกรม<br />

ควบคุมโรคออกประกาศการปองกันโรคในฤดูหนาว เพื่อใหทุกจังหวัดประชาสัมพันธให<br />

ความรูแกประชาชนในวงกวาง<br />

46<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


แหลงอางอิง<br />

ปราโมทย ธีรพงษ. โรคหัดเยอรมัน. หมอชาวบาน. ปที่ 18 ฉ. 213, หนา 17-19<br />

หมอแก. โรคหนาหนาว. ชีวจิต. ปที่ 5(32), หนา 62-63.<br />

ธัญญณัฐ บุนนาค. หวัดหนาหนาว อันตายที่ไมควรเสี่ยง. แมและเด็ก. ปที่ 21(310),<br />

หนา 59<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 47


สื่อสารอยางไรใหทันสมัย<br />

กันทิมา ออนละออ<br />

ปจจุบัน การติดตอสื่อสารผานทางเครือขายอินเทอรเน็ต กําลังเปนที่นิยม<br />

แพรหลายในหมูผูใชงานอินเทอรเน็ตในทุกเพศทุกวัย การพูดคุยสนทนาในโลก<br />

เสมือนจริงโดยการติดตอกันผานทางหนาจอคอมพิวเตอร ทําใหผูใชกลาแสดงออก<br />

มากกวาการติดตอสื่อสารแบบเห็นหนาตาจริง ๆ นั้นเปนเหตุผลสวนหนึ่งที่ทําใหมี<br />

ผูคนเขามาอยูในโลกอินเทอรเน็ตแลวรวมเปนสังคมเพื่อติดตอสื่อสารแลกเปลี่ยน<br />

ขอมูลซึ่งกันและกันจํานวนมากมาย ในปจจุบันมีการติดตอสื่อสารทางอินเทอรเน็ต<br />

ในรูปแบบใหม ๆ เพิ่มจากแตกอน ไมวาจะเปนเฟสบุค ไฮไฟว เอ็มเอสเอ็น มายสเปส<br />

และทวิสเตอร เปนตน บทความนี้จะแนะนํารูปแบบการสื่อสารเหลานี้ ใหทานผูฟงได<br />

รูจักและรับทราบ ดังนี้<br />

เฟสบุค เปนซอฟตแวรที่ใชงานผานเครือขายอินเทอรเน็ต มีจุดกําเนิดจาก<br />

นักศึกษาในสหรัฐอเมริกา ตองการคนหาเพื่อนเกาที่เคยเรียนโรงเรียนเดียวกัน และ<br />

ตองการหาเพื่อนใหม หรืออาจกลาวไดวาเปนการทําหนังสือรุนโดยไมจัดทําเปน<br />

รูปเลมแตใชงานบนอินเทอรเน็ต ซึ่งผูใชตองลงทะเบียนโดยใชอีเมล เฟสบุคอนุญาต<br />

ใหผูใชสรางหนาเว็บของตัวเอง และใสขอมูลตาง ๆ ตามที่ตองการ จากนั้นก็เริ่ม<br />

ขยายเครือขายเพิ่มขึ้น โดยระบบสามารถคนหาผูใชที่มีความสนใจตรงกัน เชนชอบ<br />

อานหนังสือประเภทเดียวกัน หรือชอบดนตรี ชอบหนังเรื่องเดียวกันได ในหนาเว็บ<br />

ของเฟสบุคมีสวนประกอบหลักคือขอมูลผูใช จํานวนเพื่อนในเครือขาย กิจกรรมที่<br />

48<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


สนใจ และพื้นที่สาธารณะ ซึ่งผูเขาเยี่ยมชมสามารถเขียนขอความไวได โดยผูใช<br />

สามารถกําหนดใหเฉพาะเพื่อนในเครือขายเห็นหรือใหทุกคนเห็นก็ได นอกจากนี้ยัง<br />

อนุญาตใหผูใชงานสามารถอัพโหลดรูปได รวมถึงยังใหผูใชตั้งกลุม หรือตั้งแฟนคลับ<br />

ตาง ๆ ไดดวย<br />

ไฮไฟว มีการทํางานคลายตูไปรษณียที่นิยมใชเขียนขอความสงถึงกัน<br />

เปนระบบอินเตอรเน็ตออนไลนที่มีการเชิญเพื่อนจากรายชื่อเพื่อนในอีเมลตาง ๆ<br />

สมัครเขามาเปนเพื่อนของเรา โดยระบบจะทําการเพิ่มอีเมลเพื่อนให ในไฮไฟวจะมี<br />

การใสขอมูลที่ผูใชตองการ เชนรูปภาพ ซึ่งสามารถตกแตงไดตามตองการ รวมถึง<br />

ขอความที่ผูใชตองการบอกกลาวเพื่อแสดงความเปนตัวตนของผูใชคนนั้น ๆ ไดอยาง<br />

ที่ตองการ การทํางานของไฮไฟวคือระบบจะทําการคนหาเพื่อนใหมาเปนสมาชิก<br />

และยังมีรายชื่อสมาชิกคนอื่น ๆ อยูในรายชื่อของเพื่อนอีกทีหนึ่ง หากผูใชตองการ<br />

เพิ่มเพื่อนก็สามารถทําไดงายมากโดยการเลือกเพื่อน จะทําใหเพื่อนของเคากลายมา<br />

เปนเพื่อนของเราไดโดยอัตโนมัติและยังสามารถแสดงความคิดเห็นที่เรียกวา<br />

คอมเมนทไดดวย<br />

เอ็มเอสเอ็น คือโปรแกรมสงขอความผานระบบเครือขายอินเทอรเน็ต<br />

เปนที่นิยมเปนอยางมาก เพราะใชงานงาย มีคุณสมบัติตาง ๆ มากมายเชนแจงเตือน<br />

ใหผูใชทราบวามีเมลใหมเขามา อีกทั้งมีความรวดเร็วในการรับและสงขอความ<br />

โปรแกรมมีรูปแบบที่สวยงาม อีกทั้งยังสามารถเพิ่มเพื่อนที่เราตองการคุยดวยได<br />

อยางงายดายเพียงรูอีเมลของเพื่อนก็สามารถสนทนาผานเครือขายไดแลว นอกจากนี้<br />

ยังมีคุณสมบัติที่เรียกวา มายสเปส ซึ่งอนุญาตใหผูใชงานเอ็มเอสเอ็นสรางเว็บไซต<br />

สวนตัว หรือที่คนสวนมากเรียกกันทั่ว ๆ ไปวาบล็อก ซึ่งบล็อคคือการเขียนบทความ<br />

ของตนเองลงบนเว็บไซตซึ่งเขียนเรื่องอะไรก็ได ซึ่งผูที่เปนเจาของจะเปนผูที่ตั้งหัว<br />

เรื่องที่ตนเองสนในเทานั้นสมาชิกคนอื่นจะสามารถแสดงความคิดเห็นลงไปได ขอดี<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 49


ของมายสเปสคือถาเจาของไดทําการปรับปรุงหนาเว็บไซตของตนเองแลว สมาชิก<br />

คนอื่นจะสามารถทราบไดทันทีวาหนาเว็บไซตนั้น ไดมีการปรับปรุงแลว<br />

ทวิตเตอร เปนบริการที่ผูใชสามารถสงขอความที่มีความยาวไมเกิน 140<br />

ตัวอักษร โดยผูใชสามารถสงขอความของตนเองแลวเพื่อน ๆ ที่ติดตามทวิตเตอรของ<br />

เราอยูก็สามารถอานขอความเหลานั้นได และผูใชเองก็สามารถอานขอความของ<br />

เพื่อน ๆ ไดเชนกัน ซึ่งขอความที่เขียนจะไปแสดงอยูในหนาเว็บเพจของผูเขียน และ<br />

จะทําการสงขอความนี้ไปยังสมาชิกที่ติดตามผูเขียนคนนั้นโดยอัตโนมัติ สาเหตุสําคัญ<br />

ที่ทวิตเตอรเปนที่นิยมทั่วโลก เพราะวามีเครื่องมือที่อํานวยความสะดวกใหผูเขียน<br />

สามารถปรับปรุงขอมูลใหทันสมัย หรือเขียนขอความจากที่ไหนก็ได ตั้งแตหนาเว็บไซต<br />

บนโปรแกรมที่ติดตั้งลงบนเครื่องคอมพิวเตอร หรือแมกระทั่งบนโทรศัพทมือถือ จึงทําให<br />

ผูเขียนทวิตเตอรนั้นสามารถปรับปรุงขอมูลไดบอยเทาที่ตองการ<br />

จากที่กลาวมาทั้งหมด หากใชเทคโนโลยีในทางที่ผิดหรือไมเหมาะสม ก็จะ<br />

สงผลทั้งตอตัวผูใชเอง รวมถึงอาจสงผลกระทบตอสังคมไดเชนกัน จึงควรใชเครื่องมือ<br />

ตาง ๆ เหลานี้ในทางที่ถูกตอง เพื่อที่เราทุกคนจะไดใชเทคโนโลยีตาง ๆ เหลานี้เพื่อ<br />

อํานวยความสะดวก อีกทั้งยังเปนกิจกรรมที่ทําแลวมีความสุขอีกดวย<br />

แหลงอางอิง<br />

หนังสือประกอบการเรียนการสอนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร<br />

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา<br />

ตุลาคม 2549 (เอกสารประกอบการบรรยาย)<br />

http://www.tlcthai.com/webboard/view_topic.php?table_id=1&cate_id=2&<br />

post_id=22586 เขาถึงขอมูลวันที่ 10 พฤศจิกายน 2552<br />

50<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


http://www.expert2you.com/view_article.php?art_id=3149 เขาถึงขอมูลวันที่<br />

10 พฤศจิกายน 2552<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 51


มาฉลองปใหมดวยการสรางนิสัยการกินใหม<br />

กันเถอะ<br />

อนุเทพ ภาสุระ<br />

สวัสดีครับทานผูฟงทุกทาน ผูเขียนคาดวาทานผูฟงคงจะกําลังรอคอย<br />

ชวงเวลาเฉลิมฉลองในเทศกาลปใหมกันอยูนะครับ ปใหม ก็เปนวัน ๆ หนึ่งในจุดเล็ก ๆ<br />

ของชวงชีวิตที่ตอเนื่องกันไปจนสุดเสนชีวิต คุณคาของวันปใหมคงมิใชเพียงแคเปน<br />

เหตุผลที่ไดเมาหัวราน้ํา หรือไดมีโอกาสไดกินเค็กปใหม หรือไดหยุดงานโดยไมตอง<br />

ทําอะไรหลาย ๆ วันเทานั้น แตวันปใหมควรเปนจุดเล็กๆในชีวิตที่กระตุกใหเราได<br />

หยุดคิด เปนจุดที่เราจะไดตั้งตนในการทําอะไรใหมๆ ใหกับตัวเอง<br />

หากคุณกําลังคิดถึงความหวานนุมแสนอรอยของเคกอวยพรจากลูกหลาน<br />

ญาติมิตร หรือเพื่อนพองตามวัฒนธรรมที่เรารับมาจากฝรั่ง จนลืมนึกถึงน้ําหนักที่<br />

เพิ่มเอาเพิ่มเอา หลายคนอาจจะตอบวา ก็มันอดไมไดนี่นา ไวคอยไปหายาลดน้ําหนัก<br />

กินทีหลังก็แลวกัน หลายคนบอกกับตัวเองเชนนั้น แตการลดน้ําหนักโดยใชยามี<br />

ผลเสียและผลขางเคียงมากมาย ซึ่งยาลดความอวนมีอยูหลายชนิด ประเภทที่ออก<br />

ฤทธิ์ตอประสาทสวนกลาง อันนี้อาจไดผลสูงตอนที่รับประทาน แตก็ทรมานคนกิน<br />

พอสมควร เชน ทําใหนอนไมหลับ ใจสั่น คอแหง ทําใหคนจิตไมปกติได สวนใหญคน<br />

จะทนผลขางเคียงของยาชนิดนี้ไมคอยได แถมยังอวนไดมากกวาเกาเมื่อหยุดยาหรือ<br />

ที่เรียกวาปรากฏการณ โย โย เอฟเฟค (yo - yo - effect) สวนยาลดความอวนอีก<br />

ประเภทหนึ่งคือพวกที่สามารถพองในทอง ทําใหรูสึกอิ่ม ยาลดความอวนชนิดนี้<br />

52<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


ไมคอยมีผลขางเคียง แตอาจทําใหขาดแรธาตุบางตัว และทําใหความอวนกลับมา<br />

หาเราใหมไดเร็วเหมือนกัน สวนชาลดความอวนทั้งหลายที่วางขายอยูในทองตลาด มักจะ<br />

เปนยาระบาย ชวยขับน้ําออกจากรางกายไมมีผลอยางแทจริงกับน้ําหนักตัวแตอยางใด<br />

นอกจากนี้ยังมีงานวิจัยที่คนพบวา สารสกัดจากสมแขก สามารถลด<br />

น้ําหนักไดดี โดยไมมีผลขางเคียงเหมือนยาลดความอวนประเภทตาง ๆ ที่ผานมา ซึ่ง<br />

ก็เปนความหวังของวงการธุรกิจลดน้ําหนัก วาจะหากินจากสารสกัดสมุนไพรตัวนี้ได<br />

อีกมากโข แตทวาสมาคมแพทยหลายแหงทั้งในและตางประเทศ ตางก็ออกมา<br />

ประกาศวา ยาลดความอวนทั้งหลายแหลนั้น ไมไดชวยอะไรมากมาย สักพักหลังจาก<br />

หยุดกินยาก็กลับมาอวนเหมือนเดิมหรือมากกวาเกาเสียอีก<br />

ทานผูฟงคงจะเห็นแลววา การจะหวังพึ่งยาลดน้ําหนักดูเหมือนจะริบหรี่<br />

เต็มที การหันกลับมาพึ่งสมุนไพรอันเปนภูมิปญญาดั้งเดิมนาจะเปนวิธีที่ดีกวา<br />

สมัยกอนเราไมไดมีปญหาเรื่องโรคอวนแตอยางใด ยาลดความอวนจึงมิได ปรากฎ<br />

ในตํารายาโบราณเลมใด ๆ เพราะคนสมัยกอนบริโภคอาหารแตกตางจากปจจุบัน<br />

ดังนั้นการรักษาโรคอวนที่ดีที่สุดคือ การหันกลับไปบริโภคอาหารเหมือนกับ<br />

ในยุคที่ไมมีโรคอวนระบาด นิสัยการรับประทานอาหาร และรูจักใชพลังงานออกมา<br />

บางจึงเปนสิ่งจําเปนที่สุดในการลดความอวนและถายอนกลับไปดูจะพบวาคน<br />

สมัยกอนเขากินอาหารที่มีสวนประกอบของผักมากกวาเนื้อสัตว แมวาจะมีปริมาณ<br />

ขาวซึ่งเปนคารโบไฮเดรตสูงก็ตาม แตน้ําหนักตัวก็ไมไดเกินมากมายจนเปนโรคอวน<br />

เชนคนสมัยนี้ ซึ่งแตกตางจากสาว ๆ หนุม ๆ ยุคนี้ถึงแมจะพยายามกินขาวนอย ๆ<br />

เพราะกลัวอวนแตก็ยังอวนอยูดี มีเรื่องนาแปลกจากงานวิจัยที่ศึกษาเปรียบเทียบ<br />

การลดน้ําหนักของคนตางเผาพันธ พบวา คนอเมริกันที่พยายามลดน้ําหนัก ดวยการ<br />

กินอาหารที่มุงลดน้ําหนัก เชน อาหารที่มีแคลอรี่นอยที่สุดเทาที่จะทําได โดยกินอาหาร<br />

คารโบไฮเดรตไมเกิน 30 กรัม ตอวัน แตก็ลดน้ําหนักไดไมนานกับ ตารางควบคุม<br />

น้ําหนักราคาแพงจากสถาบันตาง ๆ สุดทายก็กลับมาอวนไดเหมือนเดิม ในขณะที่<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 53


คนอัฟริกาและคนเอเชียสามารถกินอาหารที่มีใหแคลอรี่สูงถึง 3,000 แคลอรี่ตอวัน<br />

และมีปริมาณคารโบไฮเดรตสูงถึง 600 กรัมตอวันตลอดชีวิต แตไมมีปญหาเรื่อง<br />

น้ําหนักเพิ่มมากเหมือนคนอเมริกัน เนื่องจากคนเอเชียและคนอัฟริการับประทาน<br />

อาหารที่มีกากมากกวาคนอเมริกัน กลาวคือการรับประทานอาหารที่มีกากจะชวยใน<br />

การควบคุมน้ําหนักไมใหเปนโรคอวนได ดังนั้นในปใหมนี้หากทานผูฟงจะใหของขวัญ<br />

กับตัวเอง ก็ลองใหนิสัยการกินแบบใหม นั่นคือเพิ่มการกินอาหารที่มีกาก เชน พวก<br />

ธัญญพืช โดยเฉพาะขาวกลองเปนอาหารหลักพรอมลดอาหารประเภทไขมัน ลดอาหาร<br />

ที่มีน้ําตาลสูง ๆ ซึ่งจะปองกันและรักษาโรคอวน ทั้งนี้เพื่อสุขภาพที่ดีตลอดปและ<br />

ตลอดไป<br />

แหลงอางอิง<br />

Smith, D. and McFall, S. 2005. The relationship of diet and exercise for weight control<br />

and the quality of life gap associated with diabetes. Journal of Psychosomatic<br />

Research, 59 (6): 385-392.<br />

Koikkalainen, M., Mykkänen, H., Julkunen, H., Saarinen, T. and Lappalainen, R.<br />

2002.Changes in eating and weight control habits after myocardial<br />

infarction. Patient Education and Counseling 46 (2): 125-130.<br />

54<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


สรางแรงบันดาลใจ<br />

ใหเด็กไทยหัวใจวิทยาศาสตร<br />

สวามินี ธีระวุฒิ<br />

ในทุก ๆ วันเสารที่สองของเดือนมกราคม เปนที่ทราบกันดีวา คือวันเด็ก<br />

แหงชาติ ดังนั้นบทความเรื่องนี้จะเปนเรื่องที่พูดถึงความเปนเด็กกับวิทยาศาสตรมี<br />

ความเกี่ยวของกันและเชื่อมโยงกันอยางไร<br />

คําวาวิทยาศาสตร ฟงดูแลวคอนขางนากลัวสําหรับหลายคน เพราะรูสึกวา<br />

เปนเรื่องที่ยาก นาปวดหัว เปนเรื่องของคนเกงเทานั้น ไมใชเปนเรื่องธรรมดาที่คน<br />

ทั่ว ๆ ไปจะเรียนรูและเขาใจได ไมสามารถพบเห็นไดในชีวิตประจําวัน คนที่จะเปน<br />

นักวิทยาศาสตรจะตองเปนคนเกง ใสแวนตาหนา ๆ ใสเสื้อคลุมสีขาว และเมื่อทดลอง<br />

จะตองใชอุปกรณทางวิทยาศาสตร เชน หลอดทดลอง กลองจุลทรรศน และตองอยู<br />

ในหองปฏิบัติการ แตแทที่จริงแลววิทยาศาสตรนั้นเปนเพียงแคการศึกษาหาความรู<br />

หรือความจริงเกี่ยวกับปรากฏการณธรรมชาติรอบ ๆ ตัวเรา ทั้งที่มีชีวิตและไมมีชีวิต<br />

อยางมีขั้นตอนและระเบียบแบบแผน ซึ่งก็คือความพยายามของมนุษยที่ตองการ<br />

คนหาความจริงของธรรมชาตินั่นเอง วิทยาศาสตร มีความสําคัญสําหรับทุกคน ทั้ง<br />

เด็กและผูใหญ ผูชายและผูหญิง ชาวกรุงและชาวชนบท วิทยาศาสตรนี่เองทําใหโลก<br />

เราเปนอยางปจจุบันนี้ วิทยาศาสตร ชวยใหเกิดความสะดวกสบาย ชวยแกปญหาใน<br />

ชีวิตประจําวันของคนเรา การใชวิทยาศาสตรอยางชาญฉลาดจะทําใหโลกนาอยูขึ้น<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 55


ในความเปนจริงมนุษยทุกคนมีจิตใจ เปนนักวิทยาศาสตรอยูแลว ไมมากก็<br />

นอย จะสังเกตไดจากเด็กเล็ก ๆ อยากจะรูไปหมดทุกอยางเกี่ยวกับทุกสิ่งที่พบเห็น<br />

และถาไดพบใครที่เด็กคิดวารู ในสิ่งเหลานั้น คําถามก็จะพรั่งพรูออกมาอยางดู<br />

เหมือนจะไมมีวันสิ้นสุด บางครั้งก็เปนคําถามที่ยากเกินกวาที่ผูใหญจะใหคําตอบ<br />

ผูใหญหลายคนที่ไมเขาใจในธรรมชาติความเปนนักวิทยาศาสตรตัวนอย ๆ ของเด็ก<br />

จึงปดกั้นโอกาสทางการเรียนรูของพวกเขาโดยการไมใหความสนใจกับคําถามและ<br />

การคนพบแบบเด็ก ๆ หรือไมไดจัดประสบการณการเรียนรูที่จะสงเสริมและตอยอด<br />

ทักษะและแนวคิดที่ถูกตองใหกับเด็กอยางเหมาะสม เปนธรรมดาที่เด็กจะอยากรูวา<br />

สิ่งเหลานั้นทํางานอยางไรทําไมโลกจึงเปนอยางนั้นอยางนี้ ในเรื่องเดียวกัน ขณะที่<br />

นักวิทยาศาสตร เรียนรูแบบผูรูคือรูทั้งทฤษฎีและกระบวนการ เด็กจะเรียนรูแบบ<br />

ธรรมชาติ นักวิทยาศาสตรมีความอยากรูอยากเห็นเหมือนเด็ก และเด็กก็คือ<br />

นักวิทยาศาสตรนอย ๆ ที่แทจริง<br />

ดังนั้น การสรางแรงบันดาลใจใหเด็กไทยมีหัวใจวิทยาศาสตรจึงไมใชเรื่อง<br />

ยุงยาก เพียงแคหยิบยกเรื่องราวในชีวิตประจําวันหรือธรรมชาติรอบตัวมาสราง<br />

บรรยากาศและกระตุนการเรียนรูใหเด็กสนุกกับการคนควาหาคําตอบไดดวย<br />

กระบวนการทางวิทยศาสตร โดยเริ่มจากขอสงสัยตาง ๆ นั่นแหละ อยาดวนอธิบาย<br />

ถาอยากใหเด็กรู ไมอยางนั้นจะทําใหเด็กตาบอด ถาอยากใหเด็กฟงก็อยารีบบอก<br />

จนหมด ไมอยางนั้นเด็กจะหูหนวก แตควรประเมินวาเด็กสังเกตเห็นอะไรบาง รับรูได<br />

แคไหน แลวเราก็คอย ๆ เพิ่มเติมเขาไปทีละนิดโดยใหเด็กเกิดความอยากรูอยากเห็น<br />

เพิ่มมากขึ้น ขั้นตอมาคือผูใหญควรกระตุนใหเด็กคิดวาปญหาหรือขอสงสัยนั้น<br />

เด็กเองมีแนวคิดในการหาทางออกอยางไร กับปญหาเหลานั้น เมื่อเด็กสามารถ<br />

แกปญหา หาคําตอบของปญหา โดยไมถูกวิธี ไมมีระบบ ไมมีขั้นตอน การไดรับ<br />

คําตอบ อาจเปนไปไดยาก และอาจจะไมสามารถแกปญหาได การสังเกตอยาง พินิจ<br />

พิเคราะห จะนําไปสู การระบุปญหา ขั้นตอไปตองฝกใหเด็กคาดคะเนวา "เอมันมี<br />

56<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


สาเหตุ มาจากอะไรนะ" หาไวหลาย ๆ ขอ อาจมีขอนึงที่ตอไปจะกลายเปนคําตอบที่<br />

ถูกตอง ซึ่งการทําอยางนี้เรียกวา การตั้งสมมุติฐาน แลวตอไปเริ่มปฏิบัติการเพื่อหา<br />

คําตอบของสมมุติฐาน ทีละขอ ๆ แบบนี้เรียกวา การทดลอง โดยมีขอแมวา ตองมี<br />

การควบคุมการทดลอง คือตองมีการกําหนดตัวแปรตาง ๆ ที่ถูกระบุในสมมุติฐาน<br />

อันนี้นะคงที่ อีกอันเปลี่ยน เจาสวนที่เปลี่ยนนี่แหละ ที่มันจะทําใหไดผลการทดลอง<br />

ตาง ๆ กัน ฝกใหเด็กทดลองหลาย ๆ ครั้ง จนแนใจ หากผลการทดลองขัดกับ<br />

สมมุติฐาน ผูใหญอาจตองฝกใหเด็กลองตั้งสมมุติฐานใหม ซึ่งอาจเกิดขึ้นได โดยการ<br />

บังเอิญ ซึ่งมีหลาย ๆเรื่องในวงการวิทยาศาสตร ที่ถูกคนพบดวยความบังเอิญ คือ<br />

ไมใชสมมุติฐาน ที่ตั้งไวแตแรก แตมาตั้งทีหลัง เมื่อทําการทดลองไปแลว เมื่อไดผล<br />

การทดลองแลว เราเองควรจะแนะนําใหเด็กมีการนําขอมูลที่ไดมาวิเคราะห แลว<br />

สรุปวาจริงตามสมมุติฐานที่ตั้งไวหรือไม ซึ่งในขั้นตอนสุดทายนี้เรียกวา การสรุปผล<br />

โดยกระบวนการทั้งหมดที่กลาวมารวมเรียกวา กระบวนการทางวิทยาศาสตร<br />

หากผูใหญสนับสนุนและเล็งเห็นถึงความสําคัญในการพัฒนาศักยภาพ<br />

ของเด็กไทย ดวยการฝกใหเด็กไดนํากระบวนการคิดทางวิทยาศาสตรไปใชบอย ๆ<br />

ในทุก ๆ เรื่องไมเฉพาะแตในแงของการเรียนในชั้นเรียน แตยังผนวกไปถึงการใชใน<br />

ชีวิตประจําวัน สิ่งตาง ๆ รอบตัว รวมถึงใชประโยชนจากมันสมองและผลงานของ<br />

เยาวชนเหลานี้ พวกเขาจะกลายเปนกําลังสําคัญในการพัฒนาประเทศใหแขงขันกับ<br />

ชาติอื่น ๆ ไดอยางแนนอน<br />

แหลงอางอิง<br />

จริยา สุจารีกุล. 2552. วิทยาศาสตรคือ.....เขาถึงจาก http://www.ipst.ac.th/article/<br />

science-p/sci-p14.html (วันที่สืบคน 5 พฤศจิกายน 2552).<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 57


พีรกิตต คมสัน. 2547.นักอยากวิจัยสําหรับเด็กไทยที่อยากเปนนักวิทยาศาสตร.<br />

กรุงเทพฯ. 117 หนา<br />

สินีนาฏ ทาบึงกาฬ. 2552. ความจําเปนที่ตองสอนวิทยาศาสตรตั้งแตเด็กปฐมวัย.<br />

หนังสือพิมพแนวหนา ฉบับวันที่ 6 มีนาคม 2552.<br />

สมศรี ตั้งมงคลเลิศ. 2552. คุณพอคุณแมจะชวยใหลูกรักวิทยาศาสตรไดอยางไร.<br />

เ ข า ถึ ง จ า ก http://www.ipst.ac.th/article/science-p/science-p17.html<br />

(วันที่สืบคน 5 พฤศจิกายน 2552).<br />

58<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


14 มกราคม :<br />

วันอนุรักษทรัพยากรปาไมแหงชาติ<br />

กรองจันทร รัตนประดิษฐ<br />

ปาไมเปนทรัพยากรที่สําคัญของชาติ ใหประโยชนทั้งทางตรงและทางออม<br />

แกประชาชน มีความสําคัญทั้งตอระบบนิเวศวิทยา ชวยปองกันการชะลางพังทลาย<br />

ของดินทําใหดินอุดมสมบูรณ เปนตนน้ําลําธาร รวมถึงเปนที่อยูอาศัยของสัตวปา มี<br />

ความสําคัญดานเศรษฐกิจเนื่องจากทําใหเกิดผลผลิตที่นํามาใชประโยชนตอมนุษย<br />

ไดอยางมากมาย มีความสําคัญดานนันทนาการในการเปนแหลงพักผอนหยอนใจ<br />

ของมนุษย เปนแหลงศึกษาธรรมชาติวิทยา นอกจากนี้ปาไมยังชวยรักษาความสมดุล<br />

ของภาวะแวดลอมและปองกันภัยธรรมชาติ ซึ่งนําความเสียหายอยางรายแรงแกชีวิต<br />

และทรัพยสินของประชาชน<br />

สาเหตุสําคัญของการลดลงของพื้นที่ปาเกิดจากการลักลอบตัดไมทําลายปา<br />

ปริมาณปาไมที่ถูกทําลายนี้นับวันจะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ตามอัตราเพิ่มของจํานวนประชากร<br />

ยิ่งมีประชากรเพิ่มขึ้นเทาใดความตองการในการใชไมก็เพิ่มมากขึ้นตาม เมื่อ<br />

ประชากรเพิ่มสูงขึ้นความตองการใชที่ดินเพื่อปลูกสรางที่อยูอาศัยและที่ดินทํากิน<br />

ก็สูงขึ้น เปนผลผลักดันใหประชาชนเขาไปบุกรุกพื้นที่ปาไม หรือเผาปาทําไรเลื่อน<br />

ลอย นอกจากนี้ยังมีนายทุนที่ดินเขาไปทําลายปาเพื่อจับจองที่ดินไวขายตอไป การ<br />

สงเสริมการปลูกพืชหรือเลี้ยงสัตวเศรษฐกิจเพื่อการสงออก เชน มันสําปะหลัง ปอ<br />

เปนตน โดยไมสงเสริมการใชที่ดินอยางเต็มประสิทธิภาพทั้ง ๆ ที่พื้นที่ปาบางแหง<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 59


ไมเหมาะสมที่จะนํามาใชในการเกษตร การกําหนดแนวเขตพื้นที่ปากระทําไมชัดเจน<br />

หรือไมกระทําเลยในหลาย ๆ พื้นที่ ทําใหประชาชนเกิดความสับสนทั้งโดยเจตนาและ<br />

ไมเจตนา การจัดสรางสาธารณูปโภคของรัฐ เชน เขื่อน อางเก็บน้ํา เสนทางคมนาคม<br />

การสรางเขื่อนขวางลําน้ําจะทําใหพื้นที่เก็บน้ําหนาเขื่อนที่อุดมสมบูรณถูกตัดโคนมา<br />

ใชประโยชน สวนตนไมขนาดเล็กหรือที่ทําการยายออกมาไมทันก็จะถูกน้ําทวม<br />

ตอมาจึงเกิดปญหาน้ําเนาไหลลงลําน้ํา ไฟไหมปา การทําเหมืองแรซึ่งมีความจําเปน<br />

ที่จะตองเปดหนาดินกอนจึงทําใหปาไมที่ขึ้นปกคลุมถูกทําลายลง สวนเสนทางขนยาย<br />

แรในบางครั้งตองทําลายปาไมลงเปนจํานวนมากเพื่อสรางถนนหนทาง และการ<br />

ระเบิดหนาดินเพื่อใหไดมาซึ่งแรธาตุ สาเหตุดังกลาวนี้สงผลถึงการทําลายปา ทําให<br />

เกิดความไมสมดุลทางภาวะแวดลอมขึ้นจนถึงขั้นเปนอันตรายตอชีวิตและทรัพยสิน<br />

จากอุทกภัยภาคใตที่เกิดขึ้นเมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2531 โดยเฉพาะที่<br />

ตําบลกระทูน อําเภอพิปูน จังหวัดนครศรีธรรมราช และวาตภัยจากพายุเกยที่จังหวัด<br />

ชุมพร เมื่อ พ.ศ.2532 เปนสาเหตุที่ทําใหวันที่ 14 มกราคม พ.ศ.2532 พระบาทสมเด็จ<br />

พระเจาอยูหัวทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชกําหนดแกไขเพิ่มเติม พ.ร.บ.ปาไม<br />

พ.ศ.2484 และพระราชกําหนดแกไขเพิ่มเติม พ.ร.บ.อุทยานแหงชาติ พ.ศ.2504<br />

พระราชกําหนดดังกลาวไดใหอํานาจรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ<br />

โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีมีอํานาจสั่งการใหสัมปทานปาไมสิ้นสุดลงทั้ง<br />

แปลงได ดังนั้นการจัดวางโครงการทําไมทั่วประเทศตองยุติลงทุกโครงการและพื้นที่<br />

และกระทรวงเกษตรและสหกรณพิจารณาแลวเห็นวา ภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นเปนสวน<br />

หนึ่งมาจากสาเหตุการลักลอบตัดไมทําลายปา ดังนั้นในการแกไขปญหาการลักลอบ<br />

ตัดไมทําลายปาจึงจําเปนตองทําการรณรงคอยางตอเนื่องและระยะยาว ใหประชาชน<br />

ไดเขาใจและใหความสําคัญกับการอนุรักษทรัพยากรปาไม และทําใหเกิดความ<br />

ตระหนักตออันตรายซึ่งอาจเกิดขึ้นจากการตัดไมทําลายปาใหได โดยสรางจิตสํานึก<br />

ใหกับประชาชนเกี่ยวกับอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดไมทําลายปา เพื่อตองการ<br />

60<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


อนุรักษปาไมที่มีอยูอยางจํากัดมิใหถูกทําลายตอไป และคณะรัฐมนตรีไดมีมติ<br />

กําหนดใหวันที่ 14 มกราคมของทุกปเปน"วันอนุรักษทรัพยากรปาไมแหงชาติ<br />

การกําหนดใหวันที่ 14 มกราคมของทุกปเปน "วันอนุรักษทรัพยากรปาไม<br />

แหงชาติ” วัตถุประสงคอยางหนึ่งก็เพื่อเปนการตอบสนองนโยบายการปองกันรักษา<br />

ปาและนโยบายปาไมแหงชาติ ดานสังคมและการเมือง ทําใหประชาชนมีความรูสึก<br />

รักและหวงแหนทรัพยากรปาไม ทําใหมีการใชไมอยางประหยัด และสงผลใหสามารถ<br />

อนุรักษทรัพยากรปาไมไวเปนสมบัติของประชาชนทุกคนในชาติไดตลอดไป โดย<br />

ภาครัฐมีการจัดงานวันอนุรักษทรัพยากรปาไมแหงชาติขึ้นเพื่อใหประชาชนได<br />

ตระหนักถึงความสําคัญของวันดังกลาว ซึ่งมีกิจกรรมที่สําคัญ เชน การจัดนิทรรศการ<br />

การเผยแพรความรู การบรรยายความรูในสถานศึกษา ประกวดวาดภาพปาไม แจก<br />

เอกสารเผยแพร แจกกลาไมแกประชาชน ตลอดจนจัดประชุมชี้แจงแกประชาชน<br />

ทั่วไป เชิญชวนใหประชาชนงดเวนการตัดไมทําลายปาพรอมทั้งรวมกันปลูกและ<br />

บํารุงรักษาตนไมในทุกทองที่ สวนภาคเอกชน และประชาชนควรใหการสนับสนุน<br />

และเขารวมกิจกรรมกับทางภาครัฐเทาที่สามารถจะทําได<br />

สําหรับผูมีหัวใจรักปาไมทุกทานคงเห็นดวยวาทุกวันเปนวันอนุรักษ<br />

ทรัพยากรปาไมแหงชาติ แตสําหรับทุกวันที่ 14 มกราคมนี้ ก็มีสวนชวยตอกย้ําให<br />

คนไทยทุกคนเห็นความสําคัญของปาไม และภัยธรรมชาติที่เกิดจากการตัดไม<br />

ทําลายปา เปนวันสําคัญที่ทุกฝาย ทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาชน เยาวชน จะตอง<br />

รวมมือรวมใจกันดําเนินการ จัดใหมีขึ้นทุกทองที่ในวันที่ 14 มกราคม ของทุกป<br />

เพื่อสนับสนุนนโยบายการปาไมแหงชาติ ในการอนุรักษทรัพยากรปาไมไวเปนสมบัติ<br />

ของทุกคนในชาติตลอดไป<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 61


แหลงอางอิง<br />

รจนา ระจินดา. 14 มกราคมเปนวันอนุรักษทรัพยากรปาไมของชาติ. สืบคนเมื่อวันที่<br />

1 กันยายน 2552. เขาถึงไดจาก http://www.forest.go.th/.<br />

ตฤตณัย นพคุณ. ปาไมไทย : บทสรุปของอํานาจและประโยชน (2522). กรุงเทพฯ :<br />

อาร บิซิเนส เพรส.<br />

62<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


ไฮโดรเจน :<br />

พลังงานทดแทนที่นาสนใจในปจจุบัน<br />

สุบัณฑิต นิ่มรัตน<br />

สถานการณโลกในปจจุบันเรื่องราวเกี่ยวกับพลังงานเชื้อเพลิงและ<br />

สิ่งแวดลอมจัดเปนประเด็นรอนที่ทุกฝายตางใหความสําคัญและหันมาเอาใจใสกัน<br />

มากขึ้น การขาดแคลนพลังงานเปนปญหาสําคัญที่สงผลกระทบไปทั่วโลก โดยเฉพาะ<br />

น้ํามันซึ่งเปนเชื้อเพลิงที่สําคัญเริ่มมีปริมาณลดลงและนับวันยิ่งมีราคาแพงขึ้น<br />

การแสวงหาแหลงพลังงานใหมมาทดแทนจึงเปนแนวทางที่ทุกฝายหันมาใหความ<br />

สนใจ ในวันนี้ดิฉันมีพลังงานทางเลือกใหมที่นาสนใจเปนอยางยิ่งมาแนะนําทานผูฟง<br />

หลายทานคงอาจเคยรูจักมาบางแลว นั่นคือ พลังงานไฮโดรเจนคะ<br />

พลังงานไฮโดรเจนเปนเทคโนโลยีที่คอนขางใหมในปจจุบันอาจยังมีผูรูจัก<br />

กันไมแพรหลายมากนัก แตนาสนใจเนื่องจากมีจุดเดนที่เปนพลังงานที่หาไดจาก<br />

ธรรมชาติ และยังเปนพลังงานสะอาดที่ชวยลดภาวะโลกรอนและมลพิษจากไอเสียที่<br />

เกิดจากการใชน้ํามันเปนเชื้อเพลิงอีกดวย เนื่องจากพลังงานชนิดนี้มีตนกําเนิดมา<br />

จากน้ําบริสุทธิ์นั่นเอง กอนที่จะกลาวถึงกระบวนการผลิตพลังงานเรามาทําความ<br />

รูจักกับ “ไฮโดรเจน” พระเอกของเรื่องกันกอนคะ ไฮโดรเจน” จัดเปนธาตุชนิดหนึ่งที่<br />

พบอยูในรูปของสารประกอบมากกวารูปอิสระ แหลงสําคัญที่พบธาตุไฮโดรเจนเปน<br />

องคประกอบ คือ น้ําและสารอินทรีย การจะนําไฮโดรเจนมาใชจึงนํามาจากแหลงที่<br />

พบธาตุนี้และหาไดงาย คือ น้ํา นั่นเอง โดยไฮโดรเจนถือไดวาเปนพลังงานเชื้อเพลิง<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 63


สําหรับการเผาไหมที่มีประสิทธิภาพสูงสะอาดและเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ไดรับการ<br />

คาดหมายและยอมรับวาจะเปนแหลงของพลังงานเชื้อเพลิงที่สําคัญอยางมากใน<br />

อนาคต ในปจจุบันนี้กระบวนการเปลี่ยนรูปสารไฮโครคารบอนดวยไอน้ํา (Steam<br />

reforming of hydrocarbons) เปนกระบวนการที่ใหญที่สุดสําหรับการผลิตพลังงาน<br />

ไฮโดรเจน แตปญหาหลักที่สําคัญมากของกระบวนการนี้คือ การปลดปลอยกาซ<br />

คารบอนไดออกไซดในปริมาณมากซึ่งเปนสาเหตุของสภาวะโลกรอนหรือปรากฏการณ<br />

เรือนกระจก นอกจากนี้แลวยังประสบปญหาการขาดแคลนแหลงของไฮโดรคารบอน<br />

ที่นํามาใชในกระบวนการอีกดวย ดังนั้นกระบวนการอื่นซึ่งเปนทางเลือกใหมที่<br />

ปลอดภัย และสามารถผลิตพลังงานไฮโดรเจนไดอยางมีประสิทธิภาพ จึงควรไดมีการ<br />

พัฒนาขึ้น เพื่อรองรับความตองการพลังงานไฮโดรเจนในอนาคต<br />

ไฮโดรเจนสามารถนํามาใชไดทั้งเปนเชื้อเพลิงและใชสรางพลังงานไฟฟา<br />

โดยการสรางพลังงานไฟฟาจากไฮโดรเจนมีหลักการงาย ๆ โดยเริ่มจากกระบวนการ<br />

แยกกาซไฮโดรเจนจากโมเลกุลน้ําดวยการผานกระแสไฟฟาลงไปในน้ํา แลวปลอย<br />

กาซไฮโดรเจนที่แยกไดใหวิ่งผานเซลลเชื้อเพลิงซึ่งเปนเยื่อแปลงกาซไฮโดรเจนเปน<br />

ไฟฟาที่เรียกวา เอ็มอีเอ (Membrane Electrode Assembly) ซึ่งเปนเยื่อบาง ๆ ที่มี<br />

แผนพลาสติกโพลีเทตราฟลูออรเอททีลีนอยูตรงกลาง ฉาบดวยผาคารบอนที่มีผง<br />

แพลตินั่มเล็กระดับนาโนเคลือบจับในปริมาณที่พอเหมาะ ซึ่งเมื่อกาซไฮโดรเจนวิ่ง<br />

ผานเยื่อนี้จะปลดปลอยพลังงานไฟฟามาใหเราใชงานไดโดยตรงโดยไมตองผาน<br />

แบตเตอรี่ ในปจจุบันไดมีการพัฒนามาใชกับรถยนต ซึ่งมีการพัฒนารถยนตที่ใช<br />

พลังงานไฮโดรเจนเปนเชื้อเพลิงในการเผาไหมโดยตรง และรถไฟฟาพลังงาน<br />

ไฮโดรเจน สําหรับการใชพลังงานไฮโดรเจนเปนแหลงของเชื้อเพลิงโดยตรงในการ<br />

ขับเคลื่อนรถยนต มีหลักการสําคัญคือการแยกน้ําดวยไฟฟาดวยเครื่องมือที่เรียกวา<br />

รีแอกเตอร เครื่องนี้ทํางานโดยอาศัยพลังงานไฟฟา ซึ่งในการนํามาใชกับรถยนตจะ<br />

ประยุกตใชไฟฟากระแสตรงจากแบตเตอรี่รถยนตมาเปนแหลงพลังงานใหแกเครื่อง<br />

64<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


รีแอกเตอร โดยปกติแลวแยกน้ําดวยเครื่องรีแอกเตอรนั้นจะเกิดความรอนสูงซึ่ง<br />

คอนขางเปนอันตราย แตในปจจุบันไดมีการพัฒนาใหการแยกน้ําดวยเครื่อง<br />

รีแอกเตอร สามารถควบคุมความรอนไดอยางมีประสิทธิภาพจนนํามาใชกับรถยนต<br />

ไดอยางปลอดภัย ไฮโดรเจนที่เกิดขึ้นจะนําไปใชเปนเชื้อเพลิงในการเผาไหมของ<br />

เครื่องยนตโดยตรง อีกทั้งในการแยกน้ําจะเกิดไฮโดรเจนขึ้นทีละนอยตามความ<br />

ตองการของเครื่องยนต จึงไมตองสํารองเก็บกาซไฮโดรเจนในถังความดันสูง ขอดี<br />

ของเทคโนโลยีนี้คือ วัตถุดิบราคาถูก เนื่องจากใชน้ําเปลาเปนแหลงวัตถุดิบ และที่<br />

สําคัญเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมเนื่องจากสิ่งที่เกิดขึ้นจากการเผาไหมคือ ไอน้ํา เพียง<br />

อยางเดียว สวนรถไฟฟาพลังงานไฮโดรเจน ปจจุบันประเทศไทยสามารถผลิตรถยนต<br />

ไฟฟาพลังงานไฮโดรเจนที่วิ่งดวยความเร็ว 100 กม.ตอชั่วโมงที่เรียก วา “ไทยคาร”<br />

ซึ่งเปนรถยนตตนแบบ เชื้อเพลิงที่ใชพลังงานไฮโดรเจนจากน้ํา คันแรกที่เปนฝมือของ<br />

นักประดิษฐชาวไทย โดย พล.อ.ท.มรกต ชาญสํารวจ อดีตเจากรมสรรพาวุธทหารอากาศ<br />

เปนการนําหลักการเปลี่ยนพลังงานไฮโดรเจนดวยเซลลเชื้อเพลิงใหเปนพลังงาน<br />

ไฟฟาเพื่อใชในการขับเคลื่อนเครื่องยนต ดังที่กลาวไปขางตน<br />

ดังนั้น พลังงานไฮโดรเจนจึงเปนอีกทาง เลือกหนึ่งที่สามารถนํามาใชทดแทน<br />

พลังงานดั้งเดิมได เนื่องจากคุณประโยชนในดานตาง ๆ โดยสรุปดังนี้ (1) แหลง<br />

พลังงานดั้งเดิมกอใหเกิดกาซเรือนกระจก แตพลังงานไฮโดรเจนเปนพลังงานสะอาด<br />

ไมกอใหเกิดกาซเรือนกระจก ดังนั้นจึงไมสงผลใหเกิดภาวะเรือนกระจก (2) การเผาไหม<br />

ของเชื้อเพลิงดั้งเดิม ไมวาจะมาจากยานพาหนะหรือแหลงอุตสาหกรรมตาง ๆ<br />

กอใหเกิดกลุมควันและฝุนละออง แตพลังงานไฮโดรเจนไมกอใหเกิดมลพิษทาง<br />

อากาศเหลานี้ (3) พลังงานไฮโดรเจนสามารถนําไปประยุกตใชกับงานที่ตองใช<br />

พลังงานดั้งเดิมได เชน ใชเปนเชื้อเพลิงสําหรับครัวเรือน เครื่องยนตสันดาปภายใน<br />

เครื่องกังหันและเครื่องไอพน (4) คาพลังงานเชื้อเพลิงที่ไดจากไฮโดรเจนจะมากกวา<br />

คาพลังงานเชื้อเพลิงไฮโดรคารบอน และเชื้อเพลิงจากแอลกอฮอลเชน เมทานอลและ<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 65


เอทานอลถึง 2.5 และ 5 เทา ตามลําดับ (5) กาซไฮโดรเจนสามารถนําไปใชกับเซลล<br />

เชื้อเพลิง (Fuel cell) ในการผลิตไฟฟา ซึ่งอยูระหวางการพัฒนาและคาดวาจะ<br />

นํามาใชอยางกวางขวางในอนาคตจากขอมูลทั้งหมดที่กลาวไปขางตน ทานผูฟง<br />

หลายทานคงคิดเชนเดียวกับดิฉันนะคะวา พลังงานไฮโดรเจนนั้นนับเปนพลังงาน<br />

ทางเลือกใหมที่นาสนใจอยางยิ่ง เนื่องจากมีขอดีในดานของคาใชจายที่ถูก โดยไม<br />

ตองงอน้ํามันที่ปจจุบันมีราคาแพงขึ้นและไมมีทีทาที่จะลดลง และในดานการอนุรักษ<br />

สิ่งแวดลอมที่ไมกอใหเกิดมลพิษที่สงผลใหเกิดปญหาโลกรอนและมลพิษทางเสียง<br />

ซึ่งจะเปนผลดีอยางยิ่ง หากรัฐบาลใหความสําคัญและใหการสนับสนุน แตสิ่งที่ตอง<br />

คํานึงถึงในการนําเทคโลยีพลังงานทางเลือกไฮโดรเจนใชคือ ความปลอดภัย<br />

เนื่องจากเปนเทคโนโลยีที่คอนขางใหม จึงควรตองมีการศึกษาคนควากันตอไป<br />

จนแนใจวาปลอดภัยในการนํามาใช เพื่อปองกันปญหาที่อาจเกิดขึ้นในภายหลังได<br />

แหลงอางอิง<br />

จันทรเพ็ญ เมฆาอภิรักษ. 2550. บทความพิเศษ : เซลลพลังงาน “ไฮโดรเจน” ทางเลือก<br />

หนึ่งของยุโรป. องคการพิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติ (National<br />

Science Museum) กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี.<br />

พลังงานไฮโดรเจน. 2552.เขาถึงไดจาก http://www.jobpub.com/articles/showarticle.<br />

asp?id=1699<br />

พลังงานไฮโดรเจนและเซลลเชื้อเพลิง. 2548. เขาถึงไดจาก http://www.pyo.nu.ac.th/Info/<br />

Term1-49/hp_contest49/1_21/web/la4.htm<br />

พลังงานไฮโดรเจนไทยกาวไกลไปอีกขั้น. 2008. Eduzones News Network ศูนยขาว<br />

การศึกษาไทย.<br />

Thai Fuel cell Car รถยนตแหงชาติ. 2551. เขาถึงไดจาก http://www.dailynews.co.th<br />

66<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


ความรูเรื่องทรัพยสินทางปญญาเนื่องใน<br />

วันนักประดิษฐไทย 2 กุมภาพันธ <strong>2553</strong><br />

อนุเทพ ภาสุระ<br />

เมื่อวันที่ 2 ก.พ. 2536 ผลงานสิ่งประดิษฐ “กังหันชัยพัฒนา” ซึ่งเปนสิ่งประดิษฐ<br />

เพื่อบําบัดน้ําเสียดวยวิธีการเติมอากาศของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงไดรับ<br />

การทูลเกลาฯ ถวายสิทธิบัตรการประดิษฐ ซึ่งถือไดวาเปนสิทธิบัตรที่ถวายแด<br />

พระมหากษัตริย พระองคแรกของโลก ดวยพระอัจฉริยภาพดานการประดิษฐอันเปน<br />

ที่ยอมรับในระดับสากลโลกและเปนประโยชนตอพสกนิกรไทยเปนอยางยิ่ง คณะรัฐมนตรี<br />

จึงไดมีมติเมื่อวันที่ 10 ม.ค. 2537 กําหนดให 2 ก.พ.ของทุกป เปน “วันนักประดิษฐไทย”<br />

เพื่อเปนการตระหนักถึงความสําคัญของนักประดิษฐและผลงานของนัก<br />

ประดิษฐที่ไดคิดคนขึ้นมาหรือที่เรียกกันวา ทรัพยสินทางปญญา ผูเขียนจะขอ<br />

อธิบายถึงความรูเกี่ยวกับทรัพยสินทางปญญา ซึ่งสามารถแบงไดเปน 2 ประเภท คือ<br />

สิทธิบัตร (Patent) และลิขสิทธิ์ (Copyright)<br />

สิทธิบัตร (Patent) หมายถึง หนังสือสําคัญที่ออกใหเพื่อคุมครองการประดิษฐ<br />

หรือการออกแบบผลิตภัณฑ ทั้งนี้ผูประดิษฐหรือออกแบบผลิตภัณฑหากตองการ<br />

ไดรับความคุมครอง จะตองยื่นคําขอรับสิทธิบัตร แตก็ไมใชวาคิดประดิษฐหรือ<br />

ออกแบบผลิตภัณฑใดขึ้นมาจะไดรับความคุมครองเสมอไป การขอรับสิทธิบัตรการ<br />

ประดิษฐมีเงื่อนไข 3 ประการ คือ 1) เปนการประดิษฐใหม คือ ยังไมเคยมีจําหนาย<br />

หรือขายมากอน หรือเผยแพร หรือยังไมเคยเปดเผยรายละเอียดของการประดิษฐ<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 67


2) มีขั้นตอนการประดิษฐที่สูงขึ้น คือ ไมเปนการประดิษฐที่สามารถทําไดงาย โดยผูมี<br />

ความรูในระดับธรรมดา 3) สามารถนําไปใชประโยชนในอุตสาหกรรม หัตถกรรม<br />

เกษตรกรรม และพาณิชยกรรมได<br />

นอกจากสิทธิบัตรงานประดิษฐแลว ยังมีสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ<br />

ซึ่งหมายถึง สิทธิบัตรที่ไดรับจากการออกแบบรูปราง ลวดลาย หรือสีของผลิตภัณฑ<br />

เงื่อนไขการขอรับสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ การออกแบบผลิตภัณฑที่ขอรับ<br />

สิทธิบัตรได กฎหมายสิทธิบัตรกําหนดวาจะตองมีคุณสมบัติครบทั้ง 2 อยาง ดังตอไปนี้<br />

1) เปนการออกแบบผลิตภัณฑใหม คือ เปนการออกแบบผลิตภัณฑที่ยังไม<br />

เคยมีขายมากอน หรือยังไมเคยเปดเผยในสื่อตาง ๆ ไมวาจะเปนโทรทัศน วิทยุ<br />

นิตยสาร<br />

2) สามารถนําไปใชประโยชนในการผลิตทางอุตสาหกรรมหรือหัตถกรรมได<br />

สวนลิขสิทธิ์ (Copyright) หมายถึง สิทธิแตเพียงผูเดียวที่จะกระทําการใดๆ<br />

เกี่ยวกับงานที่ผูอื่นสรางสรรคไดทําขึ้น ลิขสิทธิ์เปนผลงานที่เกิดจากการใชสติปญญา<br />

ความรูความสามารถ ความวิริยะอุตสาหะ ในการสรางสรรคงานใหเกิดขึ้น งานสรางสรรค<br />

ที่มีลิขสิทธิ์ประกอบไปดวยงานตาง ๆ ไดแก งานวรรณกรรม งานนาฏกรรม งานศิลปกรรม<br />

ผลงานดานดนตรี งานภาพยนตร และงานอื่นใดที่เกี่ยวกับผลงานทางวรรณคดีหรือ<br />

งานศิลปะ เปนตน สิทธิในลิขสิทธิ์จะเกิดขึ้นทันที ตั้งแตผูสรางสรรคไดสรางสรรค<br />

ผลงานออกมา โดยไมตองมีการจดทะเบียนเหมือนกับเครื่องหมายการคา หรือขอ<br />

ความคุมครองเหมือนสิทธิบัตร อยางไรก็ตามผูสรางสรรคสามารถยื่นคําขอแจงงาน<br />

สรางสรรคของตนตอกรมทรัพยสินทางปญญาได<br />

เนื่องจากสิ่งที่ขอรับสิทธิบัตรไดจะตองเปนการประดิษฐคิดคน หรือการ<br />

ออกแบบผลิตภัณฑขึ้นใหม ยังไมเคยมีการเปดเผยสาระสําคัญมากอนไมวาในหรือ<br />

ตางประเทศ ดังนั้นไมวาจะมีการที่เผยแพรผานทางโทรทัศนหรือสิ่งพิมพใด ๆ มากอน<br />

จะถือวาสิ่งที่ไดประดิษฐคิดคนหรือออกแบบผลิตภัณฑขึ้นนั้นไมเปนสิ่งประดิษฐหรือ<br />

68<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


ออกแบบผลิตภัณฑขึ้นใหมทันที เวนแตเปนการแสดงในงานที่หนวยงานราชการได<br />

จัดใหมีขึ้น ถือวายังมีสิทธิที่จะขอรับสิทธิบัตรได ทั้งนี้จะตองนําไปจดทะเบียนภายใน<br />

12 เดือน นับแตวันเปดงานแสดง อยางไรก็ตามการจตทะเบียนสิทธิบัตรในประเทศไทย<br />

จะใหความคุมครองเฉพาะในประเทศไทยเทานั้น หากตองการจะไดรับความคุมครอง<br />

ที่ประเทศใดก็ตองไปยื่นขอจดทะเบียนสิทธิบัตรในประเทศนั้น ๆ และการยื่นขอจด<br />

ทะเบียนในตางประเทศจะตองยื่นขอภายในเวลาที่กฎหมายของแตละประเทศ<br />

กําหนด ซึ่งสวนใหญจะอยูในชวงเวลา 12-18 เดือนนับจากวันยื่นครั้งแรก<br />

แหลงอางอิง<br />

Bissell, P. and Barker, G. 1998. The Business of Invention, Worldbase Publication,<br />

Halifax.<br />

Cheeptham, N. and Chantawannakul, P. 2001. Intellectual property management<br />

and awareness at the university level in the biotechnology era : a Thai<br />

perspective. World Patent Information. 23 (4): 373-378.<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 69


วันมะเร็งโลก (4 ก.พ.)<br />

สวามินี ธีระวุฒิ<br />

ในขณะที่เรามีความกาวหนาทางการแพทยที่ดีมากในดานการปองกันและ<br />

รักษาโรคมะเร็งแตอยางไรก็ตามมะเร็งก็ยังคงเปนสาเหตุของการตายอันดับตน ๆ<br />

โดยขอมูลจากองคการอนามัยโลก ป ค.ศ. 2005 พบวา มะเร็งเปนสาเหตุการเสียชีวิต<br />

อันดับ 1 ของโลก โดยมีผูเสียชีวิตจากโรคมะเร็งถึง 7 ลานคนตอป หรือรอยละ 13 ของ<br />

สาเหตุการเสียชีวิตทั้งหมดทั่วโลก และจะมีแนวโนมสูงขึ้นเรื่อย ๆ มะเร็งเปนสาเหตุ<br />

การตายอันดับตน ๆ ของหลายประเทศในเอเชีย การปองกันมะเร็งตั้งแตวันนี้จึงเปน<br />

สิ่งสําคัญ เนื่องจากพบวารอยละ 43 ของมะเร็งทั้งหมดเปนสาเหตุที่ปองกันได ดวย<br />

เหตุนี้ องคการอนามัยโลกจึงไดรวมกับสหภาพตอตานมะเร็งระหวางประเทศ ได<br />

กําหนดให วันที่ 4 กุมภาพันธของทุกป เปนวันมะเร็งโลก เพื่อกระตุนเตือนใหบุคลากร<br />

ทางการแพทยและประชาชนไดตระหนักวามีจํานวนผูปวยโรคมะเร็งเพิ่มมากขึ้น<br />

ทั่วโลก ประชาชนจะไดปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประจําวันที่ไมเหมาะสม และใหความ<br />

สนใจในการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งตั้งแตระยะเริ่มแรก เพื่อนําไปสูการรักษาที่<br />

หายขาดได<br />

โรคมะเร็งนับเปนสาเหตุการตายอันดับ 1 ของคนไทยโดยมะเร็งที่พบมาก<br />

เปนอันดับหนึ่ง ไดแก มะเร็งตับ มะเร็งปอด และมะเร็งปากมดลูก ตามลําดับ สวนใหญ<br />

จะพบมากในชวงอายุ 45-50 ปขึ้นไป หลายคนทอแทสิ้นหวังเมื่อทราบวาตนเองหรือ<br />

ญาติปวยเปนโรคมะเร็ง หลายคนสับสนและตื่นตระหนก เพราะเขาใจวาโรคมะเร็ง<br />

70<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


ไมมีทางรักษาใหหายได ชีวิตที่เหลืออยูจึงสิ้นหวัง ในความเปนจริงมะเร็งหลายชนิด<br />

สามารถถูกวินิจฉัยไดจากการตรวจสุขภาพประจําป หรือตรวจดวยตนเองที่บาน เชน<br />

มะเร็งเตานม มะเร็งปากมดลูก เปนตน และเมื่อตรวจพบแลวก็สามารถรักษาให<br />

หายขาดได มะเร็งบางชนิดสามารถใชวิธีการรักษาหลายๆ วิธีรวมกันก็จะชวยยืด<br />

อายุออกไปไดอีก แตก็มีบางชนิดเชนกันที่ไมสามารถรักษาไดหรือใหผลการรักษาที่<br />

ไมดี บางโรงพยาบาลมีการใชเทคนิคการแพทยแบบองครวม ในการดูแลรักษาผูปวย<br />

โรคมะเร็ง นั่นคือการใชการแพทยแผนปจจุบัน ไดแก การผาตัด การฉายรังสี เคมี<br />

บําบัด รวมกับการแพทยทางเลือกในการรักษาโรคมะเร็ง เชน สมุนไพร เปนตน<br />

เพราะการแพทยแผนปจจุบันมีความสามารถในการทําลายกอนมะเร็งคอนขางสูง<br />

แตขณะเดียวกันก็ทําลายเซลลปกติของรางกายดวย จึงกอใหเกิดผลขางเคียงตามมา<br />

ดังนั้น การประยุกตใชแพทยทางเลือกดังกลาว นอกจากจะเสริมประสิทธิภาพการรักษา<br />

ใหดีขึ้นแลว ยังชวยลดความทรมานจาก ผลขางเคียง อันไมพึงประสงคที่เกิดขึ้น<br />

สงผลใหผูปวยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และชวยใหการรักษาเปนไปอยางตอเนื่องและ<br />

ครบสมบูรณ ไมตองหยุดหรือเลื่อนการรักษาและเพื่อใหการรักษาตาง ๆ มีประสิทธิผล<br />

สูงสุด อยางไรก็ตาม สมุนไพรรักษาโรคมะเร็ง ก็มีขอเสียตรงที่จะไมเห็นผลทันที แต<br />

จะคอย ๆ ออกฤทธิ์อยางชา ๆ โดยไมมีผลกระทบตอรางกาย<br />

ขอเท็จจริงที่นาตื่นเตนและนาสงเสริมคือ การพบวามะเร็งหลายชนิด<br />

สามารถปองกันไดโดยการเลือกรูปแบบการดําเนินชีวิตอยางฉลาดมาใชนั่นเอง การ<br />

ปองกันมะเร็งทําไดไมยาก ซึ่งแนวทางในการดูแลตัวเองใหแข็งแรงและลดปจจัย<br />

เสี่ยงตอมะเร็งที่สมาคมการวิจัยเพื่อปองกันโรคมะเร็งของสหรัฐอเมริกา แนะนํามี 8<br />

ขอดังนี้ ขอที่ 1. เลือกอาหารที่มาจากพืช นักวิทยาศาสตรไดทราบแลววาอาหารเปน<br />

สาเหตุของการเกิดมะเร็ง การรับประทานอาหารที่มาจากพืชรวมทั้งการรักษาน้ําหนัก<br />

ที่เหมาะสม และการออกกําลังกายจะทําใหรางกายสามารถตอตานโรคมะเร็ง เนื่องจาก<br />

สารอาหาร วิตามินในพืชทําใหรางกายซอมแซมเซลลไดดี ยับยั้งการเจริญเติบโตของ<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 71


เซลลมะเร็ง และยังทําลายสารที่จะกอใหเกิดมะเร็ง ขอที่ 2. ใหรับประทานผักและผลไม<br />

เพิ่ม อาหารที่เรารับประทานควรจะมาจากพืช 2/3 เชนผัก ผลไม ธัญพืช ถั่ว สวนที่<br />

เหลือ 1/3 มาจากเนื้อสัตวและนม การรับประทานผักและผลไมรวมกับการออกกําลัง<br />

กายเพิ่มจะสามารถปองกันมะเร็งไดรอยละ 60-70 ขอที่ 3 รักษาน้ําหนักที่เหมาะสม<br />

และออกกําลังกายเปนประจํา ซึ่งน้ําหนักที่เหมาะสมควรอยูระหวางดัชนีมวลกาย<br />

18.5-23 ซึ่งคาดัชนีมวลกายนี้เปนคาดัชนีที่คํานวณจากน้ําหนักและสวนสูง เพื่อใช<br />

เปรียบเทียบความสมดุลระหวางน้ําหนักตัวตอความสูงของมนุษย คํานวณไดโดยนํา<br />

น้ําหนักตัวหารดวยกําลังสองของสวนสูงตนเอง หากมีคาดัชนีมวลกายนอยกวา 18.5<br />

แสดงวาผอมเกินไป และมากกวา 23 แสดงวาอวนเกินไป การออกกําลังกายสม่ําเสมอ<br />

ทําใหแข็งแรง ลดความเครียดได เจริญอาหารและขับถายดีขึ้น ขอที่ 4. ลดการดื่มสุรา<br />

และสูบบุหรี่ ในบุหรี่มีสารเคมีมากกวา 1,000 ชนิดที่เปนสารพิษและสารกอมะเร็ง<br />

ทําใหเกิดมะเร็งปอด มะเร็งชองปาก มะเร็งกระเพาะปสสาวะ มะเร็งกระเพาะอาหาร<br />

ทั้งนี้ความเสี่ยงดังกลาว ไมไดมีเฉพาะตัวผูสูบบุหรี่เทานั้น แตผูไดรับควันบุหรี่ก็จะมี<br />

ความเสี่ยงมากขึ้น สวนการดื่มสุราจะเพิ่มความเสี่ยงตอการเกิดมะเร็งตับ มะเร็ง<br />

หลอดอาหาร มะเร็งชองปาก โดยความเสี่ยงจะเพิ่มมากขึ้นหากสูบบุหรี่รวมดวย<br />

ขอที่ 5. เลือกรับประทานอาหารที่มีปริมาณไขมันต่ํา เชื่อวาอาหารมันและเกลือจะ<br />

เพิ่มโอกาสเปนมะเร็งโดยเฉพาะไขมันอิ่มตัวและไขมันทรานส ซึ่งทั้งสองตัวเปนปจจัย<br />

เสี่ยงตอมะเร็งและโรคหัวใจ แตมิไดหามรับประทานอาหารมันเพราะอาหารมันก็มี<br />

ประโยชนตอรางกายแตไมควรรับมากเกินไป ขอที่ 6. การปรุงอาหาร โดยเฉพาะการ<br />

ยางเนื้อสัตวดวยไฟอุณหภูมิที่สูงจะทําใหเกิดสารกอมะเร็ง เนื่องจากน้ํามันที่ถูกไฟ<br />

ไหมจะกอใหเกิดสารดโพลีซัยคลิค อโรมาติก โฮโดรคารบอน ซึ่งเปนสารกอมะเร็ง<br />

ควรจะเลี่ยงไปใชวิธีอื่น เชน การอบ การใชไมโครเวฟ การตม การทอดในน้ํา ขอที่ 7.<br />

การใชครีมปองกันแสงแดดโดยเฉพาะเวลา 10.00-15.00 น โดยใชครีมที่มีคาเอสพีเอฟ<br />

(SPF) อยางนอย 15 เพื่อปองกันมะเร็งผิวหนัง และขอสุดทาย ขอที่ 8. คือ การไมสําสอน<br />

72<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


ทางเพศเพราะการมีเพศสัมพันธจะทําใหเกิดการติดเชื้อเริม และเชื้อไวรัสโรคเอดส<br />

ซึ่งทั้งสองโรคดังกลาวจะทําใหเกิดมะเร็ง หากสามารถปฏิบัติตัวไดดังนี้แลว เชื่อแน<br />

วาคุณก็จะเปนอีกคนหนึ่งที่มีสุขภาพดี และหางไกลจากโรคมะเร็งไดไมยาก<br />

แหลงอางอิง<br />

การปองกันโรคมะเร็ง. 2545. สืบคนจาก http://www.siamhealth.net/public_html/<br />

Disease/cancer/cancer_prevention.htm (วันที่คนขอมูล 8 มกราคม <strong>2553</strong>)<br />

สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ. 2551. 8 เคล็ดลับลดความเสี่ยง<br />

โรคมะเร็ง. สืบคนจาก http://www.thaihealth.or.th/node/4<strong>33</strong>5 (วันที่คน<br />

ขอมูล 8 มกราคม <strong>2553</strong>)<br />

อาคม เชียรศิลป. 2550. ไมอยากเปนมะเร็งตองอานเลมนี้. โรสไทยแลนดจํากัด.<br />

กรุงเทพฯ<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 73


ชวนดื่มชา<br />

เบญจวรรณ ชิวปรีชา<br />

เมื่อกลาวถึงคําวา “ชา” เรามักนึกถึงเครื่องดื่มที่เปนชาจีนหรือชาฝรั่ง ซึ่งได<br />

จากการนําใบชาจากตนคาเมลเลีย มาผานกระบวนการอบแหงและชงดื่ม แตใน<br />

ปจจุบันผูคนที่นิยมสมุนไพรก็ดัดแปลงนําสวนตาง ๆ ของสมุนไพรมาตมหรือชงเปนชา<br />

ดื่มเพื่อสุขภาพมากขึ้น จึงมีคําเรียกวา “ชาสมุนไพร” หรือ “น้ําสมุนไพร” โดยคุณคา<br />

ของเครื่องดื่มดังกลาวควรประกอบดวย ใชดื่มดับกระหาย ใชในการปรับธาตุ และ<br />

ประการสุดทายใชในการบําบัดโรคบางโรคได<br />

บทความนี้ผูเขียนใครจะขอแนะนําชาและเครื่องดื่มสมุนไพรที่มีรสชาติ<br />

ละเมียดละไม ทําใหชวงเวลาดื่มเปนการผอนคลายพรอมใหประโยชนแกรางกาย<br />

และที่สําคัญจัดเตรียมเองไดงาย ไมใชอุปกรณซับซอน รวมทั้งราคาไมแพง<br />

สําหรับขอพิจารณาและขอปฏิบัติในการทําชาและเครื่องดื่มสมุนไพร ไดแก<br />

* ศึกษาสวนของสมุนไพรที่จะนํามาใช ควรเปนสวนใดที่มีสรรพคุณดี เชน<br />

ถาสรรพคุณอยูที่ดอก การนําใบมาชงก็ไมไดประสิทธิผลตามตองการ<br />

* วิธีการตมหรือชงมีความแตกตางกันตามสวนของพืชที่เลือกใช เชนถา<br />

เปนรากหรือหัวควรใสรวมกับน้ําลงตมตั้งแตเริ่มตั้งไฟ แตถาเปนสวนของใบและดอก<br />

ควรตมน้ําใหเดือดแลวจึงใสใบและดอกลงตมเพียงระยะสั้น ๆ ไมเกิน 5 นาที ทั้งนี้เพื่อ<br />

เปนการรักษากลิ่นและรสของสมุนไพร<br />

* ขั้นตอนการผลิตตองสะอาด ชิ้นสวนของสมุนไพรตองไมขึ้นรา<br />

74<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


* ภาชนะที่ใชตมควรเปนหมอเคลือบ เพื่อหลีกเลี่ยงสารโลหะจากหมอ<br />

อลูมิเนียม<br />

* ควรหลีกเลี่ยงการเติมน้ําตาล เพื่อเก็บรักษากลิ่นของชาไว แตหาก<br />

จําเปนตองเพิ่มความหวาน ควรใชน้ําตาลทรายแดงหรือน้ําผึ้งเล็กนอยเพื่อเปนการ<br />

แตงรส<br />

เมื่อทําความเขาใจและรับทราบขอควรปฏิบัติมาพอสังเขปแลว เรามาเริ่ม<br />

เมนูเครื่องดื่มชาสมุนไพรที่ทานสามารถปรุงเองไดกันเลยดีกวา<br />

หากหลังบานทานปลูกเตยหอมสักกอ เดินไปเลือกตัดใบสดที่ไมออนไมแก<br />

เกินไปมาลางแลวหั่นตามขวางเปนชิ้นเล็ก ๆ ใสหมอหลังน้ําเดือด ตมนานประมาณ<br />

5 นาที กรองกากออก ใชดื่มไดทั้งรอนและเย็น สรรพคุณบํารุงหัวใจ ขับปสสาวะและ<br />

บําบัดเบาหวาน ผูเขียนสนับสนุนใหทานหาเตยหอมมาปลูกไวสักกอ เพราะปลูกงาย<br />

เพียงนํากอเล็ก ๆ ที่มีรากติดเล็กนอย มาปกชําในดินชื้นที่ไมมีน้ําขังจนแฉะ เพียงไมกี่<br />

เดือนก็ตั้งตัวและแตกกอเปนพุมใหไดนําใบไปใชประโยชนมากมาย เชน ใสไปในการ<br />

หุงขาวสวย ขาวตมหรือนึ่งขาวเหนียว ชวยเพิ่มความหอมใหขาวนารับประทาน หรือ<br />

คั้นน้ําสีเขียวจากใบผสมลงในแปงทําขนม ไดทั้งสีสวย และกลิ่นหอม<br />

หากทานไปเดินตลาดพบรากบัวสดที่แมคามานั่งขายใหรีบซื้อไวเพราะเปน<br />

ของดีที่หาซื้อไดยากแลวจะมีมากในชวงแลงเนื่องจากชาวบานตองรอน้ําแหงจึงจะ<br />

ขุดรากบัวมาขายได นํารากบัวมาลางใหสะอาดฝานเปนชิ้นบาง ๆ ประมาณ 2 ถวย<br />

ตวง ตมจนไดน้ํารากบัวสีชมพู เนื้อรากบัวนิ่ม กรองกากทิ้งไป เติมน้ําตาลนิดหนอย<br />

น้ําตมรากบัวเปนอาหารเสริมธาตุ เหมาะกับผูที่สมองเฉื่อยชา ออนเพลีย ทนหนาวไมได<br />

ภูมิแพ หอบหืด คอเลสเตอรอลสูง ปวดขอ เบาหวาน แกรอนในกระหายน้ํา<br />

ตะไครเปนพืชสวนครัวที่นํามาทําเครื่องดื่มกลิ่นหอมรสดีได ตะไคร 2-3 ตน<br />

นํามาลางน้ําแลวทุบใหแตก หั่นเปนทอนสั้น ๆ เติมน้ํา ตั้งไฟพอเดือด อยาเคี่ยว กรอง<br />

เอาแตน้ํา เติมน้ําตาลนิดหนอย จะไดน้ําสมุนไพรสีเหลืองอมเขียวออนๆ กลิ่นหอม<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 75


กลุมแมบานเกษตรชุมชนตาง ๆ นิยมนําตะไครสดมาหั่นฝอย ตากแหง จําหนายเปน<br />

ชาตะไคร สรรพคุณของชาตะไคร แกทองอืดเฟอ แนนจุกเสียด ขับเหงื่อ ขับปสสาวะ<br />

น้ํามันตะไครมีฤทธิ์ฆาเชื้อรา แบคทีเรีย ชวยใหทางเดินอาหาร ทางเดินหายใจสะอาด<br />

และปองกันหวัด<br />

หลายทานคงเคยเห็นหรือดื่มน้ําวานหางจระเขที่มีจําหนายตามตูแชตาง ๆ<br />

จริง ๆ แลวเปนเครื่องดื่มที่เราทําเองไดงาย ๆ ตนวานหางจระเขเองก็ปลูกงายโดย<br />

แยกกอออน ๆ มาปกดินไวดูแลรดน้ํา 1-2 วันในชวงแรก สักเดือนพอตนตั้งตัวไดก็ไม<br />

ตองดูแลมาก วานหางจระเขก็จะแตกกออยางรวดเร็ว น้ําวานหางจระเขเปน<br />

เครื่องดื่มที่มีสรรพคุณบํารุงรางกาย ทําใหสดชื่น ชวยระบบขับถายดี โดยเลือกใบ<br />

วานหางจระเขขนาดโตเต็มที่ 2 ใบ ปอกเปลือกลางน้ํายางเหลืองที่เคลือบออกให<br />

หมด นําเฉพาะสวนในของใบที่มีลักษณะเปนกอนวุน ไปปนกับน้ําตมสุก 1 ถวย<br />

กรองกากออกเติมน้ําตาลเล็กนอย แชเย็นควรดื่มใหหมดภายใน 2 วัน<br />

ทานที่มีปญหานอนไมหลับ ผูเขียนแนะนําชาขี้เหล็กที่มีสรรพคุณชวยให<br />

นอนหลับ ชวยเจริญอาหาร ทั้งยังเปนยาระบายออน ๆ แตไมควรใชดื่มติดตอกันเปน<br />

เวลานาน ๆ ใชดื่มเมื่อมีอาการเทานั้น วิธีทําก็ไมยุงยาก เลือกเก็บใบขี้เหล็กสดไมออน<br />

หรือแกจนเกินไป ลางใหสะอาด นําไปตากแดดใหแหง แลวนํามาคั่วดวยไฟออน ๆ<br />

ใหแหง เก็บใสขวดที่มีฝาปดมิดชิด เวลาจะดื่มก็นําใบขี้เหล็กคั่วแหง 1 หยิบมือใสแกว<br />

เทน้ําเดือดลงไปตั้งทิ้งสักครูใหน้ํารอนสกัดตัวยาออกมา ดื่มอุน ๆ<br />

จากเครื่องดื่มประเภทชานานาชนิดที่นํามาแนะนําใหทานไดทราบ จะเห็น<br />

ไดวาความอรอยก็มาคูกันไดกับสุขภาพที่ดี เลือกเครื่องดื่มคราวหนาลองชวนสมาชิก<br />

ในบานมาทําชาที่ใหประโยชนและราคาไมแพงดื่มกันดีกวานะคะ<br />

76<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


แหลงอางอิง<br />

บรรจง ชุณหสวัสดิกุล. 2544. ลอมวงชงชาตั้งกาตมสมุนไพร. สํานักพิมพรวมทรรศน,<br />

กทม.<br />

พนิดา กุลประสุติดิลก. 2546. สุขภาพแข็งแรงดวยเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ. สํานักพิมพ<br />

สุขภาพใจ, กทม.<br />

คมสัน หุตะแพทย และกําพล กาหลง. 2549. คูมืออาหารปลอดสารพิษ. บริษัทรุงเรือง<br />

สาสนการพิมพ, กทม.<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 77


สมุนไพรลดปญหารังแค<br />

สุบัณฑิต นิ่มรัตน<br />

สวัสดีคะทานผูฟง กลับมาพบกับดิฉันเชนเคยนะคะ จากการที่ดิฉันไดอาน<br />

นิตยสารชีวจิตเลมหนึ่งไดกลาวถึงเรื่องราวของการปองกันรักษารังแคดวยวิธีการ<br />

งาย ๆ ซึ่งดิฉันเห็นวาเปนเรื่องราวที่นาสนใจจึงอยากนําเสนอใหทานผูฟงไดทราบ<br />

ดวย เพราะปญหารังแคเปนปญหาสุขภาพเสนผมที่พบไดบอย ซึ่งสรางความรําคาญ<br />

และเสียบุคลิกภาพเปนอยางยิ่ง การแกไขสามารถทําไดหลายวิธี เชน สระผม<br />

ดวยแชมพูสูตรปองกันรังแค การเพิ่มความชุมชื้นใหแกหนังศีรษะ การดูแลเสนผม<br />

และหนังศีรษะดวยสมุนไพร หรือการรักษาดวยยา เปนตน ซึ่งสวนใหญก็ไดผล<br />

แตปญหารังแคก็มักจะกลับมาอีก ในวันนี้ดิฉันจึงมีขอแนะนําใหแกผูที่มีปญหารังแค<br />

ในเรื่องการปฏิบัติตนในระหวางที่เปนรังแคและเมื่อรักษาหายขาดแลว เพื่อไมให<br />

กลับมาเปนอีกและสูตรบํารุงหนังศีรษะรักษารังแคมาฝากคะ<br />

รังแคเกิดจากหลายสาเหตุ ไดแก เกิดจากการเกาหนังศีรษะแรงเกินไปจน<br />

ถลอกและเกิดเชื้อราจากความอับชื้นของหนังศีรษะ การอักเสบของหนังศีรษะจะ<br />

ทําใหเซลลตายเปนจํานวนมากและเกิดการหลุดลอก แลวรวมกับเชื้อราเกิดเปนแผน<br />

หรือผงขาว ๆ ทําใหศีรษะมีกลิ่นเหม็นได นอกจากนี้อาจเกิดจากลักษณะของหนัง<br />

ศีรษะที่แตกตางกัน โดยผูที่หนังศีรษะแหงจะเกิดรังแคไดงาย เนื่องจากหนังศีรษะ<br />

ขาดความชุมชื่นทําใหเซลลผิวหนังหลุดลอก ผูที่มีผมมัน จะมีการสะสมของน้ํามัน<br />

บริเวณรากผมมากเกินไปจนเกิดการระคายเคือง ทําใหเซลลรอบรากผมเจริญมาก<br />

78<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


ผิดปกติและหลุดลอกออกมาเปนรังแค สวนผูที่มีหนังศีรษะปกติเกิดรังแคไดจากการ<br />

ดูแลเสนผมและหนังศีรษะไมถูกวิธีทําใหหนังศีรษะขาดความชุมชื้น แหงและหลุด<br />

ลอกได หรือขาดการทําความสะอาดทําใหเกิดเชื้อราและเกิดเปนรังแค นอกจากนี้<br />

รังแคยังเกิดจากปญหาสุขภาพหรือการปฏิบัติตนไมเหมาะสม เชน ปญหาความเครียด<br />

การบริโภคอาหารและการใชผลิตภัณฑที่ไมเหมาะสม เชน ใชแชมพูที่มีความเปน<br />

กรด-ดางสูง รวมถึงการทําสีผม ดัดผมหรือยืดผม ซึ่งอาจทําใหหนังศีรษะเกิดการ<br />

ระคายเคืองจนเกิดเปนรังแคไดเชนกัน<br />

การปองกันปญหารังแคมีหลายวิธี เชน การหลีกเลี่ยงความเครียด โดยการ<br />

ทําจิตใจใหสบาย อาจนั่งสมาธิหรือออกกําลังกาย เพื่อใหรางกายผอนคลายและหลั่ง<br />

สารแหงความสุขออกมา ลดการบริโภคอาหารที่กอใหเกิดรังแค ไดแก อาหารที่มี<br />

สวนประกอบของน้ําตาล แปง ไขมันและเครื่องเทศตาง ๆ และเครื่องดื่มแอลกอฮอล<br />

อาหารเหลานี้จะกระตุนใหหนังศีรษะมัน ซึ่งจะเพิ่มโอกาสในการเกิดรังแคไดมากขึ้น<br />

นอกจากนี้ ควรหลีกเลี่ยงการดัดผม ยืดผมและทําสีผม และสุดทายคือควรใชแชมพู<br />

ที่มีสวนผสมที่ออนโยน ไมมีสารเคมีรุนแรงหรือเปนอันตรายตอหนังศีรษะ<br />

การเกิดรังแคสามารถเกิดไดกับทุกสภาพเสนผม ซึ่งการดูแลรักษาจะ<br />

แตกตางกันออกไป โดยผูที่มีผมมันควรเลือกใชแชมพูสําหรับผมมันโดยเฉพาะ และ<br />

สระดวยแชมพูรักษารังแคที่มีสวนประกอบของกํามะถัน เชน ซีบูเลกซ ซีบูโทนหรือ<br />

เซลซัน ซึ่งจะชวยลดการผลิตน้ํามันของหนังศีรษะและชวยผลัดเซลลที่ตายแลวออก<br />

และสุดทายหากมีเวลาควรใชน้ํามะนาว 1 ลูก ผสมน้ําอุน 1 ถวย นวดใหทั่วหนังศีรษะ<br />

แลวลางออกดวยน้ําเย็น สวนผูที่มีผมแหงกอนสระผมใหชโลมหนังศีรษะและเสนผม<br />

ดวยโลชั่นใหทั่ว แลวโพกศีรษะดวยผาชุบน้ําอุนบิดหมาด ๆ ประมาณ 15-20 นาที<br />

จากนั้นสระผมดวยแชมพูขจัดรังแคสูตรออนโยน แลวลางใหสะอาดดวยน้ําอุน<br />

สําหรับผูที่มีผมธรรมดาหากเกิดปญหารังแค ควรสระผมดวยแชมพูสําหรับผม<br />

ธรรมดา จากนั้นใชยาแอสไพริน 6 เม็ด ละลายในน้ําอุน 1 ถวย ชโลมใหทั่วเสนผม<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 79


และหนังศีรษะเปนเวลา 15 นาที ทําเชนนี้เปนประจํา จนกระทั่งรังแคหาย แลวจึง<br />

กลับไปดูแลเสนผมดวยวิธีการตามปกติ และสุดทายผมทําสีหรือผมดัด ควรสระผม<br />

ดวยแชมพูที่มีสวนผสมของโปรตีนหรือมีปริมาณกรดสมดุล และสระผมอีกครั้งดวย<br />

แชมพูขจัดรังแคที่มีสวนผสมของซิงกไพริไทออน ลางใหสะอาดแลวใชครีมนวดชโลม<br />

อีกครั้ง ขอควรปฏิบัติภายหลังสระผมสําหรับทุกสภาพผม คือ ไมควรปลอยใหผมแหง<br />

เอง ควรเปาหรือเช็ดผมใหแหงและไมควรนอนหรือรวบผมในขณะที่ผมยังไมแหง<br />

เพราะจะทําใหเกิดเชื้อราบนหนังศีรษะได<br />

การขจัดรังแคดวยสมุนไพรก็เปนอีกวิธีหนึ่งที่ไดผลดีและปลอดภัย ซึ่งวันนี้<br />

ดิฉันมีสูตรบํารุงหนังศีรษะ เสนผมและขจัดรังแคมาฝากคะ สูตรแรก นําไขแดงดิบมา<br />

ชโลมศีรษะสักครูแลวลางออก จากนั้นคั้นน้ํามะนาว 1 ชอนโตะ ผสมน้ําเปลา 1 ถวย<br />

แลวนํามาสระผม สูตรที่ 2 ใชมะกรูด 1-2 ลูก ตมในน้ําเดือดประมาณ 3-5 แกว จากนั้น<br />

คั้นลูกมะกรูดกรองเอาแตน้ําไว การบํารุงเริ่มจากสระผมดวยแชมพูสูตรออนโยน<br />

แลวลางใหสะอาด จากนั้นนําน้ํามะกรูดที่เตรียมไวมาชโลมผมทิ้งไว 5-10 นาที แลว<br />

ลางออก สูตรที่ 3 ใชวานหางจระเขที่ปอกเปลือกออกจนเหลือแตวุนใส ลางใหสะอาด<br />

แลวปนใหละเอียด จากนั้นนํามาหมักผม 30 นาที สูตรที่ 4 นําน้ําซาวขาวที่ตั้งทิ้งไว<br />

ใหตกตะกอนแลวเอาเฉพาะน้ําสวนที่เปนตะกอนขนดานลางมาหมักผมประมาณ<br />

15 นาที และสูตรสุดทาย หมักผมดวยน้ําตะไคร โดยทุบตะไครประมาณ 3 ตน ใหแตก<br />

แลวแชทิ้งไวในน้ํา 1 ลิตร 10 นาที จากนั้นนําน้ําที่ไดมาหมักผม 10 นาทีแลวลางออก<br />

ทําบอย ๆ ปญหารังแคจะคอย ๆ หมดไป พรอมกับเสนผมที่สุขภาพดีขึ้นดวยคะ<br />

สําหรับสาระเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพหนังศีรษะ การปองกันและรักษารังแคที่ดิฉัน<br />

นําเสนอในวันนี้ ดิฉันก็หวังวาจะเปนประโยชนแกทานผูฟง สามารถนําไปปฏิบัติให<br />

เหมาะสมกับสภาพเสนผมและหนังศีรษะของแตละคนไดเปนอยางดีนะคะ สําหรับ<br />

วันนี้ดิฉันตองลาไปกอน สวัสดีคะ<br />

80<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


แหลงอางอิง<br />

กลุมงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลสตูล. 2551, พฤศจิกายน. รังแค (Dandruff).<br />

ขาวสารดานยาและสุขภาพ ฉบับที่ 6/51<br />

ชนิษฎา ตูจินดา. 2552. รังแค (Dandruff). ความรูสูประชาชน. คณะแพทยศาสตร<br />

ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล.<br />

ชีวจิต. 2548. เมื่อรังแครังควานแกไดดวยสูตรธรรมชาติ. นิตยสารชีวจิต 7(161), 87-89.<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 81


เครื่องปรุงรสจากผัก<br />

วิชมณี ยืนยงพุทธกาล<br />

ผูบริโภคสวนใหญตองการความรวดเร็วและความสะดวกในการประกอบ<br />

อาหาร รวมถึงตองการปรุงอาหารใหไดรสชาติที่สม่ําเสมอ ผลิตภัณฑเครื่องปรุงรส<br />

ประเภทกึ่งสําเร็จรูปจึงไดรับความนิยมเปนอยางมาก หากพิจารณาดานการตลาด<br />

พบวาเครื่องปรุงรสหรือซุปปรุงรสกึ่งสําเร็จรูปแบงออกเปนตลาดซุปปรุงรสแบบกอน<br />

และแบบผง โดยผลิตภัณฑมีอัตราการเติบโตเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องประมาณปละ 5%<br />

ตอป และพบวาครอบครัวไทยมีอัตราการใชซุปปรุงรสถึงประมาณ 50 % ผูผลิต<br />

พยายามเพิ่มจํานวนผูใชซุปปรุงรสใหมากขึ้น ผลิตภัณฑเครื่องปรุงรสที่จําหนายใน<br />

ทองตลาดสวนใหญยังคงมีผงชูรสเปนสวนประกอบ ซึ่งผงชูรสเปนสารเคมีสังเคราะห<br />

ไมใชสารธรรมชาติ ในผงชูรสมีกรดอะมิโนเพียง 1 ชนิดเทานั้น คือ กรดกลูตามิคและ<br />

เปนกรดอะมิโนที่ไมมีความจําเปนตอรางกาย โดยปกติรางกายไดรับกรดกลูตามิค<br />

โดยตรงจากอาหารประเภทโปรตีน ดังนั้น ผงชูรสจึงไมมีประโยชนดานคุณคาทาง<br />

อาหารแตอยางใด ทั้งอาจกอใหเกิดอาการแพผงชูรสไดอีกดวย ซึ่งมักเกิดกับคนที่มี<br />

การบริโภคผงชูรสในปริมาณมาก โดยมักมีอาการชา และรอนวูบวาบที่ปาก ลิ้น<br />

ใบหนา บางคนอาจมีผื่นแดงขึ้นตามตัว แนนหนาอก หัวใจเตนชาลง และหายใจ<br />

ไมสะดวก นอกจากนี้การบริโภคผงชูรสตอเนื่องเปนเวลานาน อาจสะสมกอใหเกิด<br />

ผลเสียตาง ๆ เชน ทําลายระบบสมอง ระบบประสาทตา และเกิดสารกอมะเร็ง<br />

นอกจากนี้ ผลิตภัณฑเครื่องปรุงรสมักมีการใชเกลือโซเดียมคลอไรดในปริมาณมาก<br />

82<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


จึงมีความเสี่ยงสําหรับผูบริโภคกับภาวะการเพิ่มระดับโซเดียมในรางกาย ที่จะ<br />

กระตุนหรือกอใหเกิดโรคความดันโลหิตสูงได<br />

ประเทศไทยมีผักหลายชนิดที่มีศักยภาพสูง กลาวคือ มีผลผลิตปริมาณ<br />

มาก ราคาไมแพงและใหคุณสมบัติปรุงรสไดคลายผงชูรสโดยธรรมชาติ นอกจากนี้<br />

ผักเหลานี้ยังมีคุณคาทางโภชนาการตาง ๆ ที่เปนประโยชนกับรางกาย และมักมีสรรพคุณ<br />

ทางสมุนไพรที่ชวยสงเสริมสมรรถนะ ฟนฟู และปองกันความเสื่อมของอวัยวะได<br />

การนําผักมาใชเปนเครื่องปรุงรส จึงเปนการหลีกเลี่ยงการใชสารสังเคราะห เชน<br />

ผงชูรส และสารปรุงแตงกลิ่นรสได โดยผักที่พบไดในประเทศไทยซึ่งสามารถใชเปน<br />

เครื่องปรุงรสไดมีหลายชนิด ตัวอยางเชน มะเขือเทศ เห็ดหอม หอมหัวใหญ และ<br />

หัวผักกาด เปนตน<br />

1) มะเขือเทศ พบวามีกรดกลูตามิคในปริมาณสูงมากเมื่อเทียบกับ<br />

กรดอะมิโนชนิดอื่น คือ มีประมาณ 250 มิลลิกรัมตอน้ําหนักมะเขือเทศ 100 กรัม จึง<br />

ทําใหมะเขือเทศมีคุณสมบัติปรุงรสไดคลายผงชูรสโดยธรรมชาติ นอกจากนี้มะเขือ<br />

เทศมีปริมาณเสนใยอาหารอยูถึง 47.2 กรัม ตอ 100 กรัมของน้ําหนักแหง และมี<br />

สรรพคุณทางสมุนไพรคือ ทําใหเจริญอาหาร แกกระหายน้ํา ชวยกระตุนและบํารุง<br />

กระเพาะอาหาร ไต และลําไสและชวยขับพิษ<br />

2) เห็ดหอม พบวามีกรดอะมิโนถึง 21 ชนิด โดยมีกรดกลูตามิกในปริมาณ<br />

สูงถึง 355 มิลลิกรัมตอน้ําหนักเห็ดหอม 100 กรัม จึงทําใหเห็ดหอมมีคุณสมบัติปรุง<br />

รสไดคลายผงชูรสโดยธรรมชาติ เห็ดหอมเปนที่รูจักและนิยมมาก มีรสชาติดี กลิ่น<br />

หอม และยังไดชื่อวาเปนยาอายุวัฒนะ เนื่องจากมีคุณคาทางโภชนาการและมี<br />

สรรพคุณมาก เห็ดหอมมีปริมาณวิตามิน บี 1 บี 2 สูง และมีวิตามินดีที่ชวยบํารุง<br />

กระดูก มีปริมาณโซเดียมต่ํา เหมาะสําหรับผูที่เปนโรคไต แตมีแคลเซียม ฟอสฟอรัส<br />

และเหล็ก ซึ่งชวยเสริมสรางกระดูกและฟนใหแข็งแรงได นอกจากนี้ยังมีสรรพคุณ<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 83


ชวยลดความเปนกรดในกระเพาะอาหาร ชวยบํารุงกําลัง และบรรเทาอาการไขหวัด<br />

ได<br />

3) หอมหัวใหญ เมื่อโดนความรอนหัวหอมใหญจะมีรสหวานธรรมชาติ<br />

และมีกลิ่นรสเฉพาะเปนเอกลักษณ จึงมีความนิยมใชในการปรุงอาหาร หัวหอมใหญ<br />

มีสารที่มีคุณประโยชนมากมาย เชน มีน้ํามันหอมระเหยทีประกอบดวยสารไดอัลลิล-<br />

ไดซัลไฟด สารอินทรียซัลไฟดพวกอัลโพรพิล ไดซัลไฟด ซึ่งสารนี้มีฤทธิ์ฆาเชื้อ<br />

แบคทีเรียและเชื้อราไดบางชนิด และยังเปนผักที่มีปริมาณธาตุฟอสฟอรัสสูง<br />

มีฟลาโวนอยด ไกลโคไซด ซึ่งมีคุณสมบัติขัดขวางไขมัน ไมใหเกาะตามผนังเสนเลือด<br />

หอมหัวใหญจึงมีสรรพคุณชวยบําบัดโรคไดหลายโรค เชน ลดไขมันในเลือด โรคโลหิตจาง<br />

หลอดลมอักเสบ หืด และไขขออักเสบได มีคุณสมบัติชวยลดโคเลสเตอรอล และลด<br />

ระดับน้ําตาลในเลือด ชวยเพิ่มเอชดีแอลคลอเรสเตอรอล ซึ่งเปนไขมันที่ดี<br />

4) หัวผักกาด หรือหัวไชเทา เมื่อโดนความรอนจะมีรสหวานธรรมชาติ จึง<br />

นิยมนํามาใชทําอาหารประเภทซุป หัวผักกาดมีสารอาหาร เชน วิตามินซี กลูโคส<br />

แคลเซียม ฟอสฟอรัส และไนอาซิน ในปริมาณสูง หัวผักกาดมีฟลาโวนอยด ปริมาณ<br />

60 มิลลิกรัมในน้ําหนักหัวผักกาดแหง 1 กิโลกรัม ซึ่งเปนสารที่มีความสามารถในการ<br />

ตอตานอนุมูลอิสระได หัวผักกาดยังมีสรรพคุณเย็น ชวยละลายเสมหะ แกพิษ และ<br />

ทองอืดได<br />

นอกจากผักทั้ง 4 ชนิดที่ไดกลาวไปแลว ในประเทศไทยยังมีผักอีกหลาย<br />

ชนิดที่สามารถนํามาปรุงอาหาร ซึ่งเปนแหลงของเครื่องปรุงรสจากธรรมชาติไดอีก<br />

หลายชนิด เชน ผักหวานบาน กระเทียมตน แครอท ขิง และตนหอม เปนตน จึงขอ<br />

ฝากใหทานผูบริโภคและผูปรุงอาหาร โปรดเลือกใชผักสําหรับการปรุงรสชาติอาหาร<br />

ทดแทนการใชเครื่องปรุงรสประเภทกึ่งสําเร็จรูป หรือการใชผงชูรสเพื่อเติมแตงใน<br />

อาหาร เปนการลดโอกาสเสี่ยงตอการเกิดโรค และยังไดรับประโยชนตาง ๆ จากผัก<br />

อีกดวย<br />

84<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


แหลงอางอิง<br />

ยุวดี จอมพิทักษ ทรงชัย สิมะโรจน พรชัย สิมะโรจน ธวัชชัย สิมะโรจน และมยุรี<br />

ภิรมยโสภา. 2539. ผัก อาหารที่มีพลัง กรุงเทพฯ รุงแสงการพิมพ<br />

รุงรัตน เหลืองนทีเทพ. 2540. พืชเครื่องเทศและเทศและสมุนไพร กรุงเทพฯ โอ.<br />

เอส.พริ้น ติ้งเฮาส<br />

สุพจน คิลานเภสัช. 2543. สมุนไพร เครื่องเทศ และพืชปรุงแตงกลิ่นรส กรุงเทพฯ<br />

เพอรเฟคท พริ้นทฯ<br />

www.food-resources.org/news/view.php ครอบครัวไทย 50% ใชซุปกอนปรุงรส<br />

มติชน. เขาถึงเมื่อ 11 มกราคม พ.ศ.<strong>2553</strong><br />

เลมที่ <strong>33</strong> 85


กลูตาไทโอน..ขาว แตอันตรายถึงชีวิต<br />

กรองจันทร รัตนประดิษฐ<br />

ปจจุบันวัยรุนใหความสําคัญอยางมากในเรื่องของรูปรางหนาตาดี<br />

ผิวพรรณที่สดใส ซึ่งเปนเรื่องปกติของวัยรุนที่มักจะใสใจเรื่องความสวยงาม และก็<br />

ไมใชสิ่งที่ผิดแตอยางใดหากหนทางที่ไดมานั้นเปนไปโดยธรรมชาติ เชน จากการ<br />

รับประทานอาหารใหครบ 5 หมู และการออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอ แตในความ<br />

เปนจริงแลวกลับพบวาวัยรุนบางสวนกลับใสใจอยูกับการดูแลรูปรางหนาตาตนเอง<br />

ยอมทุมเททั้งเวลา และเงินทองกับสิ่งภายนอกเหลานี้ โดยเฉพาะเมื่อมีกระแส<br />

คานิยมผิวขาวที่ดูเหมือนวาจะเปนเรื่องที่กลาวถึงกันมาก ซึ่งที่จริงแลวนั้นคานิยม<br />

อยากมีผิวขาวนั้นไมเหมาะสมสําหรับคนไทยที่อยูในภูมิประเทศที่มีแสงแดดจัดทั้งป<br />

กระแสคานิยมอาจมาจากหลายสวน เชน จากการโหมโฆษณาเครื่องสําอาง ที่ทําให<br />

ผิวขาว ซึ่งมีงบประมาณการโฆษณาที่สูงมาก และสารในผลิตภัณฑเครื่องสําอางที่<br />

กลาวถึงกันมากคือ “สารกลูตาไทโอน” เนื่องมาจากไดมีการนําใชสารกลูตาไทโอน<br />

มาเพื่อใชในการรักษาโรค ซึ่งผูปวยจะไดรับการเสริมกลูตาไทโอนในปริมาณมาก จึง<br />

มีผลขางเคียง คือ สารกลูตาไทโอน จะมีฤทธิ์ไปยับยั้งการทํางานของเอนไซมไทโร<br />

ซิเนส ซึ่งทําใหเม็ดสีของผิวหนังเปลี่ยนจากสีน้ําตาลดําเปนเม็ดสีชมพูขาว ทําใหผิว<br />

ขาวขึ้นในเวลาอันสั้น ทําใหมีการนําสารกลูตาไทโอนมาเปนอาหารเสริมเพื่อชะลอวัย<br />

และหวังผลใหผิวขาวใส หรือผิวขาวอมชมพู ดังนั้นจึงมีหลายผลิตภัณฑที่มีสวนผสม<br />

ของกลูตาไทโอนทั้งในรูปของผลิตภัณฑสําหรับใชภายนอก เชน ครีมบํารุงผิว ใชเปน<br />

86<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


สวนผสมในอาหารเสริม และการฉีดสารกลูตาไทโอนเขารางกายโดยตรงซึ่งเปนที่<br />

นิยมมากในหมูวัยรุน โดยไมไดคํานึงถึงวาสารกลูตาไทโอนเปนสารอันตรายหรือไม<br />

สารกลูตาไทโอน เปนเปปไทดของกรดอะมิโน 3 ตัว คือ ซิสทีน กรดกลูตามิก<br />

และไกลซีน โดยปกติรางกายสามารถผลิตไดเองตามธรรมชาติ และยังไดจากอาหาร<br />

หลายอยาง เชน นม ไข สตรอเบอรรี และมะเขือเทศ หนาที่หลักของกลูตาไทโอนมีอยู<br />

3 ประการ คือ ทําหนาที่เปนสารตานอนุมูลอิสระ เปนสารกระตุนภูมิคุมกันในรางกาย<br />

และเปนสารชวยขจัดสารพิษในรางกาย ดวยเหตุผลที่สารกลูตาไทโอนจะทําหนาที่<br />

เปนสารตานอนุมูลอิสระจึงชวยในแงชะลอความเสื่อมของรางกาย และมีผลในแง<br />

เสริมภูมิตานทาน นอกจากนี้ยังชวยใหตับขจัดสารพิษออกจากรางกาย ดังนั้นการ<br />

เสริมกลูตาไทโอนโดยไมใชเพื่อมุงการรักษาโรค แตการใชสารกลูตาไทโอนเพื่อเปน<br />

อาหารเสริมโดยการรับประทานหรือโดยการฉีดเขารางกายในปริมาณมาก เพื่อ<br />

ตองการใหผิวขาวนั้นจึงเปนการกระทําที่ทําใหรายกายเกิดความผิดปกติได ในความ<br />

เปนจริงพบวาการใชกลูตาไทโอนในรูปที่เปนอาหารเสริมนั้น ไมไดมีผลทําใหผิวขาว<br />

ขึ้น เพราะสารชนิดนี้ไมสามารถดูดซึม และจะถูกขจัดออกจากรางกายในที่สุด จึงได<br />

มีการดัดแปลงนํามาผสมกับวิตามินซีแลวฉีดเขาเสนเลือดหรือกลามเนื้อครั้งละ 600<br />

มิลลิลิตร สัปดาหละครั้ง ราคา 4,000-5,000 บาท ติดตอกัน 3-5 สัปดาห ผิวจะเริ่ม<br />

ขาวขึ้นหลังฉีดครั้งแรกประมาณ 1 เดือน หลังจากนั้น 2 เดือนผิวจะกลับมาเปนสีเดิม<br />

จึงตองฉีดซ้ําอยูเปนระยะ ซึ่งขณะนี้องคการอาหารและยาไดประกาศหามใช<br />

กลูตาไทโอนเพื่อชวยผิวขาวแลว เนื่องจากกลูตาไทโอนทั้งชนิดเม็ดและชนิดฉีด<br />

เพื่อใหผิวขาว มีปริมาณกลูตาไทโอนสูงถึง 500-1,000 มิลลิกรัม ซึ่งมากกวาปริมาณ<br />

ที่แพทยอนุญาตใหผูปวยใช คือ ไมเกิน 250 มิลลิกรัมตอวัน และอาจทําใหแพยาจน<br />

ช็อกถึงขั้นเสียชีวิตเฉียบพลัน หรือสงผลในระยะยาว เชน สะสมในรางกายสงผลเสีย<br />

ตอตับและไตได นอกจากนี้ยังทําใหเกิดโรคมะเร็งผิวหนัง เนื่องจากผิวไวตอแสงแดด<br />

เพราะเม็ดสีผิวถูกทําลาย แมเมื่ออายุมากขึ้นหรือมีโรคแทรกซอน อาจทําใหปริมาณ<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 87


กลูตาไทโอนที่รางกายผลิตไดลดลง ทําใหรางกายขาดสารตานอนุมูลอิสระ ผิวแหง<br />

เหี่ยวเร็ว ไมเปลงปลั่ง แนะนําใหปรึกษาแพทย (ในกรณีที่ปวย) การเลือกรับประทาน<br />

อาหารที่ชวยกระตุนรางกายใหสรางกลูตาไทโอนไดดีขึ้น หรือใชวิธีการบํารุงผิวดวย<br />

สมุนไพรที่สามารถทําไดเอง เชน การผสมขมิ้นชันกับวานหางจระเขนํามาใชเปน<br />

ครีมบํารุงผิวก็เปนทางเลือกที่จะชวยลดความหมองคล้ําของผิว และบํารุงผิวใหขาว<br />

ผองใส สวนผสมของสมุนไพรชนิดตาง ๆ ก็สามารถหาไดงายจากหนังสือเกี่ยวกับ<br />

การบํารุงผิวที่มีออกมาจําหนายมากมาย<br />

สุดทายนี้ขอฝากไววา การจะเลือกผลิตภัณฑเสริมอาหารตองพิจารณา<br />

วัตถุประสงคของเรา วาเราตองการใชผลิตภัณฑเสริมอาหารเพื่ออะไร กรณีนี้ เพื่อ<br />

ความขาวใส แลวเราก็มาพิจารณาสวนประกอบของผลิตภัณฑนั้น ๆ วามีอะไรบาง มี<br />

สารที่จะชวยใหขาวใสไดจริง มีสารที่เปนอันตรายหรือที่เราแพหรือไม และปริมาณ<br />

สวนประกอบตาง ๆ มีปริมาณมากเกินไปหรือไม เพราะอะไรที่มากเกินไปก็ไมไดให<br />

ประโยชนอยางเดียว และที่สําคัญที่สุด อยาลืมดูสัญลักษณหรือเครื่องหมายรับรอง<br />

จาก อย. ไทยเทานั้น สําหรับกลูตาไทโอนที่จะไดรับการรับรองจาก อย. นั้น จะตองมี<br />

ปริมาณไมเกิน 250 มิลลิกรัมตอแคปซูล และจะตองมีคําแนะนําในการรับประทาน<br />

อยางถูกตอง นอกจากการเลือกซื้อผลิตภัณฑดังกลาว อาจเลือกใชวิธีการบํารุงผิว<br />

ดวยวิธีอื่น ๆ ดังที่กลาวมาแลวขางตนถึงแมจะตองใชเวลานานกวา และตองมีความ<br />

เอาใจใส แตเพื่อความปลอดภัย และประหยัดคาใชจายในการซื้อผลิตภัณฑมี่มีราคา<br />

สูง ก็นาจะอีกเปนทางเลือกที่ดีนะคะ<br />

แหลงอางอิง<br />

ประวิตร พิศาลบุตร.<strong>2553</strong>. หมอชาวบาน 369 (31)<br />

88<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


กรวี จิตวิสุทธิ์.2550. Natural Whitening Cream เพื่อผิวขาวผองมีชีวิตชีวาดวยสูตร<br />

ธรรมชาติ. สํานักพิมพ เท็นแอนดไนน. ปทุมธานี.<br />

http://beautybeauty.exteen.com/20090712/entry กลูตาไทโอน...แบบไหนที่.<br />

เรียกวาอันตราย...ตอนที่ 1 (วันที่คนขอมูล 10 มกราคม <strong>2553</strong>)<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 89


ลด ละ เลิกใชโฟมกันเถอะ<br />

จุฬารัตน หงสวลีรัตน<br />

สวัสดีคะคุณผูฟงที่รักทุกทาน ทุกวันนี้คงไมมีใครไมรูจักกลองโฟมบรรจุ<br />

อาหาร แตคุณเคยคิดสะกิดใจบางไหมคะวากลองโฟม ชามโฟมหรือภาชนะบรรจุ<br />

อาหารอื่น ๆ ที่ทําจากโฟมนั้นปลอดภัยแคไหนในการนํามาบรรจุอาหารที่คุณ<br />

รับประทานอยูทุกวันและสรางปญหาดานสิ่งแวดลอมใหกับเมืองไทยของเรามาก<br />

เทาไร ถาคุณยังไมเคยคิด ลองฟงทางนี้สักนิดนะคะ<br />

โฟมเปนพลาสติกชนิดหนึ่งซึ่งผลิตจากสารสไตรีนหรือสไตรีนมอนอเมอร<br />

สารดังกลาวมีผลโดยตรงตอระบบประสาทและอาจกลายเปนสารกอมะเร็งไดเมื่อถูก<br />

สะสมไวในชั้นไขมันในรางกาย โฟมทนความรอนสูงสุดไดประมาณ 85 องศาเซลเซียส<br />

ซึ่งต่ํากวาอุณหภูมิน้ําเดือดอีกนะคะ ดังนั้นเราจะไมใชโฟมกับอาหารที่รอนจัด หรือมี<br />

ไขมันมาก เชน อาหารที่พึ่งปรุงเสร็จใหม ๆ และอาหารทอดดวยน้ํามัน เพราะความรอน<br />

และไขมันจะทําใหสารสไตรีนหลอมละลายออกมาปนเปอนในอาหารได นอกจากนั้น<br />

เราไมควรอุนอาหารในไมโครเวฟดวยภาชนะบรรจุอาหารที่เปนโฟม เพราะเมื่อเกิด<br />

ความรอนขึ้นสารสไตรีนจะหลอมละลายและปนเปอนออกมาในอาหารไดเชนกัน<br />

นอกจากเรื่องสุขภาพแลว โฟมที่นํามาบรรจุอาหารยังเปนสาเหตุที่สําคัญอยางหนึ่ง<br />

ของปญหาดานสิ่งแวดลอม เพราะในปจจุบันเราสามารถนําขยะโฟมไปรีไซเคิลได<br />

เพียงเล็กนอย ทําใหขยะโฟมในประเทศมีจํานวนมหาศาลถึงหนึ่งหมื่นกวาตันตอป<br />

90<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


ซึ่งโฟมทําใหเกิดปญหาทั้งกับสุขภาพของเราและสิ่งแวดลอมของเมืองไทย ดังนั้นเรา<br />

มาชวยกัน ลด ละ เลิก การใชโฟมดีกวานะคะ<br />

ถาผูฟงมีคําถามตามมาวา ถาเราไมใชโฟมแลวเราจะใชอะไรในการบรรจุ<br />

อาหารที่รอนจัดหรือมีไขมันมากดีละ ขอบอกวามีมากมายเลยคะ เรามาเริ่มกันดวย<br />

วิธีงาย ๆ ที่ผูเขียนใชอยูเปนประจําก็คือ บอกทางรานอาหารวาขอใชถุงรอนแทนโฟม<br />

เพราะถุงรอนทั้งชนิดใสซึ่งเปนพลาสติกชนิดโพลีโพรพิลีน และถุงรอนชนิดขุนซึ่งเปน<br />

พลาสติกชนิดโพลีเอทธิลีนความหนาแนนสูง สามารถทนความรอนไดสูงกวา 100<br />

องศาเซลเซียส ซึ่งทางรานนาจะยินดีขายเพราะราคาของถุงรอนถูกกวาโฟม แตอาจ<br />

มีพอคาแมคาบางคนกังวลวาเราจะทานไมสะดวก จะบอกเรากลับมาวา ไดใชถุงรอน<br />

รองที่กนกลองโฟมกอนใสอาหารแลว ทานผูฟงรีบยิ้มหวานใหเลยนะคะแลวยืนยัน<br />

กลับไปอยางสุภาพวา ขอใชถุงรอนเถอะนะคะ จริง ๆ แลวยังมีความเขาใจผิดกันอยู<br />

มากที่คิดวาเมื่อนําถุงรอนรองที่กนกลองโฟมแลวจะปลอดภัยกวาการใชกลองโฟม<br />

เพียงอยางเดียว เพราะอาหารที่รอนจัดหรือมีไขมันมากก็ยังสัมผัสกับดานขางของ<br />

กลองไดอยูดี สรุปวาวิธีแรกที่จะชวยเราในการลด ละ เลิกใชโฟมก็คือ การขอใชถุง<br />

รอนแทนโฟม วิธีที่สองก็ไมยากคะ เพียงคุณเตรียมภาชนะบรรจุอาหารมาเอง เชน<br />

ปนโตหรือกลองพลาสติกที่เหมาะสําหรับบรรจุอาหารรอน แตถาคุณไมสะดวก<br />

ขอเสนอแนะวิธีที่ 3 วาใหรับประทานที่รานเลยคะ เพราะไดรับประทานอาหารที่รอน<br />

และรสชาติดีกวานํากลับไปทานที่บานอีกดวยใชมั้ยคะ<br />

นอกจากนี้ในปจจุบันกระแสการอนุรักษสิ่งแวดลอมยังเปนไปอยางตอเนื่อง<br />

ทางดานภาชนะบรรจุอาหารเองก็ไดมีงานวิจัยพัฒนาเพื่อผลิตภาชนะบรรจุอาหาร<br />

ชนิดใหม ๆ ที่สามารถนํามาใชแทนโฟมในการบรรจุอาหารโดยไมเปนอันตรายตอ<br />

ผูบริโภคอยางเราและไมมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ภาชนะบรรจุอาหารที่วาก็คือ<br />

ภาชนะบรรจุอาหารยอยสลายไดทางชีวภาพ ผูฟงอาจไมคุนหูกับชื่อนี้นักใชไหมคะ<br />

แตคิดวาคุณผูฟงบางทานอาจเคยไดใชภาชนะดังกลาวมาบางโดยที่ไมทราบก็เปนได<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 91


เพราะสวนใหญถูกผลิตใหมีรูปทรงคลายกับโฟมที่เราใชบรรจุอาหารกันอยูในทุกวันนี้<br />

นั่นละคะ ภาชนะบรรจุอาหารยอยสลายไดทางชีวภาพนี้ผลิตจากวัสดุธรรมชาติ เชน<br />

มันสําปะหลัง ขาวโพดและชานออย ซึ่งสะอาด ปราศจากสารพิษปนเปอน ใชไดกับ<br />

อาหารทั้งรอนและเย็น อาหารเหลวและอาหารแหง และยังสามารถนํามาใชอุน<br />

อาหารในตูอบไมโครเวฟไดอีกดวย นอกจากนั้นเราสามารถนําเขาชองแชแข็งได<br />

ซึ่งภาชนะบรรจุอาหารยอยสลายไดทางชีวภาพไมทําใหเกิดมลพิษตอสิ่งแวดลอม<br />

ดวย เพราะจะยอยสลายไดเองในธรรมชาติ หรือเราอาจเก็บรวบรวมหลังการใชงาน<br />

แลวนําไปใชประโยชนในดานอื่น ๆ เชน อาจนําไปใชเปนสวนผสมของอาหารสัตว<br />

หรือนําไปทําปุยหมัก ชวยใหไมมีขยะเหลือทิ้งใหเปนภาระในการกําจัด ฟงจาก<br />

คุณสมบัติของภาชนะบรรจุอาหารยอยสลายไดทางชีวภาพแลว นาสนใจใชไหมคะ<br />

เพราะทั้งปลอดภัยและไมทําลายสิ่งแวดลอมดวยคะ แลวจะหาซื้อไดจากที่ไหนได<br />

บาง หลายแหงคะ ปจจุบันมีวางขายในหางสรรพสินคาทั่วไป สําหรับเรื่องราคาจากที่<br />

ผูเขียนไดสืบมาก็มีทั้งแพงและถูกกวาภาชนะบรรจุอาหารที่เปนโฟมหรือพลาสติกอื่น<br />

ซึ่งขึ้นอยูกับบริษัทผูผลิตหรือยี่หอนั่นเอง ลองไปสํารวจกันดูนะคะ รักชอบบริษัทไหน<br />

ก็อุดหนุนกันตามสะดวกคะ<br />

สุดทายนี้ผูเขียนอยากฝากไววา ลองมาลด ละ เลิกใชโฟมกันเถอะนะคะ<br />

เพื่อสุขภาพที่ดีของทานผูฟงและเพื่อชวยเมืองไทยของเราดวยคะ<br />

แหลงอางอิง<br />

บรรจุภัณฑอาหารยอยสลายได. 2540. วารสารสถาบันอาหาร ปที่ 1(2) : 14-15<br />

พลาสติกจากพืชมาสูบรรจุภัณฑอาหาร. 2547. วารสารจารพา ปที่ 11(76) : 62-63<br />

เอ วรวีร .2549. กลองบรรจุภัณฑจากมันสําปะหลังและการพัฒนา ‘พลาสติก<br />

ชีวภาพ’ อุตสาหกรรมสาร ปที่ 49(2) : 26-28<br />

92<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


“Biodegradable package” 2544 วารสารสถาบันอาหาร ปที่ 4(20) : 31-35<br />

Kadoya, T. 1990 Food Packaging San diego, Academic Press, Inc.<br />

www.bcmthailand.com สนช.หนุนการใชกลองจากชานออยใสอาหาร ลดสารกอมะเร็ง<br />

(วันที่คนขอมูล 30 พฤศจิกายน 2551)<br />

www.ku.ac.th ภาชนะบรรจุยอยสลายไดทางชีวภาพจากมันสําปะหลัง (วันที่คน<br />

ขอมูล 30 พฤศจิกายน 2551)<br />

www.deqp.go.th KU-GREEN ภาชนะบรรจุยอยสลายไดทางชีวภาพ (วันที่คนขอมูล<br />

30 พฤศจิกายน 2551)<br />

www.cwweb.tu.ac.th พลาสติกบรรจุอาหารและกลองโฟม ใชอยางไรใหปลอดภัย<br />

(วันที่คนขอมูล 3 เมษายน 2552)<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 93


รูจักอุปกรณบอกชี้ตําแหนงบนพื้นโลก (จีพีเอส)<br />

กันเถอะ<br />

กันทิมา ออนละออ<br />

วิวัฒนาการของเทคโนโลยีที่มีมาอยางตอเนื่องทําใหเกิดอุปกรณที่ชวย<br />

อํานวยความสะดวกใหแกผูใชมากมาย ทั้งเพื่อประโยชนในการใชงานทรัพยากร<br />

ตาง ๆ รวมกันเชนขอมูล โปรแกรมประยุกตตาง ๆ หรือแมแตใชอุปกรณรวมกัน<br />

เปนตน อีกทั้งยังใชในการติดตอสื่อสาร เชน การมีโปรแกรมแชต เพื่อใชพูดคุย<br />

ติดตอสื่อสารผานหนาจอคอมพิวเตอร การใชโทรศัพทมือถือที่ในปจจุบันมีคุณสมบัติ<br />

เพิ่มเสริมเขาไปมากมายไมวาจะเปนถายรูปได ฟงเพลงได ดูหนังดูทีวีได หรือแมแต<br />

การใชเครื่องบอกตําแหนงบนพื้นโลกที่เราเรียกวาจีพีเอส (Global Positioning System)<br />

ก็กําลังเปนที่นิยมอยางมากในปจจุบัน<br />

บทความนี้จะนําทานมารูจักเครื่องบอกตําแหนงบนพื้นโลกหรือระบบจีพี<br />

เอสกัน อุปกรณบอกชี้ตําแหนงบนพื้นโลก หรือที่เราเรียกวาจีพีเอส คือเครื่องบอก<br />

ตําแหนงโดยใชดาวเทียมที่สงขึ้นไปโคจรอยูบนทองฟาในตําแหนงตาง ๆ เพื่อรับสง<br />

สัญญาณกับเครื่องบอกตําแหนงบนพื้นโลก เมื่อสงสัญญาณรับสงกับดาวเทียมก็จะ<br />

บอกตําแหนงพิกัดเสนละติจูด (เสนรุง) เสนลองจิจูด (เสนแวง) บนพื้นโลกไดอยาง<br />

ละเอียดตามตําแหนงที่อยู ซึ่งเครื่องรับจีพีเอสที่เราใชงานนั้นจะทําหนาที่เพียงรับ<br />

สัญญาณที่สงมาจากดาวเทียมเทานั้น ระบบจีพีเอสประกอบดวยการทํางานสามสวน<br />

ใหญ ๆ คือสวนแรกเปนสวนดาวเทียมที่จะสงขอมูลของตําแหนง สวนที่สองคือสถานี<br />

94<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


ควบคุมดาวเทียมที่มียูในจุดตาง ๆ ทั่วโลก และสวนที่สามคือเครื่องรับจีพีเอส<br />

แตการใชงานโดยใชดาวเทียมนั้นก็มีขอจํากัดบางเรื่องที่ผูใชตองคํานึงถึง<br />

เมื่อใชงานจีพีเอส เชนเรื่องสัญญาณ กลาวคือสัญญาณดาวเทียมไมสามารถทะลุ<br />

ผานสิ่งกีดขวางได เชน ไมสามารถทะลุผานสิ่งปลูกสราง อาคาร โลหะ หรือมนุษยได<br />

แตสัญญาณดาวเทียมสามารถทะลุผานสิ่งกีดขวางที่ไมรกไมทึบมากนักได<br />

นอกจากนี้การใชงานอาจมีขอผิดพลาด เมื่อมีปจจัยบางอยางเชน มีฝนตกหนัก หรือ<br />

ฟามีเมฆหนาทึบ เปนตน จึงควรพิจารณาเรื่องเหลานี้เมื่อใชงานดวย<br />

เริ่มแรกเดิมที ดาวเทียมจีพีเอสนั้นใชในงานทางการทหารของประเทศ<br />

สหรัฐอเมริกา ปจจุบันจีพีเอสเขามามีบทบาทและเปนที่รูจักในชีวิตประจําวันแลว<br />

เครื่องบอกตําแหนงนี้จึงนํามาใชงานดานตาง ๆ ตัวอยางการใชงานเชน นําจีพีเอส<br />

มาใชนําทางโดยใชติดรถยนตเพื่อบอกตําแหนงรถยนต และใหคอมพิวเตอรเลือก<br />

เสนทางการเดินทางที่ดีให การใชระบบจีพีเอสในเครื่องบินโดยสาร เรือ กลุมนักผจญภัย<br />

และยังนําเทคโนโลยีจีพีเอสมาใชในโทรศัพทมือถือหลายรุน นอกจากนี้การใชงาน<br />

จีพีเอสยังใชในงานดานตาง ๆ เชน การวางแผนการใชประโยชนที่ดิน โครงขายหมุด<br />

ดาวเทียมจีพีเอสของกรมที่ดิน การชวยเหลือตาง ๆ เชน เสื้อกั๊กชูชีพที่มีเครื่องสง<br />

สัญญาณจีพีเอส นอกจากนั้นยังนํามาใชในการกีฬา เชนใชในการวัดความเร็ว<br />

ระยะทาง หรือแมแตแคลลอรี่ที่เผาผลาญของนักกีฬา หรือการนําไปใชในกระบวนการ<br />

ยุติธรรม เชนการติดตามผูราย อีกทั้งยังปองกันการโจรกรรมและติดตามทรัพยสินคืน<br />

ไดดวย<br />

ระบบจีพีเอสกําลังเปนที่นิยมแพรหลาย จึงมีผูใชที่อยากปรับเปลี่ยนการใช<br />

งานจากเดิมดูแผนที่เวลาเดินทาง เปลี่ยนมาใชเทคโนโลยีจีพีเอสแทน เหตุผลที่จีพี<br />

เอสเปนที่นิยมอยางรวดเร็วคงเปนเพราะเราสามารถหาซื้อไดทั่วไปและนํามาติดตั้ง<br />

ใชงานไดงายไมยุงยากเหมือนสมัยกอน นอกจากนี้ขอมูลตาง ๆ ของแผนที่เชนขอมูล<br />

ถนนหนทาง สถานที่ราชการ แหลงทองเที่ยว ปมน้ํามัน สะพาน จุดกลับรถ ถนนหลายเลน<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 95


รานอาหาร ก็มีความสมบูรณมากกวาแตกอน เราสามารถหาจุดหมายปลายทางได<br />

อยางรวดเร็ว ถูกตอง แมนยําและมีความละเอียดเพิ่มขึ้น ปจจุบันนี้ระบบจีพีเอส<br />

สามารถคนหาถึงระดับบานเลขที่หรือเบอรโทรศัพทและนําทางไปสูเปาหมายได<br />

อยางถูกตอง นอกจากนี้ระบบจีพีเอสยังสามารถแสดงสภาพการจราจรที่คาดวาใน<br />

อนาคตจะมี ระยะหยุดรถ จุดที่ตองระวังในการขับขี่ เชน โคงอันตราย เขตชุมชน<br />

ลดความเร็ว เปนตน นอกจากคุณสมบัติที่กลาวขางตน จีพีเอสยังมีหนาจอสวยงาม<br />

นาใช และใชงานงายอีกดวย<br />

เมื่อเราใชงานจีพีเอส เพื่อใหขอมูลที่เราใช มีการปรับปรุงใหทันสมัยอยู<br />

เสมอ เราควรจะปรับปรุงขอมูลแผนที่ปละหนึ่งครั้ง เพื่อการใชงานที่ถูกตอง แมนยํา<br />

ตรงกับความตองการของผูใชมากที่สุด แตจีพีเอสก็มีขอเสียหรือขอจํากัดอยู<br />

เหมือนกัน เชน เครื่องมีราคาสูง ปญหาเรื่องความคลาดเคลื่อนทําใหมีการคํานวณ<br />

ระยะทางผิดพลาดจึงอาจทําใหเกิดปญหาตามมาเพราะการพึ่งพาจีพีเอสมากเกินไป<br />

ปญหาเรื่องความแข็งแรงทนทานของเครื่อง ถาตองใชเครื่องทํางานในพื้นที่ทะเล<br />

หรือในปา การใชไฟและความรอนที่เกิดขึ้นก็เปนเรื่องที่เราตองพิจารณาเชนกัน<br />

แหลงอางอิง<br />

จุน ศรีสุริฉัน, ณัฐชยพงษ ศรีสวางสุข, อนุชา แตมคม และคณะ.(2549).ครบเครื่อง<br />

เรื่อง GPS .กรุงเทพฯ : กระปุกเงิน.<br />

http://www.gadgetrend.com/gps_desc.php What is GPS?. (วันที่คนขอมูล 15 ธันวาคม<br />

2552)<br />

http://www.global5thailand.com/thai/gps.htm ความรูเรื่อง GPS (วันที่คนขอมูล<br />

15 ธันวาคม 2552)<br />

96<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


http://www.thaigmap.com/article/gps-good.aspx ขอดีขอเสียของระบบ GPS (วันที่<br />

คนขอมูล 12 มกราคม <strong>2553</strong>)<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 97


อาหารกับผูปวยเบาหวาน<br />

นุชจรินทร แกลวกลา<br />

โรคเบาหวานเปนโรคที่คนไทยและคนทั่วโลกเปนกันมาก เพราะการกิน<br />

อาหารที่มีไขมันและน้ําตาลมากเกินไป ในขณะที่กินผักผลไมและธัญพืชที่ขัดสี<br />

นอยลง ประกอบกับวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไปทําใหมีการออกกําลังกายนอยลง<br />

โรคเบาหวานเปนโรคที่เกี่ยวกับระดับน้ําตาลในเลือดสูง จนกระทั่งไตสกัด<br />

ไวไมได ก็ขับน้ําตาลปนมากับปสสาวะ จึงเรียกวาเบาหวาน ซึ่งระดับน้ําตาลในเลือด<br />

ที่เหมาะสมไมมากเกินไปหรือสมดุลของน้ําตาลในกระแสเลือดนั้นมีสารเคมีที่เรียกวา<br />

ฮอรโมนชื่อ อินซูลิน ซึ่งสรางมาจากตับออน ทําหนาที่คอยควบคุมการใชน้ําตาลใน<br />

รางกายทําใหระดับน้ําตาลในรางกายไมสูง แตถามีอินซูลินนอยหรืออินซูลินออกฤทธิ์<br />

ไมเต็มที่ จะทําใหเกิดปญหาน้ําตาลเหลือใชเปนเหตุใหระดับน้ําตาลในเลือดมากขึ้น<br />

จึงเปนโรคเบาหวาน โดยโรคเบาหวานนั้นมีสองชนิดคือ ชนิดที่เกิดจากระบบ<br />

ภูมิคุมกันรางกายตนเองผิดปกติและมีผลไปทําลายเซลลในตับออนที่ทําหนาที่สราง<br />

อินซูลิน ดังนั้นรางกายจึงไมมีอินซูลินหลั่งออกมาทําหนาที่นําน้ําตาลเขาไปในเซลล<br />

การรักษาโรคเบาหวานชนิดนี้ตองฉีดอินซูลิน และโรคเบาหวานอีกชนิดหนึ่งนั้นเกิด<br />

จากการที่รางกายดื้อตอฮอรโมนอินซูลิน คือเซลลในตับออนสามารถสรางอินซูลิน<br />

ออกมาได แตตัวจับกับอินซูลินบริเวณเซลลที่อินซูลินจะไปออกฤทธิ์มีความบกพรอง<br />

ทําใหอินซูลินไมสามารถออกฤทธิ์ไดหรือออกฤทธิ์ไดไมเต็มที่ รางกายจึงพยายาม<br />

สรางอินซูลินใหมากขึ้นเพื่อรักษาระดับน้ําตาลในเลือดใหปกติ<br />

98<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


และเมื่อเปนเชนนี้เปนระยะเวลานานเซลลในตับออนที่ทําหนาที่สรางอินซูลินจะ<br />

เสื่อมสภาพไมสามารถผลิตอินซูลินมาชดเชยตอความดื้อของอินซูลินระดับน้ําตาล<br />

ในเลือดจึงสูงขึ้น โดยปจจัยที่เสี่ยงตอการเปนเบาหวานนั้นมีหลายประการไดแก<br />

การมีน้ําหนักตัวเกินหรือเปนโรคอวน การรับประทานอาหารไมถูกสัดสวนคือกิน<br />

อาหารที่มีไขมันและน้ําตาลมากกวาที่รางกายตองการใช การไมออกกําลังกาย<br />

เพราะการออกกําลังกายทําใหอินซูลินทํางานไดดีขึ้น นอกจากนี้การสูบบุหรี่ซึ่งไปมี<br />

ผลกระทบตอการทํางานของอวัยวะตาง ๆ ทําใหการเผาผลาญสารอาหารผิดปกติมี<br />

โอกาสเปนเบาหวานมากขึ้น ตลอดจนผูที่มีความดันเลือดสูงหรือมีไขมันในเลือด<br />

มากกวาปกติจะมีความเสี่ยงตอการเปนเบาหวานเพิ่มขึ้น ตลอดจนความเครียด<br />

เนื่องมาจากสาเหตุตาง ๆ ทําใหการทํางานของรางกายแปรปรวน จึงทําใหระดับ<br />

น้ําตาลในเลือดสูงกวาปกติ นอกจากนี้แลวเบาหวานยังเปนโรคที่ถายทอดทาง<br />

พันธุกรรม ดังนั้นผูที่มีเครือญาติเปนโรคเบาหวานหรือผูที่สืบสายเลือดจากครอบครัว<br />

ที่มีเครือญาติเปนโรคเบาหวานมากอน มีโอกาสเปนโรคเบาหวานได สําหรับผูที่ปวย<br />

เปนโรคเบาหวานจะมีอาการปสสาวะมากและบอยผิดปกติ ดื่มน้ํามาก หิวบอย<br />

รับประทานจุ แตน้ําหนักลดและออนเพลีย ซึ่งควรรีบไปพบแพทยเพื่อขอตรวจ<br />

รางกาย สําหรับผูที่รูผลการตรวจแลว และรูวาตนเองเปนโรคเบาหวานอาจจะรูสึก<br />

เสียใจ หดหูใจซึมเศรา แตทั้งนี้ชีวิตตองดําเนินตอไป จึงตองทําความเขาใจกับวิถี<br />

ชีวิตใหม ออกกําลังกายจนเปนสวนหนึ่งของวิถีชีวิต รักษาระดับน้ําตาลในเลือดให<br />

อยูในเกณฑปกติใหไดมากที่สุด ซึ่งการรักษาระดับน้ําตาลในเลือดนั้นตองใสใจใน<br />

เรื่องอาหาร เพราะอาหารคือแหลงปลดปลอยน้ําตาลในเลือด หากควบคุมอาหารได<br />

ระดับน้ําตาลในเลือดก็ลดลงได โดยการควบคุมอาหารนั้นไมใชควบคุมเฉพาะอาหาร<br />

ประเภทแปงและน้ําตาลเทานั้น หากแตตองระวังเรื่องชนิดและปริมาณของแปงและ<br />

น้ําตาลที่เรียกรวม ๆ วาอาหารประเภทคารโบไฮเดรต และตองรับประทานอาหาร<br />

ประเภทเนื้อสัตวและไขมันใหอยูในปริมาณที่เหมาะสมไมมากเกินไป และเนื้อสัตวที่<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 99


รับประทานตองไมติดมัน ไมติดหนัง ควรรับประทานปลาเปนประจํา สําหรับไขนั้น<br />

หากมีระดับคอเลสเตอรอลในเลือดสูงไมควรรับประทานเกิน 3 ฟองตอสัปดาหและ<br />

รับประทานไขขาวไดทุกวัน สําหรับผูทีมีระดับคอเลสเตอรอลในเลือดปกติ สามารถ<br />

รับประทานไขไดสัปดาหละ 5-6 ฟอง และตองไดรับใยอาหารจากผักและผลไมอยาง<br />

เพียงพอ โดยในสวนของคารโบไฮเดรตนั้น ควรเปนประเภทที่ผานการขัดสีนอย เชน<br />

ขาวกลอง และควรหลีกเลี่ยงผลิตภัณฑใด ๆ ที่มีน้ําตาลมากกวา 5 กรัมตอหนึ่ง<br />

หนวยบริโภค และอาหารที่ทําจากถั่ว เชน วุนเสนสามารถบริโภคไดประจําในสัดสวน<br />

ที่พอเหมาะ ในสวนของไขมันนั้นควรเลือกไขมันทีมีกรดไขมันไมอิ่มตัวมาประกอบ<br />

อาหารไดแก น้ํามันรําขาว น้ํามันถั่วเหลือง น้ํามันมะกอก เปนตน สวนในการทอดที่<br />

ตองใชไฟแรง น้ํามันมากนั้นควรใชน้ํามันที่มีกรดไขมันไมอิ่มตัวสูง เชน น้ํามันปาลม<br />

น้ํามันมะพราว แตกรดไขมันประเภทนี้ทําใหมีคอเลสเตอรอลในเลือดสูงได จึงควร<br />

บริโภคอาหารประเภททอดในปริมาณนอย<br />

สําหรับอาหารที่ควรรับประทานอีกพวกคือ อาหารที่มีเสนใยสูง ไดแก<br />

อาหารประเภทผักและผลไมซึ่งสามารถรับประทานทีมีน้ําตาลนอยได เชน ชมพู ฝรั่ง<br />

มะละกอสุก แตงโม และควรหลีกเลี่ยงมะมวงสุก ทุเรียน ลําไย นอยหนา กลวยตาก<br />

มะขามหวาน องุน เปนตน และธัญพืชที่ผานการขัดสีนอย เชน ขาวกลอง ธัญพืชที่มี<br />

เปลือก เชน ขาวโพด สําหรับถั่วเมล็ดแหง ไดแก ถั่วลิสง อัลมอนด หรือเม็ดมะมวง<br />

หิมพานต อันเปนแหลงโปรตีนและมีไขมันดีชวยลดไขมันในเลือด ดังนั้นสามารถ<br />

รับประทานได แตถามากเกินไปจะทําใหอวนได สวนน้ํานมนั้นควรรับประทานนมจืด<br />

ที่ไมปรุงแตงรสหวานดวยน้ําตาล น้ําผึ้ง หรือน้ําผลไม และโยเกิรตควรเลือกรส<br />

ธรรมชาติที่ไมมีน้ําตาล และควรดื่มน้ําเปลา เหลานี้ลวนเปนขอแนะนําเบื้องตนที่<br />

นํามาเลาตอทานผูฟง แตวิธีการที่ดีที่สุดคือปฏิบัติตนเพื่อหลีกเลี่ยงการเปน<br />

โรคเบาหวานเปนสิ่งที่ดีที่สุด<br />

100<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


แหลงอางอิง<br />

ขนิษฐา ลุนเผ, เอื้อมพร สกุลแกว และ แกวตา สุขีทรัพย.(2548). เมนูอาหาร<br />

เบาหวาน. กรุงเทพฯ : ใกลหมอ.<br />

วันทนีย เกรียงสินยศ.(2551).โภชนการกับเบาหวาน. กรุงเทพฯ : สารคดี<br />

สุภัสสร วัฒนกิจ.(2551).หวาน “เบา” สักนิด. ชีวิตสดใส.พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ :<br />

ฐานบัณฑิต.<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 101


เขื่อนกับการแกปญหาวิกฤติทรัพยากรน้ํา<br />

อนุเทพ ภาสุระ<br />

ปจจุบันปญหาวิกฤติทรัพยากรน้ําไดทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ ปญหาน้ําที่<br />

แหงขอดลงอยางรวดเร็วในลุมน้ําหรือแหลงน้ําตาง ๆ สงผลใหวิถีชีวิตของมนุษยและ<br />

สิ่งแวดลอมเปลี่ยนแปลงไป เหตุการณที่กําลังไดรับความสนใจและสงผลกระทบ<br />

อยางเดนชัด ไดแก กรณีที่เกิดน้ําแหงขอดในแมน้ําโขงซึ่งเปนแมน้ําขนาดใหญและ<br />

ไหลผานหลายประเทศ ซึ่งปญหานี้ไดสงผลกระทบตอระบบนิเวศของแมน้ําโขงอยาง<br />

หลีกเลี่ยงไมได อันมีผลกระทบโดยตรงตอพันธุปลา พรรณพืช และวิถีชีวิตของ<br />

ชาวบานทั้งสองฝงโขงดวยเชนกัน เหตุการณดังกลาวนี้ทําใหกลุมนักอนุรักษและ<br />

กลุมนักเคลื่อนไหวตางเพงเล็งไปที่การสรางเขื่อนขนาดใหญ ที่ตั้งอยูบริเวณลุมแมน้ํา<br />

โขงตอนบนในเขตประเทศจีนวาเปนสาเหตุสําคัญที่ปดกั้นทางน้ําไมใหน้ําไหลผานไป<br />

ยังลุมน้ําโขงตอนลาง จึงเห็นไดวาการสรางเขื่อนเปรียบเสมือนดาบสองคม ที่ดาน<br />

หนึ่งมองวาเขื่อนมีความจําเปนเพราะสามารถเก็บกักน้ําไวใชไดยามขาดแคลน<br />

รวมถึงการใชประโยชนอื่นทั้งการผลิตไฟฟาหรือใชในการชลประทาน ขณะที่อีกดาน<br />

หนึ่งมองวาเขื่อนสรางผลกระทบตอสิ่งแวดลอมอยางใหญหลวงทั้งตอคน สัตว และ<br />

ระบบนิเวศในพื้นที่ จึงทําใหการสรางเขื่อนเพื่อเก็บกักน้ําในปจจุบันทําไดยากมากขึ้น<br />

เนื่องจากกระแสคัดคานในดานลบดังกลาว<br />

102<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


ในอดีตมีการสรางเขื่อนกันทั่วโลกอยางรวดเร็ว ซึ่งมีเขื่อนหลายแหงที่ไมได<br />

มีการวางแผนอยางรัดกุมและสงผลเสียตอสภาพแวดลอม บทเรียนจากการสราง<br />

เขื่อนเสี่ยววานและเขื่อนจิงหงที่มีความสูงถึง 292 เมตรและขวางกั้นแมน้ําโขงใน<br />

บริเวณประเทศจีนเพื่อกักน้ําในปริมาณมากและเพียงพอใหสามารถเดินเรือบรรทุก<br />

สินคาขนาดใหญในฤดูแลงได การสรางเขื่อนขนาดใหญมาก ๆ ดังกลาวสงผล<br />

กระทบตอวัฎจักรการขึ้นลงของน้ําในแมน้ําโขงที่เปลี่ยนไป ระดับน้ําที่ขึ้น ๆ ลง ๆ ตาม<br />

อิทธิพลของการใชงานเขื่อนและการระเบิดแกงแมน้ําโขง ฝูงปลาที่อาศัยในแมน้ํานั้น<br />

ไมสามารถวายน้ําขึ้นไปวางไขบริเวณทางตนน้ําไดอยางที่เคย รวมถึงยังทําใหระบบ<br />

นิเวศบริเวณนั้น ซึ่งเดิมเปนระบบนิเวศบนบกที่รวมถึงปาไม พื้นที่ชุมน้ํา หุบเขาและ<br />

สัตวปาสูญหายไปทั้งหมดหรือบางสวนอีกทั้งยังสงผลกระทบตอระบบนิเวศของ<br />

แมน้ําโขงอยางหลีกเลี่ยงไมได รวมทั้งยังสงผลกระทบโดยตรงตอพันธุปลา พรรณพืช<br />

และวิถีชีวิตของชาวบานทั้งสองฝงโขงดวยเชนกัน จึงเห็นไดวาการสรางเขื่อนขนาด<br />

ใหญในพื้นที่ตนน้ําโดยไมคํานึงถึงระบบนิเวศเดิมสงผลเสียที่ไมสามารถประเมินคา<br />

ได<br />

อยางไรก็ตาม แงดีของการสรางเขื่อนที่มีการวางแผนอยางรอบคอบโดย<br />

คํานึงถึงพื้นที่ตั้ง ยอมสรางประโยชนอยางมหาศาลตอพื้นที่ดังกลาว ตัวอยางเชน<br />

การสรางเขื่อนปาสักชลสิทธิ์ จังหวัดลพบุรี อันเปนเขื่อนในพระราชดําริของพระบาท<br />

สมเด็จพระเจาอยูหัว ที่สืบเนื่องมาจากปญหาการเกิดน้ําทวมที่เกิดขึ้นบอยครั้งใน<br />

บริเวณลุมแมน้ําปาสักในฤดูน้ําหลาก และปญหาขาดแคลนน้ําอยางรุนแรงในชวง<br />

ฤดูรอนที่เกิดขึ้นเปนประจําทุกป พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ จึงพระราชทาน<br />

พระราชดําริใหกรมชลประทานศึกษาความเหมาะสมถึงการสรางเขื่อนเพื่อแกปญหา<br />

ดังกลาว และเมื่อสรางแลวเสร็จพบวา สามารถแกปญหาทั้งกรณีของน้ําทวมและ<br />

และกรณีของน้ํ าแลงไดทั้งบริเวณลุมแมน้ํ าเจาพระยาตอนล างและบริเวณ<br />

กรุงเทพมหานครและปริมณฑลตามวัตุประสงคของการสรางเขื่อน<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 103


ทานผูฟงคงจะเห็นแลวนะครับวา เขื่อนสามารถนํามาเปนเครื่องมือในการ<br />

แกปญหาวิกฤติทรัพยากรน้ําทั้งในกรณีที่มีน้ํามากเกินไปหรือในสภาวะที่เกิดการ<br />

ขาดแคลนน้ําในพื้นที่ โดยเฉพาะในประเทศไทยของเราที่มีพื้นที่ทางการเกษตรกวา<br />

130 ลานไร แตกลับมีพื้นที่ชลประทานเพียง 30 ลานไร หรือประมาณ 1 ใน 4 ของ<br />

พื้นที่การเกษตรเทานั้น ซึ่งถือไดวานอยมาก ดังนั้นจึงควรมีการพิจารณาหาแนว<br />

ทางการจัดสรรทรัพยากรน้ําใหเหมาะสมและเพียงพอ โดยมีการเก็บขอมูลและมีการ<br />

คํานวณถึงฤดูกาลที่น้ํามากและน้ําแลง โดยฤดูน้ําหลากควรคํานวณถึงการจัดเก็บวา<br />

จะจัดเก็บน้ําในรูปแบบใด ทั้งน้ําที่ไหลจากลุมแมน้ําและน้ําฝนในชวงฤดูฝน โดย<br />

คํานวณถึงปริมาณการใชแตละปใหครอบคลุมการสํารองน้ําไวเพื่อใชในฤดูแลงดวย<br />

ดังนั้น การพิจารณาสรางเขื่อนเพื่อแกปญหาวิกฤติทรัพยากรน้ํา จําเปนตองศึกษา<br />

ขอมูลอยางรอบดาน ทั้งผลดีและผลกระทบจากการสรางเขื่อน โดยเฉพาะการเขา<br />

พูดคุยกับชาวบานที่อาศัยในพื้นที่ที่มีสวนไดสวนเสียตอการสรางเขื่อน เพื่อใหได<br />

ขอมูลที่จะชวยแกไขจุดบกพรองในการศึกษาผลกระทบของโครงการ และนําไปสูการ<br />

เจรจาเพื่อหาทางเลือกที่ดีที่สุดและยุติธรรมตอกลุมชาวบานผูตองรับผลกระทบ<br />

โดยเฉพาะการศึกษาถึงระบบนิเวศวาสงผลใหเปลี่ยนแปลงไปเชนไร<br />

ทานผูฟงที่เคารพครับ การแกปญหาวิกฤติทรัพยากรน้ําถือวามีความสําคัญ<br />

อยางยิ่งเพื่อใหมีการใชทรัพยากรน้ําอยางคุมคาและเกิดประโยชนสูงสุด โดยเฉพาะ<br />

ในประเทศไทยซึ่งเปนประเทศเกษตรกรรม หากประเทศไทยยังขาดการบริหาร<br />

จัดการน้ําที่ดี ยอมเปนปญหาที่ใหญหลวงและอาจกลายเปนปญหาบานปลายใน<br />

อนาคต การสรางเขื่อนอยางรอบคอบและมีการวางแผนที่ดี จะเปนอีกสวนหนึ่งที่ชวย<br />

ในการแกปญหาเรื่องวิกฤติทรัพยากรน้ําของไทยไดอยางยั่งยืน<br />

104<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


แหลงอางอิง<br />

สุรวุฒิ ประดิษฐานนท. (2552). การจัดการทรัพยากรน้ํา : กรณีศึกษาเขื่อนทดน้ํา<br />

บางปะกง. วารสาร ราชบัณฑิตยสถาน. 34 (2), 450-458.<br />

สํานักงานจังหวัดสระบุรี. (2542). การดําเนินงานทฤษฎีใหมตามแนวพระราชดําริ<br />

จังหวัดสระบุรี. สํานักงานจังหวัดสระบุรี.<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 105


ภัยแฝงจากขวดและภาชนะพลาสติก<br />

สิริมา ชินสาร<br />

ชีวิตที่ตองเรงรีบในปจจุบันทําใหหลายๆคนหันมาใชบริการน้ําดื่มบรรจุขวด<br />

กันมากขึ้น ทั้งพกพาสะดวก หาซื้อไดงาย มีหลายรสชาติหลายแบบใหเลือกดื่มแก<br />

กระหายในยามอากาศรอน ๆ มีทั้งน้ําเปลาบรรจุขวด น้ําอัดลม น้ําผลไม ดื่มแลวชื่น<br />

ใจแลวยังมีของแถมเปนขวดพลาสติกเปลาใหเก็บกลับบานไปลาง กรอกน้ําแชเย็นได<br />

อีก แตทานทราบหรือไมวาของแถมที่ไดมาอาจไมใชแคขวดเปลาเทานั้น จาก<br />

ผลงานวิจัยของวิทยาลัยการสาธารณสุขฮาวารด ระบุวา ขวดพลาสติกแบบโพลี<br />

คารบอเนต ขวดพลาสติกแข็ง หรือแมแตขวดนมเด็ก คงตองระมัดระวังการใชใหมาก<br />

ขึ้น เพราะจากงานวิจัย พบวา การดื่มน้ําจากขวดโพลีคารบอเนตจะทําใหปสสาวะมี<br />

สารบิสฟนอล เอ หรือ บีพีเอ (Bisphenol A; BPA) เพิ่มขึ้นถึง 1 ใน 3 สวน แสดงให<br />

เห็นวาสารบีพีเอจากขวดบรรจุน้ําดื่มปนเปอนเขาสูของเหลวในขวด ซึ่งหากดื่มเขาไป<br />

ก็จะทําใหพบสารตัวนี้เพิ่มในปสสาวะ<br />

“บีพีเอ” ใชมากในอุตสาหกรรมและพบในบรรจุภัณฑอาหารและเครื่องดื่ม<br />

ที่ทําจากพลาสติก จัดเปนสารประกอบในกลุมสารรบกวนระบบสัญญาณในการผลิต<br />

ฮอรโมนของรางกาย ผลวิจัยของสมาคมตอมไรทอสหรัฐอเมริกา เปดเผยวา บีพีเอมีผล<br />

ตอหัวใจของสตรีและทําลายดีเอ็นเอของหนูอยางถาวร สถาบันสุขภาพแหงชาติ<br />

สหรัฐอเมริกาสรุปเมื่อป 2551 วา บีพีเอเปนอันตรายตอการพัฒนาตอมลูกหมาก<br />

และสมอง รวมถึงยังทําใหทารกในครรภ เด็กเล็กและเด็กโตมีพฤติกรรมเปลี่ยนไป<br />

106<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


และจากงานวิจัยของฮารวารด พบวา บีพีเอเพียง 3 ถึง 4 สวนในลานสวนก็กอมะเร็ง<br />

ในหนูทดลองได<br />

ที่นาเปนหวง คือ ขวดพลาสติกแบบโพลีคารบอเนตยังเปนขวดน้ําที่นิยมใช<br />

กันอยางแพรหลายในหมูเด็กนักเรียนและนักทองเที่ยว สารโพลีคารบอเนตนี้ยังใช<br />

เปนสวนผสมของชิ้นสวนทางทันตกรรม กลองที่ใชใสอาหาร กาว และพบวายังถูกใช<br />

กับขวดนมเด็กอีกดวย จะเห็นไดวาสารบีพีเอนั้นอยูใกลตัวเรามาก และกําลัง<br />

กอใหเกิดโทษมหันตกับเราอยางยิ่ง ยังมีอีกสิ่งที่นากังวลคือ เด็กนักเรียนสวนใหญใช<br />

ขวดประเภทนี้ดื่มน้ําเปนประจํา แถมไมคอยลางขวด และหากเด็กกรอกน้ํารอนเขา<br />

ไปก็จะทําใหไดรับสารบีพีเอมากขึ้น เพราะความรอนจะเรงการรั่วไหลของสารบีพีเอ<br />

สวนคนทํางานอยางพวกเรา ลองหันกลับไปคํานวณดูซิวาวันหนึ่ง ๆ เราดื่มน้ําจาก<br />

ขวดเหลานี้กันเทาไหร ยิ่งถาเขาประชุมจะตองดื่มน้ําจากขวดพลาสติกเปนจํานวน<br />

มาก ทั้งชวงกอนประชุม หลังประชุม หรือชวงอาหารวาง หรือในการดํารงชีวิต<br />

ประจําวันที่มีการเดินทางและตองซื้อน้ําจากรานสะดวกซื้อ ทั้งนี้ไมไดตั้งใจวาจะให<br />

ตื่นตระหนกจนหามใชพลาสติก เพียงแตใหตระหนักไวกอนและพยายามลดการใชไว<br />

กอนจะดีกวา<br />

ลักษณะของการใชงานขวดและภาชนะพลาสติกที่เสี่ยงตอการไดรับสาร<br />

บีพีเอเปนอยางมาก พอจะสรุปไดคราว ๆ ดังนี้<br />

1. การใชขวดพลาสติกหรือแกวพลาสติกซ้ําแลวซ้ําอีก<br />

2. การใชขวดพลาสติกที่มีการกระทบกระแทกขูดขีดจากการทิ้งไวใน<br />

รถยนต<br />

3. ขวดพลาสติกที่โดนความเย็นจัดต่ํากวาศูนยหรือรอนจัดมาก เชน ใสน้ํา<br />

ตมกาแฟหรือใสเขาไปในไมโครเวฟ<br />

4. การใชกลองโฟมพลาสติกและพลาสติกใสหออาหารเขาไมโครเวฟ<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 107


5. ขวดนมเด็กพลาสติกมีโอกาสที่สารบีพีเอจะหลุดปนออกมาจากการที่<br />

เด็กอม ขบกัดพลาสติก<br />

6. ของเลนตุกตาพลาสติกราคาถูกและเครื่องใชพลาสติกที่ทําจากพลาสติก<br />

รีไซเคิลคุณภาพต่ํา ทําใหตองเติมสารพิเศษใหพลาสติกเสถียรซึ่งสารนี้กอมะเร็งได<br />

เมื่อรับทราบถึงลักษณะการใชที่เสี่ยงตอการรับสารบีพีเอเขาไปในรางกาย<br />

แลว เราก็มีวิธีหนีใหไกลภัยเงียบจากพลาสติกมาฝากดวยเหมือนกัน ดังนี้คะ<br />

1. ใชขวดแกวแทนขวดพลาสติก<br />

2. ใชจานชามกระเบื้องหรือหมอกระเบื้องเคลือบแทนภาชนะพลาสติก<br />

3. รณรงคใหใชวัสดุอินทรียแทนพลาสติก เชน ใบตอง ใบบัว หรือ ใบตอง<br />

ตึงแบบที่คนอีสานสมัยกอนนิยมใชหอขาวเหนียวกันไงคะ<br />

4. ขวดน้ําพลาสติกอยาทิ้งไวในรถหรืออยานํากลับมาใชใหม<br />

5. อยาใชความรอนสูงหรือความเย็นจัดกับภาชนะพลาสติก เชน เอาไปใส<br />

ไมโครเวฟ หรือ ใสไวในชองแชแข็ง<br />

6. อยาใหภาชนะกระทบกระแทกหรือขูดขีดมาก ระวังอยาใหเด็กอมหรือกัด<br />

พลาสติกเลน<br />

7. จํากัดการดื่มน้ําจากขวดพลาสติกในแตละวันไมใหมากเกินไป อาจใช<br />

แกวหรือถวยกาแฟรองน้ําเปลาดื่มบางก็ได<br />

เมื่อทานผูฟงทราบถึงภัยแฝงที่มากับขวดและภาชนะพลาสติกที่เราคุนเคย<br />

อยางนี้แลว ในอนาคตผูเขียนหวังวาทุกทานคงจะชวยกันลด ละ เลิกการใชขวดและ<br />

ภาชนะพลาสติก หรืออยางนอยชวยกันใชภาชนะเหลานี้ดวยความระมัดระวัง และ<br />

ใชอยางถูกวิธีใหมากยิ่งขึ้น เพื่อสุขภาพที่ดีของตัวคุณเองและคนที่คุณรักนะคะ<br />

108<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


แหลงอางอิง<br />

http://www.thaihealth.or.th/node/13677 “สารบีพีเอในพลาสติกตัวการรายกอ<br />

โรคหัวใจ” เขาถึงเมื่อ 20 มกราคม พ.ศ. <strong>2553</strong><br />

http://www.thaihealth.or.th/node/9165 “ขวดน้ําพลาสติกใชซ้ํา ๆ เสี่ยงมะเร็งจริงหรือ?”<br />

เขาถึงเมื่อ 20 มกราคม พ.ศ. <strong>2553</strong><br />

www.thaihealth.or.th/node/9344 “ขวดน้ําพลาสติก กอโรคเบาหวาน-หัวใจ” เขาถึงเมื่อ<br />

20 มกราคม พ.ศ. <strong>2553</strong><br />

เลมที่ <strong>33</strong> 109


การปองกันตนเองจากภัยแผนดินไหว<br />

อนุเทพ ภาสุระ<br />

ทานผูฟงที่เคารพคงจะยังจําเหตุการณแผนดินไหวที่เกิดขึ้นที่ประเทศเฮติ<br />

ไดนะครับ เหตุการณนั้นเปนโศกนาฏกรรมและเปนมหันตภัยใกลตัวมนุษยเราที่เกิด<br />

จากแผนดินไหวที่มีความรุนแรงมากถึง 7.0 ริกเตอร โดยศูนยกลางแผนดินไหว<br />

เกิดขึ้นหางจากกรุงปอรโตแปรงซ เมืองหลวงของประเทศไปราว 25 กิโลเมตร และยัง<br />

พบอาฟเตอรช็อกตามมาอีกไมนอยกวา 25 ครั้ง ซึ่งมีความแรงอยูที่ประมาณ 5 - 8<br />

ริกเตอร หนวยงานกาชาดสากลไดรายงานวามีมากกวา 3 ลานคนที่ไดรับผลกระทบ<br />

จากแผนดินไหวครั้งนี้ และมีคนเสียชีวิตมากกวา 300,000 คน และประเมินวา<br />

แผนดินไหวที่เฮตินี้ถือเปนหายนะครั้งรุนแรงที่สุดเทาที่องคกรสหประชาชาติเคย<br />

ประสบมา<br />

ปรากฏการณแผนดินไหว มีสาเหตุมาจากพลังงานที่สะสมอยูในเปลือก<br />

โลก ซึ่งสามารถที่จะดัน ดึง ผลัก หรือกระทําตอหินชั้นแข็งภายในโลก ทําใหเกิดแนว<br />

แตกราวขึ้น แนวแตกราวนี้จะมีการเคลื่อนตัว ขยับตัว หรือปรับตัว เสียดสีกัน<br />

ตลอดเวลา ทําใหปลอยพลังงานออกมา สามารถทําใหเกิดแผนดินไหวได ถาหาก<br />

การเคลื่อนตัวหรือการปรับตัวของแนวแตกราวเปนไปโดยสม่ําเสมอ และคอยเปน<br />

คอยไปก็จะไมมีอันตรายแตอยางใด ซึ่งตามปกติแลวจะมีการเกิดแผนดินไหวที่ไม<br />

กอใหเกิดอันตรายประมาณ 1,000 ครั้ง/วัน แตถาเปลือกโลก มีการปรับตัวผิดปกติ<br />

110<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


ไปอยางรุนแรงหรือเกิดขึ้นทันทีทันใด ก็จะทําใหเกิดแผนดินไหวอยางรุนแรง จะ<br />

กอใหเกิดอันตรายอยางมหาศาลไดดังเชนเหตุการณแผนดินไหวครั้งสําคัญๆของโลก<br />

วันนี้ผูเขียนจึงอยากจะเลาถึงขอปฏิบัติและปองกันตนเองเมื่อเกิด<br />

แผนดินไหว อันจะเปนการผอนหนักใหเปนเบาในกรณีที่ผูฟงประสบเหตุการณ<br />

แผนดินไหว สิ่งที่ควรปฏิบัติ ไดแก<br />

1. ควรมีไฟฉาย นกหวีด และกระเปายาเตรียมพรอมไวในบาน และใหทุก<br />

คนในบานทราบวาอยูที่ไหน เวลาเกิดเหตุฉุกเฉินทุกคนจะหยิบเอามาใชงานไดทันที<br />

2. ควรศึกษาวิธีการปฐมพยาบาลขั้นตนเพื่อใชงานยามฉุกเฉิน และมี<br />

รายชื่อสถานพยาบาลพรอมโทรศัพทติดตอ เมื่อมีผูปวยมากจะไดจัดสงไปรักษา<br />

พยาบาลไดทันที<br />

3. ควรทราบตําแหนงของวาลวปดน้ํา วาลวแกส ตําแหนงสะพานไฟ<br />

สําหรับตัดกระแสไฟฟา เพื่อที่จะปดวาลวดังกลาวไดทันทีเมื่อมีเหตุฉุกเฉิน<br />

4. อยาวางของหนักบนชั้นหรือหิ้งสูงๆ เพราะเมื่อมีอาการสั่นไหวสิ่งของ<br />

อาจตกลงมาทําใหบาดเจ็บได<br />

5. ผูกเครื่องใชใหแนนกับพื้นและยึดเครื่องประดับบานที่หนักๆ เชน ยึดตู<br />

ถวยชามไวกับฝาผนัง<br />

6. อยูอยางสงบ ควบคุมสติ อยาตื่นตกใจ ถาอยูในบาน ก็ขอใหอยูในบาน<br />

ถาอยูนอกบานก็ขอใหหาที่หลบภัย สวนใหญคนที่ไดรับบาดเจ็บเปนเพราะวิ่งเขา<br />

และออกจากบาน ถาอยูในบานใหอยูในสวนที่มีโครงสรางแข็งแรงอยูหางจาก<br />

หนาตางและประตูกระจก ถาอยูในอาคาร ควรออกหางจากอาคารสูงใหไกลที่สุด<br />

เพราะกระจกผนังจะแตกกระเด็นไกลมาก<br />

8. ถาอยูในที่โลงใหอยูหางจากเสาไฟฟาหรือสิ่งหอยแขวนตาง ๆ เชน ปาย<br />

โฆษณาใหญ ๆ ที่อาจตกลงมา อาจทําใหเกิดอันตรายได<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 111


9. อยาใชเทียนไข ไมขีดหรือสิ่งที่ทําใหเกิดประกายไฟ เพราะบริเวณนั้น<br />

อาจมีแกสรั่วระเหยอยู<br />

10. ถากําลังขับรถยนต ใหหยุดรถชิดขอบถนนและอยูภายในรถ จนกระทั่ง<br />

การสั่นสะเทือนหยุดลง<br />

11. หามใชลิฟทขณะที่เกิดแผนดินไหว เพราะไฟฟาดับลิฟทจะติด<br />

12. ควรรีบออกไปจากตึกที่เสียหาย เพื่อความปลอดภัยจากอาคารถลม<br />

ทับซึ่งอาจเกิดขึ้นภายหลังได<br />

13. เปดวิทยุฟงคําแนะนําฉุกเฉิน อยาใชโทรศัพทถาไมจําเปน ควรเก็บแบ<br />

ตเตอรีสําหรับโทรศัพทไวรับ-สงขาวที่สําคัญเทานั้น<br />

14. อยากดน้ําลางโถสวมจนกวาจะตรวจวาสิ่งตกคางอยูในทอระบาย หรือ<br />

อาจมีแกสถูกแรงดันขึ้นมา<br />

15. สวมรองเทาหุมสน เพื่อปองกันเศษแกวและสิ่งหักพังทิ่มแทงที่เทา<br />

16. หลังจากเกิดแผนดินไหวขนาดใหญแลว จะมีแผนดินไหวยอยๆ ตามมา<br />

อีกมากมาย อาจถึงหลายสิบถึงหลายรอยครั้ง แรงสั่นสะเทือนอาจจะอยูในระดับที่<br />

คนรูสึกหรือไมก็ไดแลวแตความรุนแรง และอาจมีอาคารถลมหลังจากที่ความรูสึกสั่น<br />

ไหวสงบไปแลว<br />

แหลงอางอิง<br />

สุพรรณี ชะโลธร. (2548). ธรณีวิทยาแผนดินไหว. วารสารเกษมบัณฑิต. 7(1), 1-11.<br />

พัชรพิมพ เสถบุตร. (2550). แผนดินไหว ใกลหรือไกลตัวเรา. ผูจัดการ. 25(290), 150-154. /<br />

112<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


เหตุเพราะอากาศรอน<br />

สวามินี ธีระวุฒิ<br />

เมืองไทยเรามีสภาพอากาศรอนอยูเสมอโดยเฉพาะหนารอน หลายคนอาจ<br />

เที่ยวพักผอนชายทะเลกับครอบครัว แตบางคนอาจไมไดไปเที่ยวที่ไหนไกลๆ ทวาทุก<br />

วันนี้อากาศจะยิ่งรอนขึ้นเรื่อย ๆ จากสถานการณโลกรอน ดังนั้นการดูแลและรูจัก<br />

โรคภัยที่มากับความรอนจึงจําเปนอยางยิ่งเพี่อใหปองกันและแกไขไดทันทวงที<br />

สําหรับทุก ๆ คน โรคที่คนเปนบอยในชวงหนารอนที่จะขอพูดถึงในบทความนี้ คือ<br />

"โรคจากความรอน” ซึ่งเปนโรคที่เกิดจากการที่รางกายที่มีอุณหภูมิมากกวา 38 องศา<br />

เซลเซียส ทําใหระบบการทํางานในรางกายผิดปกติ โดยทั่วไปรางกายจะพยายาม<br />

ควบคุมอุณหภูมิรางกายไวประมาณ 37 องศาเซลเซียส ซึ่งวิธีที่รางกายทําเพื่อลด<br />

ความรอนที่เกินของรางกายมี 4 วิธีคือ 1. การนําความรอน คือ การถายเทความรอน<br />

ใหผานผิวที่สัมผัสสิ่งที่เย็น ความรอนจะถายผานไปสิ่งที่เย็นกวาเชน น้ําแข็ง วิธีนี้<br />

ถายเทความรอนไดประมาณ 2 เปอรเซ็นต วิธีที่ 2. การพาความรอน คือการถายเท<br />

ความรอนโดยการพัดผานของอากาศ ซึ่งจะนําเอาความรอนออกไปจากรางกาย เชน<br />

เมื่อมีลมพัดผานหรือการใชพัดเปนวิธีที่ถายเทความรอนได 10 เปอรเซ็นต วิธีที่ 3.<br />

การแผความรอน เปนการถายเทความรอนดวยการแผความรอนโดยไมตองการ<br />

ตัวกลางใด ๆ แตอุณหภูมิของสิ่งแวดลอมจะตองต่ํากวาอุณหภูมิของรางกาย วิธีนี้<br />

ระบายความรอนของรางกาย ไดถึง 60 เปอรเซ็นต ของความรอนที่สามารถถายเท<br />

ทั้งหมด และวิธีที่ 4. การระเหยความรอน เปนการถายเทความรอนโดยการระเหย<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 113


ของน้ํา ในที่นี้หมายถึงการสรางเหงื่อเพื่อชวยลดอุณหภูมิของรางกาย การลดความ<br />

รอนดวยวิธีนี้เปนการควบคุมอุณหภูมิของรางกายระหวางออกกําลังกายและเปน<br />

กลไกการควบคุมอุณหภูมิวิธีแรก ๆ เมื่ออุณหภูมิของรางกายสูงขึ้น วิธีนี้ระบายความ<br />

รอนออกประมาณ 30 เปอรเซ็นต แตหากรางกายไมสามารถใหกระบวนการทั้งสี่ใน<br />

การลดอุณหภูมิในรางกายใหต่ํากวา 38 องศาเซลเซียสไดก็จะเกิดโรคจากความรอนขึ้น<br />

ซึ่งสามารถแบงยอยได 3 ประเภท ไดแก โรคตะคริวความรอน โรคเพลียความรอน<br />

และโรคลมความรอน<br />

1. โรคตะคริวความรอน เปนภาวะที่กลามเนื้อหดเกร็งเองโดยที่รางกาย<br />

ไมไดสั่งใหเกร็ง หรือหดตัว แตกลามเนื้อนั้นหดเกร็งเองเปนระยะเวลาหนึ่ง รางกาย<br />

ไมสามารถควบคุมใหกลามเนื้อมัดนั้น ๆ คลายตัวหรือหยอนลงได ถาหากไมไดรับ<br />

การปฏิบัติที่ถูกตอง กลามเนื้อที่เปนตะคริวหรือหดเกร็งจะคอย ๆ คลายตัวทีละนอย<br />

ไปเอง แตกวาจะหายคนที่เปนตะคริวก็จะมีความเจ็บปวดคอนขางมาก โดยทั่วไป<br />

ตะคริวมักเกิดไมเกินสองนาที แตอาจมีบางรายเกิดนานไดถึงหานาทีหรือนานกวา<br />

นั้น การเกิดตะคริวจากความรอนนั้นเกิดไดหลายที่ แตพบมากบริเวณหนาทองและ<br />

ขา นอกจากนี้อาการที่พบรวมกันคือ อุณหภูมิรางกายเปลี่ยนไป เหงื่อออกมาก<br />

กระหายน้ําหรือหัวใจเตนเร็ว โดยผูปวยมักจะมีอาการหลังจากออกกําลังหรือทํางาน<br />

หนัก ซึ่งเกิดจากการเสียน้ําและเกลือแรทางเหงื่อที่มากเกินไป นอกจากนี้ยังคาดวา<br />

การเกิดตะคริวอาจมาจากการที่สูญเสียโซเดียมได โดยในนักกรีฑาที่ดื่มน้ําเปน<br />

จํานวนมากโดยไมชดเชยเกลือแรอาจทําใหเกิดการเจือจางของอิเล็กโตรไลทและ<br />

ทําใหกระตุนการเกิดตะคริวขึ้นได อยางไรก็ตามมีการแนะนําวิธีรักษาคือการชดเชย<br />

ดวยน้ํา หรือใหเครื่องดื่มเกลือแรที่มีจําหนายตามทองตลาด หรือใชสูตรที่ทําเอง<br />

โดยใชเกลือ 1 ชอนชาผสมกับน้ํา 500 มิลลิลิตร เพื่อชวยปองกันการสูญเสียเกลือแร<br />

มากเกินไป<br />

114<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


2. โรคเพลียความรอน เปนโรคที่เกิดขึ้นในขณะที่รางกายตองอยูในสภาพ<br />

แวดลอมที่มีอุณหภูมิสูงหรือจากการออกกําลังกายหนักจนทําใหอุณหภูมิในรางกาย<br />

มากกวา 37องศาเซลเซียส และนอยกวา 40 องศาเซลเซียส รางกายจะขาดน้ําและ<br />

เกลือแร อาการที่อาจแสดงไดแก เมื่อยลา ออนเพลีย เบื่ออาหาร คลื่นไส อาเจียน<br />

วิตกกังวล สับสน ปวดศีรษะ ความดันต่ํา หนามืด ไวตอสิ่งเรางาย นอกจากนี้ยังอาจ<br />

มีผลตอระบบไหลเวียนและทําใหอุณหภูมิในรางกายสูงมากได ในรายที่มีอาการไม<br />

รุนแรง คือมีการสูญเสียของเหลวแตไมมีภาวะของการขาดน้ํา คือสัญญาณชีพปกติ<br />

ไมมีอาเจียน อาจแกไขโดยใหอยูในที่ที่เย็นสบาย บางรายอาจใหชดเชยดวยน้ําและ<br />

เกลือแร สวนรายที่อาการรุนแรงคือมีการเปลี่ยนแปลงของจิตใจ หัวใจเตนผิดจังหวะ<br />

หรือผูที่มีการลมเหลวจากการรักษาที่ใหไปกอนหนานี้ โดยผูปวยเหลานี้ตองไดรับ<br />

การรักษาในหองฉุกเฉินเพื่อใหไดรับสารน้ําชนิดที่ใหทางหลอดเลือดดํา คือ น้ําตาล<br />

เด็กซโตส 5.5 เปอรเซ็นต ในน้ําเกลือ นาน 30 ถึง 60 นาที และตองติดตามระดับโซเดียม<br />

และโพแทสเซียมในเลือด<br />

3. โรคลมความรอน เปนโรคที่รุนแรงเกิดจากความรอนในรางกาย สูงกวา<br />

40 องศาเซลเซียส อาการคลายกับโรคเพลียความรอน แตมีรุนแรงกวาคือมีอาการ<br />

ตาง ๆ เพิ่มมา ไดแก ไมมีเหงื่อออก เพอ ชัก ไมรูสึกตัว ไตลมเหลว เซลลตับตาย<br />

หายใจเร็ว บวมบริเวณปอดจากการคั่งของของเหลว หัวใจเตนผิดจังหวะ ช็อค และ<br />

เกิดการผลิตและสะสมของไฟบริลจนไปอุดตันหลอดเลือดขนาดเล็กและทําใหเกิด<br />

การลมเหลวของอวัยวะตาง ๆ ได ชวยเหลือเบื้องตนไดโดยนําผูมีอาการเขาในที่รม<br />

นอนราบ ยกเทาสูงทั้งสองขาง ถอดเสื้อผาออก ใชผาชุบน้ําเย็นหรือน้ําแข็งประคบ<br />

ตามซอกตัว คอ รักแร เชิงกราน ศีรษะ รวมกับการใชพัดลมเปา เทน้ําเย็นราดลงบน<br />

ตัวเพื่อลดอุณหภูมิรางกายใหลดต่ําลงโดยเร็วที่สุด แลวรีบนําสงโรงพยาบาล สวนผูที่<br />

ยังมีอาการไมมาก ควรใหดื่มน้ําเปลามาก ๆ การปองกันโรคจากความรอนทั้ง 3 โรค<br />

คือ ออกกําลังกายกลางแจงอยางสม่ําเสมออยางนอยสัปดาหละ 3 ครั้ง ครั้งละอยางนอย<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 115


30 นาที เพื่อใหรางกายชินกับสภาพอากาศรอน นอกจากนี้ ควรดื่มน้ํา 1-2 แกว<br />

กอนออกจากบานในวันที่มีอากาศรอนจัด และหากตองอยูทามกลางสภาพอากาศ<br />

รอนหรือออกกําลังกลางสภาพอากาศรอน ควรดื่มน้ําใหไดชั่วโมงละ 1 ลิตร แมจะไม<br />

รูสึกกระหายน้ําก็ตาม และแมวาจะทํางานในที่รมก็ควรดื่มน้ําอยางนอยวันละ 6-8<br />

แกว หนารอนกับความรอนเปนของคูกัน ดังนั้นการเตรียมตัวที่ดีจะชวยใหทุกคนมี<br />

ความสุขและสนุกกับหนารอนไดอยางเต็มที่โดยปราศจากความกังวลใด ๆ<br />

แหลงอางอิง<br />

กองบรรณาธิการใกลหมอ. 2550. ความรอนที่ไมธรรมดา กับ Heat stroke. ใกล<br />

หมอ. 31(4): 68-69.<br />

ธีระวัฒน กุลทนันทน. 2551. อันตรายจากการออกกําลังกายกลางแดด. วารสาร<br />

กีฬา การกีฬาแหงประเทศไทย 42(3)<br />

โรงพยาบาลสมิติเวช. 2550. ลมแดด. สืบคนจาก http://www.navy22.com/smf/index.php?<br />

topic=14434.0. (วันที่คนขอมูล 8 มกราคม <strong>2553</strong>).<br />

116<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


ปูขน<br />

นงนุช ตั้งเกริกโอฬาร<br />

“ปูขน” จัดอยูในครอบครัวแกรพสิดีย (Grapsidae) เชนเดียวกับปูแปน<br />

และปูจาก มีชื่อวิทยาศาสตรวา อิริโอเฉีย ไซเน็นซิส (Eriocheir sinensis) คําวา อิริโอเฉีย<br />

(Eriocheir) เปนภาษาลาตินแปลวา “กามมีขน” สวนคําวา ไซเน็นซิส (sinensis) มี<br />

ความหมายวา “มาจากประเทศจีน” ดังนั้น อิริโอเฉีย ไซเน็นซิส จึงหมายถึง “ปูซึ่งมี<br />

ขนที่กามแหงประเทศจีน” ชาวจีนเรียกปูชนิดนี้วา “มอหอย” ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ<br />

ของปูขนคือ ไชนีส มิทเทิล แครบ (Chinese mitten crab) หรือ แฮรี่ แครบ (Hairy crab)<br />

สําหรับเมืองไทยเรานิยมเรียกสั้น ๆ วา ปูขน หรือปูกามขน หรือปูเซี่ยงไฮ จัดเปนปู 2 น้ํา<br />

คือ อาศัยอยูในทะเลสาบที่มีน้ําสะอาดและเย็นจัด พอชวงฤดูรอนจะอพยพไปผสม<br />

พันธุและวางไขในทะเล ที่เรียกวาปูขน เนื่องจากบริเณขาเดินและกามหนีบมีขนขึ้น<br />

เต็มไปหมด ปูขนที่สมบูรณจะมีขนเปนประกายสีเหลืองทองออน ซึ่งในชวงเดือน<br />

ตุลาคมถึงเดือนธันวาคม ซึ่งเปนชวงเทศกาลกินปูขนนั้น ปูขนจะมีความอุดมสมบูรณ<br />

มาก<br />

ปูขนมีถิ่นกําเนิดในประเทศจีน พบอาศัยอยูตามทะเลสาบในประเทศจีน<br />

เจริญเติบโตอยูในสภาพอากาศหนาว และน้ําที่เย็นจัด อุณหภูมิของน้ําต่ํากวา 10<br />

องศาเชลเชียส บริเวณที่พบมากและเปนที่รูจักกันดีคือ ทะเลสาบหยางเถิง มณฑล<br />

เวียงซู นอกจากนี้ยังพบในประเทศไตหวัน และบางสวนของเกาหลีไปจนถึงทะเลเหลือง<br />

ปจจุบันปูชนิดนี้ไดแพรกระจายไปถึงประเทศฟนแลนด สวีเดน เดนมารก ฮอลแลนด<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 117


เบลเยียม เยอรมัน และบางสวนของประเทศฝรั่งเศสและอังกฤษ สวนอีกชนิดหนึ่งที่<br />

รูจักกันดีก็คือ อิริโอเฉีย จาโปนิคัส (Eriochier japonicus) ซึ่งมีถิ่นอาศัยอยูในประเทศ<br />

ญี่ปุน ตั้งแตเกาะฮอกไกโดไปจนถึงเกาะกิวชิว โอกินาวา หมูเกาะซาคาลิน และ<br />

ครอบคลุมไปถึงแผนดินใหญของจีน เกาหลี ไตหวัน ตลอดจนฮองกง เชนเดียวกับปูขน<br />

อิริโอเฉีย ไซเน็นซิส ของประเทศจีน ปูขน อิริโอเฉีย จาโปนิคัส นี้มีลักษณะคลายคลึง<br />

กับปูขนอิริโอเฉีย ไซเน็นซิสมาก จนบางครั้งอาจเขาใจผิดวาเปนชนิดเดียวกันก็ได<br />

ปูขนมีกระดองรูปทรงสี่เหลี่ยมขนาดกวาง 7-8 เซนติเมตร สีน้ําตาลปนเหลือง<br />

จนถึงน้ําตาลเขม มีขนเปนกระจุกบนขาทุกขาซึ่งถือเปนลักษณะเดน ขาเดินคูแรก<br />

เปนกามหนีบ ขาเดินที่เหลืออีก 4 คู มีลักษณะเรียวยาว ไมเปนใบพาย กระดองสวนหนา<br />

ไมเรียบ มีตุมทู ๆ เรียงกัน 2 แถว แถวแรกมี 2 ตุม แถวถัดมามี 3 ตุม ทั้งสองแถว<br />

เรียงขนานกับริมขอบเบาตาดานใน ลักษณะเดนที่สังเกตเห็นไดชัด คือ ขอบดานขาง<br />

ของกระดองมีหนามแหลม 4 อัน ที่กามมีขนสีน้ําตาลเขมลักษณะเปนกระจุกคลาย<br />

สาหรายหางไก หอหุมหนา โดยเฉพาะบริเวณขอบดานนอกของกามหนีบ<br />

ปูขนถือเปนหนึ่งในสุดยอดอาหารจีน สาเหตุที่ชาวจีนนิยมรับประทานปู<br />

ชนิดนี้ก็เนื่องมาจากการที่ปูขนจะมีขายในตลาดใหซื้อหามารับประทานกันไดในชวง<br />

ฤดูหนาวเทานั้น (ประมาณเดือนกันยายนถึงเดือนธันวาคม) ทําใหชาวจีนเชื่อวา<br />

ปูชนิดนี้จะตองแข็งแรงมาก จึงสามารถเจริญเติบโตผานฤดูหนาวอันหนาวเหน็บมา<br />

ได ฉะนั้นผูที่ไดกินเนื้อปูชนิดนี้แลวจะทําใหแข็งแรงเหมือนปู ปราศจากโรคภัยไขเจ็บ<br />

ทําใหรางกายอบอุน แกโรคคออักเสบ รักษาอาการทางเดินอาหารไมปรกติ รวมทั้งมี<br />

ผลในการถอนพิษดวย และความคิดอันนี้ไดสืบทอดตอกันมาจนกลายเปนความเชื่อ<br />

ของชาวจีนไปในที่สุด<br />

สําหรับเมืองไทยนั้น คนไทยรูจักปูขนมานานมากกวา 30 ปแลว บรรดาเศรษฐี<br />

ทั้งหลายรูจักปูขนกันดี เมื่อกอนพอถึงฤดูหนาวทีก็ตองบินกันไปฮองกงเพื่อซื้อปูขนใส<br />

กระติกน้ําแข็งหิ้วกลับมาเมืองไทย แตเดี๋ยวนี้คนไทยทั่วไปก็สามารถหาปูขนรับประทาน<br />

118<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


กันไดแลว โดยมีรานอาหารหรือภัตตาคารบางแหงสั่งปูขนเขามาทําเปนอาหารเมนู<br />

จานเด็ดขาย และไดรับความนิยมจากผูบริโภคมาก แตเศรษฐีเมืองไทยก็ยังนิยมบิน<br />

ไปกินปูขนที่ฮองกงทุกฤดูหนาว ปูขนที่ขายในฮองกงนั้นนํามาจากจีนแผนดินใหญ<br />

แถบเมืองเซี่ยงไฮอีกทีหนึ่ง วากันวาชาวจีนเมืองเซี่ยงไฮมีศิลปะในการกินปูขน เมื่อ<br />

กินเนื้อปูหมดแลวสามารถนํากระดอง กาม และขามาจัดเรียงประกอบเขาเปนรูปตัว<br />

ปูไดเหมือนเดิม สําหรับราคาปูที่ขายนั้น ถา เปนปูคัดตัวใหญประมาณ 3 ขีดกวา<br />

ราคาตัวละประมาณ 900 บาท สวนขนาดยอมลงมาหนอยตัวละ 450 บาท และ<br />

ขนาดเล็กราคาตัวละ 250 บาท วิธีกินปูขนนี้ก็แสนจะธรรมดาไมตองไปทําอยางอื่น<br />

ใหเสียรสชาติ เพียงแคนําไปนึ่ง 15 นาทีใหสุกเทานั้น ถาใหดีควรใชใบหมอนตากแหง<br />

จากเมืองจีนใสลงไปนึ่งดวย เปนภูมิปญญาชาวบานที่จะชวยสลายพิษสําหรับคนที่<br />

แพปู หากกินที่ภัตตาคารนั้น ทางรานจะมีเด็กคอยแกะเปลือก เลาะกามออกใหกิน<br />

งายขึ้น เมื่อเปดกระดองออกมาจะเห็นมันปูสีเหลืองอรามแทรกอยูเต็มอกและ<br />

กระดองปู ลองลิ้มดูจะรูสึกถึงความมันหอมกวาปูชนิดอื่นๆ สวนเนื้อนั้นทั้งแนนทั้ง<br />

หวาน ตามสูตรใหจิ้มกับ “จิ๊กโฉว” หรือซอสเปรี้ยวที่สั่งมาจากเซี่ยงไฮผสมกับขิงสับ<br />

ละเอียด กลิ่นคลายๆ กินเหลาจีนตมขิง และเมื่อกินปูขนเสร็จ ตองดับเย็นดวยน้ําขิง<br />

รอนๆ หรือเหลาจีน เนื่องจากปูขนเปนอาหารใหฤทธิ์เย็น อยางไรก็ตามมีขอเตือนใจ<br />

สําหรับเศรษฐีนักเปบวา นักพยาธิวิทยาไดศึกษาพบวา ปูขนเปนพาหะนําโรคพยาธิ<br />

ใบไมในปอด ดังนั้นจึงควรบริโภคเฉพาะปูขนที่สุกแลวเทานั้น หามบริโภคแบบสุก ๆ<br />

ดิบ ๆ เด็ดขาด<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 119


แหลงอางอิง<br />

Elizabeth Williamson & David A. Fahrenthold. 2006. "Discovery of second invasive<br />

mitten crab raises worries". http://www.washingtonpost. com/wpdyn/content/<br />

article/2006/08/07/AR2006080701309.html.<br />

Gollasch, S. 2006. Ecology of Eriocheir sinensis"http://www.issg.org/database/<br />

species/ecology.<br />

120<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


การพัฒนาปรับปรุงพันธุขาวไทย<br />

กรองจันทร รัตนประดิษฐ<br />

สวัสดีคะทานผูฟงทุกทาน เนื่องในโอกาสวันพืชมงคลในป <strong>2553</strong> นี้ซึ่งตรง<br />

กับวันที่ 13 พฤษภาคม เปนวันสําคัญที่จัดขึ้นเนื่องจากเห็นความสําคัญของเมล็ดพืช<br />

พันธุอันเปนปจจัยสําคัญตอวิถีการผลิตแบบพึ่งธรรมชาติ และเปนการใหขวัญ<br />

กําลังใจแกเกษตรกร จึงไดกลาวถึงความสําคัญของการปรับปรุงพันธุขาวและการ<br />

ปลูกขาวอันเปนเมล็ดพันธุที่สําคัญตอเกษตรกรไทย และประชากรทั่วโลก นอกเหนือจาก<br />

การมีแผนดินที่อุดมสมบูรณ และปจจัยอื่น ๆ แลว หากไดเมล็ดพืชพันธุที่ไดรับการ<br />

เลือกสรร รวมทั้งเกษตรกรมีขวัญกําลังใจ ทําใหเกษตรกรมีความเชื่อมั่นในการลงทุน<br />

เพาะปลูก การเกษตรของประเทศจะพัฒนามากยิ่งขึ้น<br />

ขาวมีความสําคัญตอมนุษยมาก ประชากรกวาครึ่งโลกบริโภคขาวเปน<br />

อาหารหลัก การปลูกขาวมีมาแลวกวา 5,500 ป และแหลงปลูกขาวที่พบวามีอายุเกาแก<br />

ที่สุดแหงหนึ่งในโลก อยูที่จังหวัดขอนแกน ซึ่งเปนสาเหตุใหเกิดตํานานวัฒนธรรม<br />

ขาวคูกับชนชาติไทยมาตราบปจจุบัน มนุษยในสมัยกอนมีการปลูกขาวเพื่อบริโภค<br />

เทานั้น และสวนที่เหลือจากการบริโภคก็จะเก็บไวในยุงฉาง จากพฤติกรรมการ<br />

บริโภคขาวในสมัยกอนจะเห็นไดวาไมกอใหเกิดปญหาการทําลายสภาพแวดลอม<br />

ธรรมชาติ และระบบนิเวศดังเชนชวงปลายทศวรรษที่ผานมา ซึ่งมนุษยเริ่มแสวงหา<br />

การบริโภคปจจัยสี่มากขึ้น มนุษยจึงมุงมั่นทําการปลูกขาวเพื่อการคาเปนหลักไม<br />

ยกเวนแมแตประเทศไทย ซึ่งไดพยายามรับเอาเทคโนโลยีที่ไมไดปรับแตงจาก<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 121


ตางประเทศมาใชในการสงเสริมการเกษตร รวมถึงการใชสารเคมีทําใหเกิดความ<br />

เสียหายของพื้นที่เพาะปลูก จากสถานการณดังกลาวการพัฒนาพันธุขาวจึงเปนงาน<br />

ที่ตองทําการวิจัยอยางตอเนื่องและจริงจัง ตองมีหลายพันธุเพื่อสํารองไวใชในการ<br />

แกปญหาที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดลอม<br />

ในปจจุบันมีการนําความรูเกี่ยวกับเทคโนโลยีชีวภาพมาพัฒนาปรับปรุง<br />

พันธุขาว โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร มีพระราชดําริเรื่อง<br />

การศึกษาหนวยพันธุกรรมสําคัญที่มีอยูในขาวสายพันธุตาง ๆ ในประเทศไทย เพื่อ<br />

เปนพื้นฐานความรูในการปรับปรุงพันธุขาวของประเทศไทย ดังนั้น ศูนยพันธุวิศวกรรม<br />

และเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ<br />

รวมกับหนวยงานอื่นหลายแหง ไดดําเนินการโครงการถอดรหัสพันธุกรรมขาว<br />

เพื่อสนองพระราชดําริ โดยมีวัตถุประสงคหลักคือ การคนหาจีนทั้งหมดในขาวไทย<br />

ซึ่งจะทําใหไมตองพึ่งพาเทคโนโลยีจากตางประเทศ ขอมูลที่ไดสามารถนําไปสูการ<br />

จดสิทธิบัตรทางปญญาไดในอนาคต และดวยขอมูลดังกลาว และการวิจัยพัฒนา<br />

ปรับปรุงพันธุขาวที่มีมาอยางตอเนื่อง ทําใหไดพันธุขาวที่สามารถทนตอสภาพพื้นที่<br />

เพาะปลูกตาง ๆ ภายในประเทศไทยมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะขาวพันธุขาวดอกมะลิ<br />

105 หรือขาวหอมมะลิ เนื่องจากเปนขาวเศรษฐกิจหลักของไทย มีคุณภาพ เปนที่<br />

ตองการในตลาดตางประเทศมากในปจจุบัน การพัฒนาขาวขาวดอกมะลิ 105<br />

ดังเชน การพัฒนาใหทนตอพื้นที่เพาะปลูกที่เปนบริเวณน้ําทวมซึ่งเปนผลงานวิจัย<br />

รวมของศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ และกรมการขาว โดยใช<br />

ขบวนการเทคโนโลยีชีวภาพระดับโมเลกุลเครื่องหมายดีเอ็นเอในการคัดเลือก<br />

รวมกับวิธีการปรับปรุงพันธุแบบผสมกลับ นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาพันธุขาวใหมี<br />

ความทนแลงเพื่อปลูกในสภาพไร และทนทานตอสารกําจัดวัชพืชไกลฟอเสท อีกทั้ง<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรรวมกับศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ<br />

ไดพัฒนาขาวพันธุขาวดอกมะลิ 105 ใหทนตอสภาพเครียดจากสภาพแวดลอม<br />

122<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


ไมไวตอแสง และใหผลผลิตสูง แตยังคงมีคุณภาพ ความหอม และลักษณะการหุง<br />

ตมที่ผูบริโภคตองการคงเดิมดวย นอกจากการใชวิธีการปรับปรุงพันธุขาวแลว การใช<br />

ระบบการผลิตขาวอินทรียก็เปนอีกทางเลือกหนึ่งเพื่อมุงเนนไปทางอนุรักษฟนฟูพื้นที่<br />

เพาะปลูกที่ถูกทําลาย รักษาสมดุล และรูจักการใชประโยชนจากธรรมชาติเพื่อการ<br />

ผลิตขาวอยางยั่งยืน โดยการปรับปรุงความอุดมสมบูรณของดิน เพิ่มอินทรียวัตถุให<br />

มากขึ้นโดยการใชปุยอินทรีย หรือปุยพืชสดดวยวิธีการผสมผสานที่ไมใชสารเคมี<br />

การเลือกพันธุขาวที่เหมาะสม การบริหารจัดการดิน น้ํา และพืช ใหเหมาะสม<br />

จากการมุงเนนพัฒนาพันธุขาวดังกลาวจะทําใหประเทศไทยมีความ<br />

เหมาะสมตอการเพาะปลูกขาว และมีเมล็ดพันธุขาวที่มีคุณภาพและเพียงพอตอ<br />

ความตองการตอประชากรของประเทศ และเพื่อการสงออก อีกทั้งยังเปนการสนับสนุน<br />

ใหเกษตรกรผูปลูกขาว มีรายได มีขวัญกําลังใจที่จะทุมเทผลิตขาวตอไปดวย<br />

ความหวังวาจะมีเมล็ดพันธุขาวที่ดีทําใหสามารถปลูกขาวไดทุกสภาพแวดลอม<br />

แหลงอางอิง<br />

อรอนงค นัยวิกุล.2550. ขาว : วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (พิมพครั้งที่ 2).<br />

สํานักพิมพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. กรุงเทพฯ.<br />

บุญหงส จงคิด.2545. วารสารวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.<br />

10 (1)<br />

สุภักตร ปญญา. 2548. วารสารแมโจปริทัศน. (6) 2<br />

สงกรานต จิตรากร.2544. ขาวกับวิถีชีวิตคนไทย, น. 13-17. ใน วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี<br />

กับขาวไทย. ฝายนิเทศสัมพันธ ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพ<br />

แหงชาติ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช).<br />

อภิชาต วรรณวิจิตร และ วินิตชาญ รื่นใจชน. เคหการเกษตร. (30) 12 : 2549<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 123


22 พฤษภาคม -<br />

วันสากลแหงความหลากหลายทางชีวภาพ<br />

นงนุช ตั้งเกริกโอฬาร<br />

ความหลากหลายทางชีวภาพ (biological diversity หรือ biodiversity)<br />

เปนคํานิยามถึงความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตนานาชนิด เชน พืชและสัตวรวมทั้ง<br />

สิ่งมีชีวิตตาง ๆ ที่มีความแตกตางกันตามหนวยของพันธุกรรมหรือสายพันธุและ<br />

สภาพถิ่นที่อยูอาศัยบนผืนโลก หากถิ่นที่อยูอาศัยมีความแตกตางกันมากเพียงใด<br />

ก็ยิ่งมีสิ่งชีวิตหลากหลายมากยิ่งขึ้นเพียงนั้น หรืออาจกลาวไดอีกอยางหนึ่งวา<br />

ความหลากหลายทางชีวภาพหมายถึงรูปชีวิต (life form) และปฎิสัมพันธระหวาง<br />

รูปชีวิตดวยกันเอง และปฏิสัมพันธระหวางรูปชีวิตกับสภาพแวดลอม ทางกายภาพ<br />

ซึ่งสงผลใหโลกเปนแหลงที่อยูอาศัยที่เหมาะสมที่สุดสําหรับมนุษย<br />

ความวิตกกังวลเกี่ยวกับการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพและการ<br />

ตระหนักถึงบทบาทสําคัญของความหลากหลายทางชีวภาพในการสนับสนุนชีวิต<br />

ของมนุษย ไดผลักดันใหเกิดการหยิบยกเรื่องความหลากหลายทางชีวภาพมา<br />

พิจารณาตั้งแตป ค.ศ. 1988 โดยโครงการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (Unites<br />

Nation Environment Programme - UNEP) ไดตั้งคณะกรรมการเจรจาระหวางรัฐบาล<br />

เกี่ยวกับอนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ (Intergovernmental Committee<br />

on the Convention on Biological Diversity : ICCBD) เพื่อมาดําเนินการเตรียมการในการ<br />

ยกรางอนุสัญญาฯ ดังกลาว ซึ่งไดรับการรับรองในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1992 ณ<br />

124<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


กรุงไนโรบี ประเทศสาธารณรัฐเคนยา ตอมาอนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทาง<br />

ชีวภาพไดถูกนําเสนอตอที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติวาดวยสิ่งแวดลอมและ<br />

การพัฒนา (The United Nations Conference on Environment Development : UNCED)<br />

หรือการประชุมสุดยอด (The Earth Summit) ที่กรุงริโอเดอเจนาโร ประเทศสหพันธ<br />

สาธารณรัฐบราซิล ระหวางวันที่ 3 - 14 มิถุนายน ค.ศ. 1992 เพื่อใหที่ประชุมดังกลาว<br />

ไดมีการพิจารณารวมลงนามและรับรองอยางเปนทางการ ซึ่งขณะนั้นมีประเทศที่ได<br />

รวมลงนามและรับรองทั้งสิ้น 157 ประเทศโดยคณะผูแทนไทยที่เขารวมประชุม<br />

ในครั้งนั้นประกอบดวยสมเด็จพระเจาลูกเธอ เจาฟาจุฬาภรณวลัยลักษณ อัครราช-<br />

กุมารี เปนองคหัวหนาคณะผูแทนไทย และผูแทนสวนพระองคพระบาทสมเด็จ<br />

พระเจาอยูหัว ไดลงนามในอนุสัญญาฯ ดังกลาวดวย แตในกรณีการใหสัตยาบัน<br />

เพื่อเขารวมเปนภาคีอนุสัญญาฯ ที่จะมีผลบังคับในทางกฏหมายและมีพันธกรณี<br />

ผูกมัดที่จะตองปฏิบัติตามอนุสัญญานั้น ปรากฏวา วันที่ 19 กรกฏาคม พ.ศ. 1995<br />

มี 120 ประเทศ ไดใหสัตยาบันเพื่อรวมเปนภาคีอนุสัญญา และในปจจุบันประเทศที่<br />

มีสวนรวมเปนภาคีอนุสัญญาฯ มีจํานวนทั้งสิ้น 192 ประเทศทั่วโลก สําหรับ ประเทศ<br />

ไทยไดเขาเปนภาคีอนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ ในลําดับที่ 188<br />

เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2004<br />

อนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพเปนสนธิสัญญาระดับโลก<br />

ที่มีความสําคัญมากที่สุดฉบับหนึ่ง ที่เกิดขึ้นในระหวางการประชุมสุดยอดวาดวย<br />

สิ่งแวดลอมและการพัฒนา ซึ่งเปนการประชุมครั้งแรกในระดับโลกที่เริ่มตื่นตัวเรื่อง<br />

ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม และเปนการประชุมที่ทําใหผูคนทั่วโลกรับรูโดย<br />

ทั่วกันวาการพัฒนาและการขยายตัวทางเศรษฐกิจไดทําลายทรัพยากรธรรมชาติและ<br />

สิ่งแวดลอมไปอยางที่ไมคาดคิด อนุสัญญาฯ ที่มีผลผูกพันตามกฎหมายฉบับนี้<br />

ครอบคลุมวัตถุประสงค 3 ประการที่มีความสําคัญเทาเทียมกัน และชวยสนับสนุน<br />

สงเสริมซึ่งกันและกัน คือ การอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพ การใชประโยชน<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 125


จากองคประกอบของความหลากหลายทางชีวภาพอยางยั่งยืน และการแบงปน<br />

ผลประโยชนที่เกิดจากการใชทรัพยากรพันธุกรรมอยางยุติธรรมและเทาเทียม ใน<br />

ปจจุบันการมีสวนรวมในอนุสัญญาฯ เปนไปในลักษณะสากล เนื่องจากมีภาคี<br />

อนุสัญญาฯ ถึง 192 ประเทศทั่วโลก จึงเปนสัญญาณอันดีที่แสดงใหเห็นวาประชาคม<br />

โลกตระหนักถึงความจําเปนในการทํางานรวมกันมีพันธกรณีระหวางประเทศ เพื่อ<br />

พิทักษโลก เพื่อใหหลักประกันในการดํารงอยูของทุกชีวิตบนผืนโลก ทั้งนี้ องคการ<br />

สหประชาชาติไดประกาศใหวันที่ 22 พฤษภาคม ของทุกป เปนวันสากลแหงความ<br />

หลากหลายทางชีวภาพ (International Day of Biological Diversity) เพื่อรําลึกถึง<br />

วันที่อนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพเริ่มมีผลบังคับใช<br />

สําหรับวันที่ 22 พฤษภาคม <strong>2553</strong> นี้ นอกจากจะเปนวันสากลแหงความ<br />

หลากหลายทางชีวภาพแลว องคการสหประชาชาติไดประกาศใหปนี้เปนปสากลแหง<br />

ความหลากหลายทางชีวภาพดวย ทั้งนี้เปนผลเนื่องมาจากการประชุมสุดยอดโลก<br />

วาดวยการพัฒนาอยางยั่งยืน ณ นครโยฮันเนสเบอรก สาธารณรัฐแอฟริกาใต เมื่อ<br />

ป ค.ศ.2002 ไดใหการรับรองเปาหมายความหลากหลายทางชีวภาพป ค.ศ.2010<br />

หรือตรงกับป พ.ศ.<strong>2553</strong> ในการ ลดอัตราการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพลง<br />

ซึ่งสํานักเลขาธิการอนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ ไดขอความ<br />

รวมมือภาคีอนุสัญญา รัฐบาลและองคกรที่เกี่ยวของรวมกันจัดกิจกรรม ในปสากล<br />

แหงความหลากหลายทางชีวภาพ เพื่อใหบรรลุเปาหมาย ทั้งนี้ เนื่องจากความหลากหลาย<br />

ทางชีวภาพ เปนองคประกอบที่สําคัญตอความเปนอยูของมนุษย ความมั่นคงทาง<br />

อาหาร การแกไขปญหาความยากจนและการพัฒนา แตการพัฒนาโดยไมคํานึงถึง<br />

ขีดจํากัด และศักยภาพในการฟนตัวของทรัพยากรความหลากหลายทางชีวภาพ<br />

เปนเหตุใหมีการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพอยางตอเนื่อง และเปนปญหา<br />

ระดับโลกที่ทุกประเทศตองเรงหยุดยั้ง สําหรับประเทศไทยเปนประเทศหนึ่งที่มีความ<br />

หลากหลายทางชีวภาพสูงมาก แตความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย<br />

126<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


กําลังลดลงอยางตอเนื่อง ซึ่งมีสาเหตุสําคัญการใชประโยชนทรัพยากรชีวภาพ<br />

เกินศักยภาพของระบบนิเวศ เพราะประชาชนมีความตระหนักในเรื่องคุณคา และ<br />

การอนุรักษหลากหลายทางชีวภาพนอย ขาดการประชาสัมพันธ การใหการศึกษา<br />

และการสนับสนุนอยางตอเนื่องและเพียงพอ ดังนั้น คณะกรรมการอนุรักษและใช<br />

ประโยชนความหลากหลายทางชีวภาพแหงชาติ โดยรัฐมนตรีวาการกระทรวง<br />

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เปนประธาน รวมทั้งคณะกรรมการซึ่งประกอบดวย<br />

ผูแทนจากหนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ และผูทรงคุณวุฒิไดมีมติ เห็นควรประกาศให<br />

ป <strong>2553</strong> เปนปสากลแหงความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย เพื่อกระตุน<br />

ใหประชากรทุกกลุม ทุกสาขาอาชีพตระหนักในคุณคาความสําคัญของความ<br />

หลากหลายทางชีวภาพ และใหความรวมมือในการอนุรักษและใชประโยชนความ<br />

หลากหลายทางชีวภาพอยางยั่งยืน<br />

แหลงอางอิง<br />

เกียรติขจร อิ้วสวัสดิ์. 2552. รายงานพิเศษ “ปสากลแหงความหลากหลายทางชีวภาพ”<br />

สํานักงานขาวแหงชาติ กรมประชาสัมพันธ: http//thainews.prd.go.th<br />

วรนุช อุษณกร (2543) ประวัติวันสําคัญที่ควรรูจัก.พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ:โอเดียนสโตร<br />

http://en.wikipedia.org/wiki/International_Day_for_Biological_Diversity (วั น ที่ ค น<br />

ขอมูล 2 มีนาคม <strong>2553</strong>)<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 127


“บัวบก สมุนไพรมหัศจรรย”<br />

กรองจันทร รัตนประดิษฐ<br />

ในยุคปจจุบัน ประชาชนมีความสนใจและหวงใยสุขภาพกันมากขึ้น เห็นได<br />

จากการเลือกใชผลิตภัณฑที่มีสวนผสมจากธรรมชาติทั้งในดานอาหาร และความ<br />

งาม แมแตดานการแพทยก็มีการศึกษาคนควาสมุนไพรชนิดตางๆ มาใชเปนยารักษา<br />

โรคแทนยาที่มีอยูปจจุบัน ซึ่งสังเคราะหมาจากสารเคมี สมุนไพรดังกลาวนี้รวมถึง<br />

บัวบก เนื่องจากเปนพืชพื้นบานของประเทศไทยและประเทศในเขตรอนถึงเขตอบอุน<br />

ลักษณะของบัวบกจะเปนพืชลมลุก ลําตนสั้น มีสวนของลําตนที่แตกแขนงไปตามพื้นดิน<br />

มีการผลัดและแตกใบอยางตอเนื่อง เปนพืชใบเดี่ยว ใบคอนขางกลม มีลักษณะคลาย<br />

รูปไต และมีดอกสีมวงแดง บัวบกนี้เปนพืชสมุนไพรที่มีการใชประโยชนกันอยางแพร<br />

หลายทั้งในดานการแพทย อาหาร และดานความงาม เนื่องจากใบบัวบกมีสวนประกอบ<br />

ที่สําคัญหลายชนิด ที่สําคัญ ไดแก กรดมาดิคาสสิค กรดเอเชียติค และเอเชียติโคไซด<br />

นอกจากนี้ สวนที่ใชประโยชนของบัวบก นอกจากใบที่ไดยินสรรพคุณกันบอยแลว<br />

ยังมีเถาและตน ที่มีประโยชน ซึ่งแตละสวนจะใหสรรพคุณแตกตางกัน<br />

บัวบก มีสรรพคุณในการตานอนุมูลอิสระ ลดความเสี่ยงของการเกิดมะเร็ง<br />

มีฤทธิ์ปกปองอันตรายจากรังสี สมานแผล และมีฤทธิ์ฆาเชื้อแบคทีเรียที่เปนสาเหตุ<br />

ทําใหเกิดหนอง ฆาเชื้อราและลดอาการอักเสบได การสกัดสารจากตนบัวบกดวยน้ํา<br />

จะไดสารที่มีฤทธิ์ในการรักษาแผลในกระเพาะอาหาร และสารสกัดจากผลแหงของ<br />

บัวบกมีฤทธิ์ยับยั้งการแบงตัวของเซลลมะเร็งบางชนิด รักษาแผลเรื้อรัง รักษาเยื่อหุม<br />

128<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


สมองอักเสบ สงเสริมการทํางานของสมอง สารสําคัญในใบบัวบกมีฤทธิ์ในการเรง<br />

สรางเนื้อเยื่อและคอลลาเจน จึงชวยสมานแผล ทําใหเลือดไหลเวียนดี เปนยาบํารุง<br />

แกอาการออนเพลีย รักษาแผลภายนอกโดยใชทา นักวิชาการจากวิทยาลัยปโตรเลียม<br />

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ศึกษาการใสสารสกัดจากใบบัวบกลงในกระบวนการขึ้น<br />

รูปเสนใยเจลลาติน จากนั้นศึกษาการปลดปลอยสารสกัดใบบัวบกจากเสนใย และ<br />

ศึกษาความเปนพิษของแผนเสนใยที่ใสสารสกัดใบบัวบก พบวาใบบัวบกใหสาร<br />

ไกลโคไซดหลายชนิด ชวยลดความเสื่อมของเซลล อวัยวะตาง ๆ ของรางกายได ชวย<br />

เรงการสรางสารคอลลาเจนที่เปนโครงสรางของผิว และเนื่องบัวบกมีฤทธิ์ชวยกระตุน<br />

ใหแผลสมานตัวไดเร็ว จึงสามารถนําแผนเสนใยดังกลาวไปใชเปนวัสดุปดแผล ทําให<br />

แผลหายเร็วขึ้น<br />

ดวยคุณสมบัติของบัวบกดังกลาว ในตําราอายุรเวท จัดบัวบกเปนยา<br />

อายุวัฒนะชนิดสําคัญ และบัวบกถือเปนสมุนไพรชนิดหนึ่งที่กระทรวงสาธารณะสุข<br />

เลือกใหเปนสมุนไพรที่ดีที่สุด เนื่องจากมีศักยภาพสูงที่จะพัฒนาเปนผลิตภัณฑ<br />

สุขภาพไดหลายอยาง ที่ผานมาประเทศไทย และตางประเทศมีการพัฒนาบัวบกเปน<br />

ยารักษาแผล ลดความดัน บรรเทาอาการบวมในผูสูงอายุ รักษาขออักเสบ เปนตน<br />

ในสวนของการใชบัวบกในดานความงาม นอกจากการนําใบบัวบกมาพอกผิวดวยวิธี<br />

ธรรมชาติ ปจจุบันมีผลิตภัณฑหลายชนิดที่เพิ่มสวนผสมของบัวบกรวมเขากับ<br />

สมุนไพรชนิดอื่น ชวยลดความเสื่อมของผิวและกระตุนการสรางคอลลาเจน ชวยให<br />

ผิวสดชื่น ขาวกระจางใส ลดจุดดางดํา ลดการอักเสบ ลดริ้วรอย กระตุนการสราง<br />

เซลลเนื้อเยื่อ นอกจากนี้ยังสามารถใชบัวบกในการปรุงอาหาร เชน แกงกะทิใบ<br />

บัวบก ยําบัวบกทอดกรอบ น้ําใบบัวบก ซึ่งจากงานวิจัยพบวาการรับประทานบัวบก<br />

เปนอาหารไมพบวาทําใหเกิดอาการพิษใด ๆ อยางไรก็ตามมีคําแนะนําวา ควรระวัง<br />

อยาดื่มน้ําบัวบกมากจนเกินไป โดยเฉพาะคนที่มีความดันต่ํา อีกทางเลือกหนึ่ง<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 129


สําหรับการรับประทานบัวบกก็อาจรับประทานอาหารเสริมที่มีสวนผสมของบัวบก<br />

ก็ได<br />

สุดทายนี้ ขอฝากไววา การใสใจและหวงใยสุขภาพนั้นเปนเรื่องดี แตควร<br />

เลือกวิธีการดูแลตนเองใหมีความเหมาะสม การใชสมุนไพรอยางเชนบัวบกเปนเรื่อง<br />

ที่ดีตอสุขภาพก็จริง แตถาใช หรือรับประทานมากเดินไปก็มีผลเสียตอรางกายได<br />

เชนกันนะคะ<br />

แหลงอางอิง<br />

Siddique, Y. H., Ara, G., Beg, T., Faisal, M., Ahmad, M. and Afzal, M. 2008.Toxicology<br />

in Vitro. 22<br />

Kima, W. J., Kim, J., Veriansyah, B., Kim, J. D., Lee, Y. W., Oh, S. G. and Tjandrawinata,<br />

R. R. 2009. Journal of Supercritical Fluids 48<br />

http://natres.psu.ac.th/radio/radio_article/radio45-46/45-460032.htm พืชผัก<br />

ผลไมไทยมีคุณคาเปนทั้งอาหารและยา ตอน “บอระเพ็ดและบัวบก” (วันที่<br />

คนขอมูล 30 มีนาคม <strong>2553</strong>)<br />

http://www.sarapee.ac.th/index.php/useful/5-2009-08-27-07-22-56/19-2009-<br />

08-29-03-39-52 'บัวบก' ประโยชนตรึม เตรียมขึ้นบัญชี 'ยาหลัก' (วันที่คน<br />

ขอมูล 30 มีนาคม <strong>2553</strong>)<br />

130<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


เลิกบุหรี่ดวยสมุนไพรไทยหญาดอกขาว<br />

กรองจันทร รัตนประดิษฐ<br />

ในที่สุด วันที่ 31 พฤษภาคม <strong>2553</strong> “วันงดสูบบุหรี่โลก” หรือ World No<br />

Tobacco Day ก็เวียนมาอีก ครั้ง แตแทจริงแลวไมวาวันไหนก็สามารถงดสูบบุหรี่ได<br />

เหมือนกัน หากเราเล็งเห็นวาบุหรี่เปนยาเสพติดสรางอันตรายตอสุขภาพ แตอยางไร<br />

ก็ตาม ผูเขียนขอกลาวถึงความเปนมาของวันงดสูบบุหรี่โลกสักเล็กนอยกอนที่จะ<br />

กลาวถึงเนื้อหาในสวนตอไป วันงดสูบบุหรี่โลกเริ่มจัดขึ้นในป 2531 โดยองคกร<br />

อนามัยโลก (WHO) เนื่องจากเล็งเห็นอันตรายของบุหรี่ตอสุขภาพของผูสูบบุหรี่ และ<br />

ผูไมสูบบุหรี่แตไดรับควันบุหรี่ และองคกรอนามัยโลก ระบุชัดเจนวาการสูบบุหรี่เปน<br />

สาเหตุสําคัญของการปวย และเสียชีวิตกอนวัยอันควร จึงไดกําหนดใหวันที่ 31<br />

พฤษภาคม ของทุกปเปนวันงดสูบบุหรี่โลก ดังนั้น จึงมีการจัดงานวันงดสูบบุหรี่โลก<br />

เพื่อกระตุนใหผูสูบบุหรี่เลิกสูบ และใหรัฐบาล ชุมชน และประชากรโลกตระหนักถึง<br />

ความสําคัญและเขารวมกิจกรรม แตถึงแมวาจะมีการกําหนดวันงดสูบบุหรี่โลกเปน<br />

ประจําทุกป แตผูติดบุหรี่ก็ไมไดลดลงแตอยางไร ในป 2552 คนไทยติดบุหรี่มากกวา<br />

5 ลานคน และคาดวาจะเพิ่มขึ้นเปน 8 ลานคนในป 2563 ดังนั้นอาจกลาวไดวา<br />

วันงดสูบบุหรี่โลกเปนเพียงสวนชวยกระตุนใหงดสูบบุหรี่ และไมวาจะเปนปใด ๆ ที่<br />

ผานมา กิจกรรมที่จัดขึ้นในวันงดสูบบุหรี่โลกตางก็เนนไปที่การรณรงคใหประชาชน<br />

ตระหนักถึงพิษภัยของบุหรี่ดวยกลยุทธตาง ๆ ทั้งดานกฎหมายและดานสังคม แตสิ่ง<br />

ที่ทําใหเกิดความแตกตางกันในแตละป คงจะเปนเรื่องของวิธีการหลากหลายที่จะ<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 131


ชวยใหผูตองการอดบุหรี่ และหนึ่งในหลายวิธีนั้นคือการใชยาเลิกบุหรี่ที่จะมีตัวยา<br />

ใหม ๆ ออกมาจําหนายอยูเสมอ เปนความจริงที่วาการจะเลิกสูบบุหรี่นั้นไมมียาใดที่<br />

จะทําใหผูสูบบุหรี่สามารถเลิกสูบบุหรี่ไดรอยเปอรเซ็นต แตการใชยาก็เปนทางเลือก<br />

ที่จะทําใหผูสูบบุหรี่เลิกสูบไดงายขึ้น<br />

จากที่กลาวมาขางตนวันนี้จึงถือโอกาสเนื่องใน “วันงดสูบบุหรี่โลก” ในปนี้<br />

กลาวถึง สมุนไพรไทยเพื่อใชในการอดบุหรี่ สมุนไพรดังกลาวคือ สมุนไพรหญาดอกขาว<br />

เนื่องจากเปนสมุนไพรที่พบมากในประเทศไทย และมีการนําสมุนไพรหญาดอกขาว<br />

มาผลิตเปนชาสมุนไพรชงดื่มเพื่อลดอาการอยากบุหรี่ของคนที่ติดบุหรี่ หญาดอกขาว<br />

หรือหญาหมอนอย เปนพืชลมลุก ขนาดเล็ก สูง 1-5 ฟุต ขึ้นงาย หางาย ลําตนเปนเหลี่ยม<br />

มีขนนุม ใบมีหลายรูป รูปไข รี ปลายและโคนแหลม ผิวคอนขางเรียบ ดอกเล็กกลม<br />

เปนพู พบมากในเอเชียตะวันออกเฉียงใต และฮาวาย มีสรรพคุณตามตําราโบราณ<br />

ระบุไววา ทั้งตนมีรสเย็นขื่น ตมดื่มลดไข แกไอ แกโรคตับอักเสบเฉียบพลัน ริดสีดวงทวาร<br />

บํารุงกําลัง แกทองรวง คั้นเอาน้ําดื่มกระตุนใหเจ็บทองคลอด ขับรก ขับระดู แกปวด<br />

ทอง ทองขึ้น อืดเฟอ สวนสรรพคุณตามการแพทยปจจุบัน หญาดอกขาว มีสรรพคุณใน<br />

การลดความตองการสูบบุหรี่ โรคหืด มาลาเรีย ภาวะขอตออักเสบ และการเกิดนิ่วใน<br />

กระเพาะปสสาวะ ปจจุบันมีการนําสมุนไพรหญาดอกขาวมาผลิตเปนชาสมุนไพรชง<br />

ดื่ม ในโรงพยาบาลของรัฐหลายแหง เชน โรงพยาบาลทาแซะ จังหวัดชุมพร เปด<br />

คลินิกอดบุหรี่ใชรูปแบบการบําบัดรักษาแบบผสมผสาน ทั้งดานรางกายและจิตใจ โดย<br />

การใชชาชงสมุนไพรหญาดอกขาว 1 ซอง ละลายน้ํา 1 แกว ดื่มวันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร<br />

รับประทานวิตามินซี (100 มิลลิกรัม) 1 เม็ด วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร และใชน้ํายาอม<br />

บวนปากเวลาที่มีอาการอยากบุหรี่ ใชเวลาประมาณ 1-2 เดือน พบวาไดผลดี<br />

นอกจากนี้ยังมีหลายงานวิจัยมารองรับถึงประสิทธิภาพของสมุนไพรหญาดอกขาว<br />

ในการลดอาการอยากบุหรี่ของคนที่ติดบุหรี่ ตัวอยางเชน การศึกษาใหชาสมุนไพร<br />

หญาดอกขาวกับผูที่ตองการเลิกสูบบุหรี่จํานวน 62 คนเปนเวลา 4 เดือน พบวา<br />

132<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


ผูปวย 43 คน (69.6%) สามารถควบคุมตัวเองไมใหสูบบุหรี่ได แตผูปวยอีก 19 คน<br />

(30.6%) ไมสามารถงดสูบบุหรี่ได (ศุภกิจ อางถึงใน Chaisawad และ<br />

Makanuntachote, 2552) และรายงานของ ศุภกิจ และคณะ (2552) ไดสรุปวาหญา<br />

ดอกขาวเปนทางเลือกที่ตนทุนต่ําสําหรับบําบัดผูที่ตองการเลิกบุหรี่<br />

การจะเลิกสูบบุหรี่ไดโดยเด็ดขาดไมใชเพราะยา แตเปนเพราะตัวของผูสูบ<br />

บุหรี่เอง โดยเฉพาะในเรื่องของความเขมแข็งของจิตใจในการที่จะหยุดบุหรี่ การใชยา<br />

เลิกบุหรี่จึงเปนเพียงตัวชวย และเปนทางเลือกหนึ่งเพื่อใชในการเลิกบุหรี่เทานั้น ผูติด<br />

บุหรี่อาจใชวิธีอื่น ๆ ที่แพทยแนะนํา เชน การรับประทานอาหารที่มีฤทธิ์เปนดาง<br />

รวมทั้ง ผัก และผลไมในปริมาณมาก ๆ สุดทายนี้ ผูเขียนขอเปนกําลังใจใหผูที่กําลัง<br />

อยากเลิกสูบบุหรี่ รวมทั้งผูที่ยังสูบบุหรี่อยูใหตระหนักถึงพิษภัยที่ไดรับจากบุหรี่<br />

แคคิดจะเลิกสูบบุหรี่ก็ถือวาเปนการเริ่มตนที่ดีแลว<br />

แหลงอางอิง<br />

ไทยโพสต 31 สิงหาคม 2552<br />

บุญเติม แสงดิษฐ. 2541.วันสําคัญ. สํานักพิมพ พชรการพิมพ. กรุงเทพฯ.<br />

ศุภกิจ วงศวิวัฒนนุกิจ, ปรีดา เบญจนากาศกุล, ธนภัทร ทรงศักดิ์, สมพร สุวรรณ<br />

มาโจ และวิโรจน วีรชัย. 2552.ประสิทธิผลของหญาดอกขาวในการเลิก<br />

บุหรี่. วารสารวิจัยวิทยาศาสตรการแพทย. 23(1)<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 1<strong>33</strong>


ชื่อ (อาหาร) สําคัญไฉน?<br />

อรสา สุริยาพันธ<br />

สวัสดีคะผูฟงทุกทาน วันนี้เ นื้อหาของเรื่องที่นํามาเสนอเกี่ยวกับ<br />

ความหมายของชื่อผลิตภัณฑอาหารที่ใชบริโภคทั่วไปในชีวิตประจําวันคะ การทราบ<br />

ความหมายที่ถูกตองของชื่ออาหารทําใหสามารถเลือกซื้อใหตรงกับวัตถุประสงคการ<br />

นํามาใชหรือการบริโภคโดยเฉพาะในกลุมอาหารเพื่อสุขภาพ เชน นมและผลิตภัณฑ<br />

อาหารนม สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา หรือที่เรียกกันทั่วไปวา “อย.” มีหนาที่<br />

ควบคุมใหผูประกอบการระบุชื่อของอาหารบนฉลากใหตรงตามที่กําหนดไวใน<br />

ประกาศกระทรวงสาธารณสุขที่แบงตามประเภทของอาหาร เพื่อเปนการควบคุม<br />

คุณภาพของอาหารใหปลอดภัยในการบริโภคและเปนการคุมครองสิทธิของผูบริโภค<br />

ปจจุบันประกาศกระทรวงฯ เกี่ยวกับอาหารมีประมาณ 300 ฉบับคะ ชื่อของอาหาร<br />

ใหขอมูลพื้นฐานที่สําคัญตอผูบริโภค เชน ชนิดของวัตถุดิบที่ใชในการผลิต กรรมวิธี<br />

การผลิต ชนิดของไขมันที่ใชเปนสวนผสม ปริมาณสารอาหารสําคัญตอสุขภาพ อายุ<br />

การเก็บรักษา และวิธีการเก็บรักษาที่เหมาะสม เปนตน ดิฉันขอยกตัวอยางอาหาร<br />

ชนิดตางๆที่มีจําหนายทั่วไป ประกอบการอธิบายเพื่อใหเกิดความเขาใจไดดียิ่งขึ้น<br />

นะคะ ในกลุมผลิตภัณฑน้ํานมพรอมดื่ม มักมีคําตอทายชื่อน้ํานมพรอมดื่ม เชน<br />

“พาสเจอรไรซ” “ยูเอชที” และ “สเตอริไลส” นั้น คําศัพทเหลานี้บงบอกถึงวิธีการฆาเชื้อ<br />

ดวยความรอน “พาสเจอรไรซ” เปนวิธีการใหความรอนแกน้ํานมที่อุณหภูมิไมต่ํากวา<br />

73 องศาเซลเซียส เปนเวลาไมนอยกวา 15 วินาที กอนการบรรจุน้ํานมลงถุง ขวด หรือ<br />

134<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


กลองคะ ความรอนระดับนี้ทําลายเชื้อจุลินทรียที่กอใหเกิดโรคไดแตไมสามารถ<br />

ทําลายจุลินทรียที่ทนตอความรอนไดดี ดังนั้นน้ํานมพาสเจอรไรซตองแชตูเย็น<br />

ตลอดเวลาเพื่อชะลอการเจริญของจุลินทรียที่เหลือรอดดังกลาว จุลินทรียกลุมนี้ที่ไม<br />

กอใหเกิดโรคแตมีผลตอคุณภาพของน้ํานมดานสีและกลิ่นรส ดวยเหตุนี้ กระทรวง<br />

สาธารณสุขกําหนดใหน้ํานมพาสเจอรไรซมีระยะเวลาการจําหนายไมเกิน 10 วัน<br />

จากวันที่ผลิต สําหรับผลิตภัณฑนม“ยูเอชที” และ “สเตอริไลส” เปนผลิตภัณฑน้ํานม<br />

ที่ผานการใหความรอนในระดับที่รุนแรงขึ้นจนสามารถทําลายจุลินทรียที่มีไดทั้งหมด<br />

ทําใหสามารถเก็บรักษาที่อุณหภูมิหองได เปนเวลานานไมเกิน 1 ป ถาชื่อของผลิตภัณฑ<br />

มีคําวา “สเตอริไลส” แสดงวาบรรจุน้ํานมลงกระปองปดสนิทกอนนํากระปองไปผาน<br />

การใหความรอนที่อุณหภูมิ 110 องศาเซลเซียส เปนเวลาไมนอยกวา 30 นาที แตถา<br />

มีคําวา “ยูเอชที” แสดงวาผานกรรมวิธีการใหความรอนอุณหภูมิไมต่ํากวา 130<br />

องศาเซลเซียส เปนเวลาไมนอยกวา 1 วินาที กอนนํามาบรรจุลงกลอง ถาตองการ<br />

คุณคาทางอาหารสูงและมีกลิ่นรสของนมที่ดี ก็ควรเลือกซื้อน้ํานมพาสเจอรไรซ แต<br />

ถาตองการใหผูสูงวัยหรือผูปวยบริโภคก็ควรเลือกซื้อเปนน้ํานมสเตอริไลสมากกวา<br />

หรือถาตองการความสะดวกในการพกพาระหวางการเดินทางก็เลือกน้ํานมยูเอชทีคะ<br />

สําหรับผลิตภัณฑอาหารนม เชน นมขนจืด นมขนหวาน ขอใหทานผูฟงอานชื่อที่<br />

ฉลากใหละเอียดกอนซื้อคะ ถามีคําวา “แปลงไขมัน” ก็ใหทานทราบวาไขมันใน<br />

ผลิตภัณฑนั้นเปนไขมันปาลมหรือไขมันมะพราวทดแทนมันเนยในน้ํานม เนื่องจาก<br />

ทําใหสามารถผลิตสินคาในราคาที่ต่ําลงได ปจจุบันการผลิตนมขน ทําไดโดยการ<br />

ผสมนมผงปราศจากไขมัน น้ํา ไขมันปาลม ตามสูตรที่ตองการ นําของผสมมาผาน<br />

การใหความรอนกอนบรรจุกระปองเพื่อจําหนาย ในทํานองเดียวกัน ไอศกรีม<br />

ดัดแปลง ก็หมายความวาเปนไอศกรีมนมที่ทําขึ้นโดยใชไขมันชนิดอื่นแทนมันเนย<br />

ทั้งหมดหรือแตบางสวน สําหรับชื่อกลุมผลิตภัณฑอาหารสุขภาพนั้น มักมีคําวา<br />

“ปราศจาก” “ลด” “พรอง” “นอย” “ต่ํา” หรือ “สูง” อยูนําหนาหรือหลัง คําวา “ไขมัน”<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 135


“น้ําตาล” “คอเลสเตอรอล” “เกลือ (หรือโซเดียม)” “ใยอาหาร” หรือ “พลังงาน”<br />

แลวแตกรณี ทานผูฟงคะ ขอใหทานอานขอมูลที่แสดงในฉลากโภชนาการของ<br />

ผลิตภัณฑอาหารนั้นเพื่อใชคํานวณปริมาณการบริโภคที่เหมาะสม ดวยคะ เพราะคํา<br />

เหลานี้ตางมีความหมายเฉพาะและสัมพันธกับปริมาณเพียงหนึ่งหนวยบริโภคของ<br />

อาหาร ตัวอยางเชน “ปราศจากไขมัน (Fat Free)” ปราศจากน้ําตาล (Sugar Free)”<br />

“ปราศจากคอเลสเตอรอล (Cholesterol Free)” และ “ปราศจากเกลือ (Salt Free) ”<br />

หมายความวาในหนึ่งหนวยบริโภคของอาหารนั้นมีปริมาณไขมันไมเกิน 0.5 กรัม<br />

ปริมาณน้ําตาลไมเกิน 0.5 กรัม ปริมาณคอเลสเตอรอลไมเกิน 2 มิลลิกรัม และ<br />

ปริมาณโซเดียมไมเกิน 5 มิลลิกรัม ตามลําดับ ซึ่งถาขนาดบรรจุของผลิตภัณฑอาหาร<br />

ที่ทานซื้อมา 1 ถุง ระบุวา นับเปน 10 หนวยบริโภค และทานทานหมดในครั้งเดียว<br />

เทากับทานไดรับปริมาณสารอาหารทั้งหมด ดังนี้ ปริมาณไขมัน 5 กรัม น้ําตาล 5 กรัม<br />

คอเลสเตอรอล 20 มิลลิกรัม และโซเดียม 50 มิลลิกรัม สําหรับผลิตภัณฑอาหารที่<br />

ระบุวา “ไขมันต่ํา (Low Fat)” “คอเลสเตอรอลต่ํา (Low Cholesterol)” “โซเดียมต่ํา (Low<br />

Sodium)” แสดงวา ในหนึ่งหนวยบริโภคของอาหารนั้นมีปริมาณไขมันไมเกิน 3 กรัม<br />

ปริมาณคอเลสเตอรอลไมเกิน 20 มิลลิกรัม ปริมาณโซเดียมไมเกิน 140 มิลลิกรัม<br />

ตามลําดับ สําหรับคําวา “ลด (Reduced)” มีหมายความวาสารอาหารชนิดที่ระบุนั้น<br />

มีปริมาณ หรือใหพลังงานลดลงจากปริมาณหรือพลังงานตามปกติ อยางนอยรอยละ<br />

25 สําหรับคําวา “สูง (High)” “อุดม (Rich in)” หรือ“แหลงที่ดี (Excellent source)”<br />

มีหมายความวาสารอาหารชนิดที่ระบุนั้นมีปริมาณ เพิ่มจากปริมาณตามปกติอยาง<br />

นอยรอยละ 20 คะ สําหรับผลิตภัณฑที่มีปริมาณใยอาหารไมต่ํากวา 5 กรัมตอหนึ่ง<br />

หนวยบริโภคสามารถระบุบนฉลากวา “ ใยอาหารสูง (High Fiber)” สําหรับผลิตภัณฑ<br />

จากเนื้อสัตว สัตวปก และ อาหารทะเล นิยมใชพิมพคําวา “ลีน (Lean)” ที่ฉลากเพื่อ<br />

แสดงวาผลิตภัณฑ มีปริมาณไขมันนอยกวา 10 กรัม และปริมาณคอเลสเตอรอลต่ํา<br />

กวา 95 มิลลิกรัม ตอ 100 กรัมของผลิตภัณฑอาหารนั้น คําอีกคําที่มักพบวาพิมพบน<br />

136<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


ฉลากของผลิตภัณฑอาหารที่มีปริมาณไขมันหรือปริมาณพลังงานสูง เชน เนยแข็ง และ<br />

น้ําสลัด เปนตน คือ คําวา “ไลท (Light)” ซึ่งคํานี้มี 2 ความหมายแลวแตกรณีการใช<br />

ความหมายแรก คือ เปนผลิตภัณฑที่ไดปรับสูตรใหลดปริมาณพลังงานตอหนึ่งหนวย<br />

บริโภคได 1/3 ของสูตรปกติ หรือ มีความหมายแบบที่สอง คือ เปนผลิตภัณฑที่ได<br />

ปรับสูตรใหลดปริมาณไขมันลงไดอยางนอยรอยละ 50 ของปริมาณไขมันตามปกติ<br />

สุดทายนี้ ดิฉันหวังวาทานผูฟงคงใหความสนใจกับชื่อของผลิตภัณฑอาหารที่พิมพที่<br />

ฉลากกอนการซื้อนะคะ<br />

แหลงอางอิง<br />

http://www.fda.gov/Food/Labellingnutrition/defaut.htm. วันที่สืบคน 4 พฤษภาคม <strong>2553</strong><br />

http://www.fda.moph.go.th . วันที่สืบคน 4 พฤษภาคม <strong>2553</strong><br />

http://www.qmaker.com/fda/new/web_cms. วันที่สืบคน 4 พฤษภาคม <strong>2553</strong><br />

เลมที่ <strong>33</strong> 137


นาโนเทคโนโลยีในชีวิตประจําวัน<br />

รุงนภา แซเอ็ง<br />

ทานผูฟงคงเคยไดยินคําวานาโนเทคโนโลยีบอย ๆ นาโนเทคโนโลยีเปน<br />

กระแสใหมของการพัฒนาเทคโนโลยีในศตวรรษที่ 21 ซึ่งเกี่ยวของกับกระบวนการ<br />

สราง การออกแบบวัสดุ หรือผลิตภัณฑที่มีขนาดเล็กมากในระดับ 0.1 ถึง 100 นาโนเมตร<br />

เทียบเทากับระดับอนุภาคของโมเลกุลหรืออะตอม ซึ่ง 1 นาโนเมตร มีคาเทากับ 1 ใน<br />

พันลานสวนของเมตร<br />

นอกจากนี้นาโนเทคโนโลยียังรวมถึงการจัดเรียงอะตอมและโมเลกุลใน<br />

ตําแหนงที่ตองการไดอยางแมนยําและถูกตอง ทําใหไดโครงสรางของวัสดุหรือสสาร<br />

ที่มีคุณสมบัติพิเศษไปจากเดิม ไมวาทางดานฟสิกส เคมี หรือชีวภาพ สงผลประโยชน<br />

ตอผูใชสอย ถาเปรียบแลวคงเหมือนกับ "การเลนแรแปรธาตุ" ในสมัยกอนที่มีการ<br />

พยายามเปลี่ยนตะกั่วใหเปนทอง โดยการใชสารเคมีและความรอนมาชวยในการ<br />

เปลี่ยนโครงสรางโมเลกุล สมัยกอนนักเคมีทดลองโดยขาดความรูวาสสารตาง ๆมี<br />

การจัดเรียงตัวอยางไร และธาตุบริสุทธิ์มีองคประกอบทางเคมีอยางไร แตเมื่อเรา<br />

สามารถทราบถึงการจัดเรียงตัวของอะตอมที่กอใหเกิดเปนธาตุตาง ๆ และสามารถ<br />

บังคับควบคุมการจัดเรียงตัวของอะตอมใหเปนไปตามที่ตองการ การเปลี่ยนตะกั่วให<br />

เปนทองหรือการเปลี่ยนถานใหเปนเพชรก็คงไมใชเรื่องยากอีกตอไป<br />

นาโนเทคโนโลยีเขามาเกี่ยวของในชีวิตประจําวันของเรามากขึ้นเรื่อย ๆ<br />

ตัวอยางเชนผลิตภัณฑสิ่งทอเสื้อนาโนซึ่งเริ่มมีการจําหนายในบานเรา โดยเปนเสื้อที่<br />

138<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


ไดประยุกตเอาเทคโนโลยีระดับนาโนมาเพิ่มประสิทธิภาพของเนื้อผาธรรมดาใหมี<br />

คุณสมบัติที่มีประโยชนหลายประการมากขึ้น เชนประการแรกคือคุณสมบัติกันน้ํา<br />

โดยการเคลือบดวยสารบางชนิดที่ไมชอบน้ํา คุณสมบัติขอตอมาคือ กันรังสียูวี โดย<br />

เคลือบดวยซิงคออกไซด (zinc oxide, ZnO) และไททาเนียมไดออกไซด (titanium<br />

dioxide, TiO 2 ) ซึ่งสามารถสะทอนแสงและรังสียูวีไดดี คุณสมบัติอยางที่สามคือกัน<br />

แบคทีเรียโดยเคลือบดวยอนุภาคเงินนาโนหรือนาโนซิลเวอร ซึ่งอนุภาคเงินนี้เมื่อทํา<br />

ปฏิกิริยากับแบคทีเรีย จะขัดขวางการแบงตัวของดีเอ็นเอของเซลลแบคทีเรียและทํา<br />

ใหแบคทีเรียตายลง อีกวิธีหนึ่งคือเคลือบดวยซิงคออกไซดหรือไททาเนียมไดออกไซด<br />

ซึ่งมีความสามารถอีกอยางหนึ่งคือฆาเชื้อแบคทีเรียไดเมื่อมีแสงและกําจัดกลิ่นได<br />

ประการที่สี่ คือกันไฟฟาสถิตย โดยเพิ่มสารที่เพิ่มความชื้นกับเนื้อผาและสารที่มี<br />

สมบัตินําไฟฟา ประการที่หาคือ กันยับ ซึ่งหลายคนคงชอบเพราะจะไดไมตอง<br />

เสียเวลาในการรีดผา โดยเฉพาะผาฝายและผาไหม โดยมีการพัฒนาใชไททาเนียม<br />

ไดออกไซดในผาฝายและนาโนซิลิกาผสมมาเลอิกแอนไฮดรายด (maleic anhydride)<br />

ในผาไหมซึ่งสามารถปองกันการยับได<br />

เสื้อนาโนนี้ยังถูกพัฒนาใหใชไดกับขาราชการตํารวจจราจร โดยทําเปนชุด<br />

ตํารวจที่เคลือบเสนใยดวยนาโนซิลเวอร ที่สามารถปองกันกลิ่นอับชื้น สวมใสสบาย<br />

เคลื่อนไหวสะดวกและคงทนแข็งแรง ผลิตภัณฑ สิ่งทออื่นที่มีนักวิจัยคิดคนขึ้น คือ<br />

เสื้อกันฝนซึ่งสามารถกันน้ําและแหงไดตลอดเวลา โดยผลิตจากเสนใยโพลีเอสเตอร<br />

ที่เคลือบดวยเสนใยซิลิกอน (silicon) เล็ก ๆ เปนจํานวนนับลานเสน ที่มีขนาดระดับ<br />

นาโน (10 -9 m) ที่มีความสามารถในการชวยปองกันหยดน้ําจากภายนอกไมใหซึมผาน<br />

เขาไปในเสนใยผาได แมจะนําผืนผานี้ไปแชในน้ํานานถึง 2 เดือน เมื่อนําขึ้นมาจาก<br />

น้ําแลวผิวสัมผัสยังแหงสนิท นอกจากผลิตภัณฑสิ่งทอที่นาโนเทคโนโลยีเขาไป<br />

เกี่ยวของแลว วัสดุที่ใชในครัวเรือน เชน กระจกก็ยังมีการนําเอานาโนเทคโนโลยี<br />

ไปพัฒนาใหเปนกระจกทําความสะอาดตัวเอง (Self-cleaning glass)<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 139


กระจกทําความสะอาดตัวเอง เปนการนําคุณสมบัติของอนุภาคนาโนบางชนิด<br />

มาประยุกตทําใหไมตองใชสารเคมีในการทําความสะอาด นักวิทยาศาสตรไดคิดคน<br />

กระจกทําความสะอาดตัวเองโดยกระจกนี้ทําจากกระจกธรรมดา แตนํามาเคลือบผิว<br />

ดวยฟลมบาง 2 ชั้น ชั้นแรกเปนสารที่มีคารบอนอะตอมตอเปนสายโซยาว ปลายขาง<br />

หนึ่งยึดติดอยูกับผิวของกระจก สวนปลายอีกขางหนึ่งออกสูภายนอกเปนหมูที่จับกับ<br />

น้ําไดดี เมื่อมีน้ําเกาะที่ผิวชั้นนี้จะทําใหโมเลกุลของน้ํากระจายไปทั่วแผนกระจกและ<br />

ระเหยไปไดอยางรวดเร็ว ไมทิ้งคราบไวบนกระจก สวนฟลมชั้นที่สองเปนฟลมบาง<br />

ของสารไททาเนียมไดออกไซด ที่ชวยยอยสลายโมเลกุลของสิ่งสกปรกซึ่งเปน<br />

สารอินทรียที่เกาะบนผิวกระจกใหเปนโมเลกุลเล็กลงและหลุดออกไปจากผิวกระจก<br />

เมื่อโดนแสงยูวี และเมื่อโดนน้ําก็ถูกชะลางออกไปไดงายดาย เมื่อใชกระจกเหลานี้<br />

กับรถยนตจะชวยทําใ หมองเห็นการจราจรไดชัดเจนขณะฝนตก กระจก<br />

ทําความสะอาดตัวเอง สามารถนําไปใชประโยชนไดไมวาจะเปน หนาตางประตูของ<br />

อาคารบานเรือน สัญญาณไฟจราจร กระจกในหองน้ํา รถยนต จอคอมพิวเตอร<br />

รวมถึงเลนสกลองถายรูป และเลนสแวนตาอีกดวย<br />

นาโนเทคโนโลยียังถูกใชในการพัฒนาผลิตภัณฑอีกมากมายทั้งเครื่องสําอาง<br />

ผลิตภัณฑเทคโนโลยีทางการแพทยและยา อุตสาหกรรมเครื่องกลและคอมพิวเตอร<br />

ที่ลวนแลวแตมีประโยชนและเกี่ยวของอยูในชีวิตประจําวันของเราทุกคนและจะมี<br />

อิทธิพลตอการดํารงชีวิตตอไปของเราเปนอยางมาก อยางไรก็ตามสิ่งที่มีประโยชนก็<br />

อาจมีโทษตามมาได ไดมีการศึกษาถึงความปลอดภัยของการใชนาโนเทคโนโลยีและ<br />

พบตัวอยางงานวิจัยดานพิษวิทยาที่แสดงใหเห็นวาหากอนุภาคนาโนเขาสูรางกาย<br />

เชน จากการหายใจ การรับประทาน หรือผานทางผิวหนัง อนุภาคเหลานั้นกอใหเกิด<br />

ความเปนพิษตอสัตวทดลองได ดังนั้นเพื่อความปลอดภัยในการใชนาโนเทคโนโลยี<br />

การสรางมาตรฐานความปลอดภัยจึงควรดําเนินไปพรอม ๆ กับการวิจัยดานนาโน<br />

เทคโนโลยี เพื่อไมกอใหเกิดโทษตามมาในภายหลัง<br />

140<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


แหลงอางอิง<br />

http://www.nanotec.or.th/nanotec_th/index.php วันที่เขาถึงขอมูล 17 เมษายน <strong>2553</strong><br />

http://www.nano.kmitl.ac.th/index.php/interesting-nano วันที่เขาถึงขอมูล 17 เมษายน<br />

<strong>2553</strong><br />

http://www.chemtrack.org/News-Detail.asp?TID=5&ID=1 วันที่เขาถึงขอมูล 5 พฤษภาคม<br />

<strong>2553</strong><br />

เลมที่ <strong>33</strong> 141


วิทยาศาสตรของการทําสมาธิ<br />

อนุเทพ ภาสุระ<br />

การทําสมาธิเปนกิจกรรมหนึ่งที่พระสงฆและพุทธศาสนิกชนไดถือปฏิบัติ<br />

เพื่อเปนการฝกปฏิบัติตนใหมั่นคงอยูกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งทําใหบุคคลที่ทําสมาธินั้น<br />

พนจากกิเลสเปนชวงเวลาหนึ่ง ทั้งยังเปนการฝกจิตใจ ใหนิ่งไมออนไหวงายและ<br />

มั่นคงมากขึ้นเมื่อตองเผชิญปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้น ทานผูฟงทุกทานคงจะเคยไดยิน<br />

หรือมีประสบการณในเรื่องของการทําสมาธิไมมากก็นอย ไมวาจะเปนการทําสมาธิ<br />

ตามแบบของสํานักตางๆที่มุงการกําหนดลมหายใจเขา-ออก การเพงนิมิตรหรือ<br />

การเพงดวงแกว เปนตน วันนี้ผูเขียนจะขอกลาวถึงความเกี่ยวของของการทําสมาธิ<br />

กับวิทยาศาสตรในแงของกลไกในรางกายที่เกิดขึ้นในระหวางที่ทําสมาธิ<br />

การทําสมาธิทําใหรางกายมีสภาวะเหมือนกอนจะหลับ แตไมไดหลับ<br />

มีสติ รูตัวอยูเสมอ และทําใหจิตใจสดชื่นแจมใส การทําสมาธิยังชวยขจัดความ<br />

ขัดแยงในจิตใจในระหวางที่กําลังประสบปญหากับสิ่งเราภายนอก การทําสมาธิ<br />

ทําใหจิตใจอยูนิ่งทามกลางความสับสน เมื่อจิตอยูนิ่งแลวจะทําใหเขาใจสถานการณ<br />

และเรื่องราวตาง ๆ ไดดีขึ้น ยอมรับปญหาดวยความสงบและมีความสุขมากขึ้น สิ่งที่<br />

คนพบเหลานี้ทําใหกลุมแพทย มหาวิทยาลัยฮารวารดเขาใจถึงประโยชนของการทํา<br />

สมาธิที่มีการเผยแพรมาหลายพันปแลว ปจจุบันแพทยไดแนะนําใหคนไขนั่งสมาธิ<br />

เปนประจําและสม่ําเสมอมากขึ้น เพราะการทดลองทางวิทยาศาสตรจากการสแกน<br />

คลื่นสมองพบวา สมองจะมีระบบ ปดกั้นเรื่องราวตาง ๆ ไมใหเขามาและไมสงเรื่อง<br />

142<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


เขาไปยอยในสวนลึกของเนื้อสมองอยางเคย แตทําใหระบบสมองสวนควบคุมดาน<br />

อารมณและความจําดีขึ้น ทําใหอัตราการเตนของหัวใจและการเผาผลาญในรางกาย<br />

เปนปรกติ สมาธิชวยทําใหรางกายสรางภูมิคุมกันโรคไดมากขึ้น สามารถชวยรักษา<br />

โรคเรื้อรังไดดีขึ้น เชน โรคหัวใจ เอดส มะเร็ง ความดันโลหิตสูง โรคใจสั่น คนไขโรคมะเร็ง<br />

เอดส เปนตน สิ่งที่สําคัญอีกประการหนึ่งของการทําสมาธิ คือ ทําใหผูปฏิบัติมีความสุข<br />

ในชีวิตมากขึ้น<br />

จากการศึกษาของนักวิทยาศาสตรพบวาความสุขที่เกิดจากการทําสมาธิ<br />

จะทําใหรางกายอยูในสภาวะที่สุขสบาย (Pleasure experience) อันเนื่องมาจาก<br />

การกระตุนใหสมองเกิดการหลั่งสารเอ็นโดฟนส (Endophines) ขึ้นมา สารเอ็นโดฟนสนี้<br />

เปนสารเคมีจําพวกเดียวกับฝน (opioid) ซึ่งผลิตขึ้นภายในรางกายโดยธรรมชาติซึ่ง<br />

ไมกอผลเสียตอรางกายโดยหลั่งออกมาจากสมองสวนไฮโปธารามัส (Hypothalamus)<br />

และตอมใตสมอง (Pituitary gland) สารเอ็นโดฟนสเปนสารเคมีธรรมชาติที่มีมีฤทธิ์<br />

บรรเทาอาการปวด (Analgesia) และทําใหรูสึกสุขสบาย (Sense of well-being)<br />

หรืออีกนัยหนึ่งคือ สารเอ็นโดฟนสเปนสารธรรมชาติที่ทําใหรูสึกสุขสบาย นั่นเอง สาร<br />

ความสุขหรือสารเอ็นโดฟนสที่หลั่งออกมานี้จะไปจับกับตัวรับ (receptor) ชนิดหนึ่ง<br />

ในสมอง ทําใหเกิดการหลั่งของสารสื่อประสาทที่ชื่อโดปามีน(Dopamine) กอใหเกิด<br />

ผลดีตอรางกายตางๆ เชน บรรเทาความเจ็บปวด เกี่ยวของกับระบบความสมดุลของ<br />

รางกาย ความหิว การนอนหลับ ระบบไหลเวียนโลหิต ระบบหายใจ ระบบควบคุม<br />

อุณหภูมิของรางกาย นอกจากนี้ยังมีผลตอการสงเสริมการทํางานของระบบภูมิคุมกัน<br />

ของรางกาย (Immune system) โดยมีการศึกษาและรายงานถึงผลของการทําสมาธิ<br />

วา การทําสมาธิทําใหเกิดการหลั่งสารเอ็นโดฟนสในสมองมากขึ้น ซึ่งมีผลตอการกด<br />

การทํางานของฮอรโมนความเครียด (Stress hormone) หรือกดการทํางานของ<br />

ฮอรโมนที่หลั่งเมื่อรางกายเผชิญกับสภาวะที่เครียด เชน ฮอรโมนอะดรีนาลีน<br />

(Adrenaline) มีผลทําใหเนื้อเยื่อตาง ๆ ผอนคลาย ทําใหอาการปวดบรรเทาลด<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 143


นอยลง และมีผลทําใหหลอดเลือดขยายตัวไดดี เปนผลทําใหเม็ดเลือดขาวเดิน<br />

ทางเขาไปฆาเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอมไดดีขึ้นโอกาสเจ็บปวยก็จะลดลง โดยสรุป<br />

คือ สงผลทําใหสุขภาพแข็งแรงนั่นเอง ดังนั้นการที่มีกิจกรรมใดก็ตามที่ทําใหเรารูสึก<br />

เปนสุข มีการหลั่งสารเอ็นเอ็นโดฟนสยอมมีสวนเสริมความแข็งแรงใหกับรางกาย<br />

ไดเสมอ<br />

เนื่องจากรางกายกับจิตใจมีความเชื่อมประสานกันอยางแยกไมได<br />

บางครั้งเวลาไมสบายกาย จิตใจก็มักหงุดหงิดหรือหดหูไปดวย หรือเวลาที่ไมสบาย<br />

ใจ รางกายก็พลอยเบื่ออาหาร นอนไมหลับ ดังนั้นเวลาที่คนเราไมสบาย นอกจาก<br />

การรับประทานยาตามแพทยสั่งแลว การประกอบกิจกรรมอื่นใหอยูในสภาวะที่มี<br />

ความสบายกายและสบายใจ หรือมีความสุขใจก็มีผลดีตออาการเจ็บปวยทาง<br />

รางกาย ดังนั้น การทําสมาธิจึงเปนอีกวิธีหนึ่งที่นอกจากจะทําใหผูเขารวมกิจกรรมมี<br />

ความรูสึกเปนสุขใจจากการไดทําจิตใจใหผองใสแลว ยังเปนการทําใหสุขกายที่เกิด<br />

จากการสรางเสริมรางกายใหมีสุขภาพดี อันเนื่องมาจากมีการหลั่งสารเอ็นโดฟนส<br />

ซึ่งจะทําใหรูสึกอบอุนใจ สบายใจขึ้นไดทันที<br />

แหลงอางอิง<br />

Debiec, J. 2007. From affiliative behaviors to romantic feelings: A role of nanopeptides.<br />

FEBS Letters. 581 (14): 2580-2586.<br />

Loving T.J, Heffner K.L, and Kiecolt-Glaser J.K. 2004. Stress hormone changes<br />

and marital conflict: Spouses' relative power makes a difference. Journal<br />

of Marriage and the Family. 66 (3): 595-612.<br />

144<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


อาหารและการปวดประจําเดือน<br />

สุบัณฑิต นิ่มรัตน<br />

สวัสดีคะทานผูฟง ในวันนี้เราก็กลับมาพบกันอีกครั้งพรอมกับเรื่องราวที่<br />

นาสนใจอีกเชนเคย สําหรับวันนี้เรื่องนารูที่ดิฉันนํามาฝากเปนเรื่องราวใกลตัวและ<br />

เปนปญหาที่พบไดบอยในผูหญิงสวนใหญ นั่นก็คือปญหาปวดประจําเดือน ในวันนี้<br />

ดิฉันจึงนําวิธีปองกันและวิธีการแกปญหาการปวดประจําเดือนโดยไมตองทานยามา<br />

เลาใหฟงคะ<br />

ผูหญิงโดยสวนใหญมักจะมีอาการบางอยางแสดงออกเมื่อใกลจะมี<br />

ประจําเดือน ซึ่งในผูหญิงแตละคนหรือในแตละเดือนอาการตาง ๆ ที่เกิดขึ้นอาจ<br />

แตกตางกันไป เชน บางรายอาจรูสึกหงุดหงิด หิวบอย หรือมีอาการเจ็บหลัง เปนตน<br />

อาการตาง ๆ เหลานี้ เรียกวา พีเอ็มเอส (PMS) ยอมาจาก Premenstrual syndrome เปน<br />

อาการของผูหญิงกอนจะมีประจําเดือน อาการที่พบบอย ๆ ไดแกอาการปวดหัว<br />

หงุดหงิด อารมณแปรปรวน อารมณที่มีความสุขอาจจะแปรเปลี่ยนเปนเศรากลับไป<br />

กลับมาไดในเวลาไมกี่นาที บวมน้ํา เจ็บคัดเตานม รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงทางดาน<br />

อาหารการกิน โดยผูหญิงที่มีอาการพีเอ็มเอสมักมีนิสัยการบริโภคที่ผิด ๆ เชน ชอบ<br />

กินอาหารหวาน ๆ และกินแปงมาก มีผลทําใหไดรับวิตามินและแรธาตุนอยลง เชน<br />

ธาตุเหล็ก แมงกานีสและสังกะสี ซึ่งเปนแรธาตุที่เปนประโยชน ซึ่งการเสริมวิตามิน<br />

แรธาตุรวมวันละเม็ดอาจชวยลดอาการพีเอ็มเอสในหญิงเหลานั้นได และหากรูจัก<br />

เอาใจใสในการบริโภคและเลือกรับประทานอาหารใหไดโภชนาการ โดยเฉพาะ<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 145


ในชวงที่เปนประจําเดือนก็จะชวยลดอาการเหลานี้ได ซึ่งดิฉันมีวิธีการบริโภคเพื่อ<br />

ปองกันหรือลดอาการพีเอ็มเอส คือ<br />

1. รับประทานอาหารใหครบทั้ง 3 มื้อ ไมควรงดอาหารมื้อใดมื้อหนึ่ง<br />

นอกจากนี้อาจรับประทานอาหารวางปริมาณนอย ๆ ในระหวางมื้อได และอาหารนั้น<br />

ควรมีสวนผสมของโปรตีนและคารโบไฮเดรต<br />

2. หลีกเลี่ยงอาหารประเภทน้ําตาลและของหวาน เนื่องจากในชวงที่มี<br />

อาการพีเอ็มเอสจะมีการแกวงของระดับน้ําตาลและฮอรโมนอินซูลินเลือดในชวงที่มี<br />

ประจําเดือนทําใหรูสึกอยากรับประทานอาหารที่มีรสหวาน ดังนั้นผูหญิงที่มีอาการ<br />

พีเอ็มเอสควรเลือกอาหารคารโบโฮเดรตเชิงซอนซึ่งยอยชากวา เชน ขาวซอมมือ<br />

ขนมปงโฮลวีท เผือก มัน ฟกทอง ขาวโพดหรือแครกเกอร จะชวยลดอาการอยากของ<br />

หวานและทําใหอารมณดีขึ้น<br />

3. หลีกเลี่ยงกรดไขมันอิ่มตัวสูง ซึ่งมีมากในเนื้อสัตวบก กะทิ กรดไขมัน<br />

ชนิดนี้มีผลในการเพิ่มระดับฮอรโมนเอสโตรเจนในเลือดและกระตุนใหเกิดอาการ<br />

พีเอ็มเอส กอนมีประจําเดือนควรรับประทานอาหารที่มีกรดไขมันอิ่มตัวต่ําและ<br />

อาหารที่มีกากใยสูง เชน ปลา ถั่ว ธัญพืชไมขัดสี ผัก ผลไม ก็จะชวยลดอาการพีเอ็ม<br />

เอสได<br />

4. เลือกกรดไขมันไลโนเลอิก ซึ่งเปนกรดไขมันจําเปน ชวยปรับระดับสาร<br />

คลายฮอรโมนที่ชื่อวาพรอสตาแกลนดิน จะชวยลดอาการบวมน้ํา คัดหนาอก กรด<br />

ไขมันชนิดนี้มีมากในน้ํามันถั่วเหลือง น้ํามันดอกคําฝอย เปนตน ควรระวังอยาใช<br />

มากเกินไป จะทําใหเพิ่มน้ําหนักตัวได<br />

5. หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มกาเฟอีน เนื่องจากสารกาเฟอีนจะกระตุนใหเกิด<br />

อาการหงุดหงิด ฉุนเฉียว โกรธงาย กระวนกระวายใจ ผูหญิงที่มีปญหาพีเอ็มเอสชวง<br />

กอนมีประจําเดือนจึงควรหันมาดื่มชาสมุนไพรที่ไมมีกาเฟอีนแทนกาแฟ ชา อารมณ<br />

ที่ขึ้น ๆ ลง ๆ จะสงบได<br />

146<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


6. หลีกเลี่ยงอาหารรสเค็มจัด อาหารหมักดอง หรืออาหารที่มีโซเดียมสูง<br />

อาหารเหลานี้มีเกลือหรือโซเดียมสูง จะทําใหรางกายเก็บน้ําไวมากขึ้นและทําใหบวม<br />

น้ําได<br />

7. รับประทานอาหารใหครบทุกหมวดหมูและหลากหลาย เพื่อใหรางกาย<br />

ไดรับสารอาหารครบถวนรวมกับการออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอ<br />

เพียงแคนี้ปญหาการปวดประจําเดือนก็จะเปนแคอดีตสําหรับคุณผูหญิง<br />

และยังทําใหผูฟงที่ไมชอบทานยาตองทรมานกับการทานยาแกปวดอีกดวยนะคะ<br />

หวังวาขอมูลในวันนี้จะเปนประโยชนอยางมากตอเพื่อนผูหญิงดวยกันนะคะ แลวพบ<br />

กันใหมพรอมเรื่องราวสาระดี ๆ ที่ดิฉันจะนํามาฝากทานผูฟงในโอกาสตอไป<br />

แหลงอางอิง<br />

อาหารบําบัดโรคกับ AIA. บริษัท AIA.<br />

ลิฟวิ่ง อิน เชป. 4 วิธีลดอาการปวดประจําเดือน. เขาถึงไดจาก http://www.livinginshape.<br />

net/Article/4%20 menes.html วันที่ 4 พฤษภาคม <strong>2553</strong>.<br />

กินตานปวดประจําเดือน. เขาถึงไดจาก http://www.bloggang.com/viewblog.<br />

php?id=sriphat&date=26-09-2005&group=8&gblog= วันที่ 8 วันที่ 4<br />

พฤษภาคม <strong>2553</strong>.<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 147


ควันที่เกิดขึ้นจากการเผายางรถยนต :<br />

อันตรายที่ทานมองเห็น<br />

อนุเทพ ภาสุระ<br />

ทานผูฟงคงจะเคยเห็นควันไฟที่เกิดจากการเผาไหมวัสดุตาง ๆ ไมวาจะ<br />

เปนการเผาฟางขาวชวงหลังฤดูเพาะปลูก การเผาเศษหญาเศษใบไม การเผากอง<br />

ขยะ เปนตน วันนี้ผูเขียนอยากจะขอกลาวถึงปญหาที่เกิดจากการเผาไหมวัสดุ<br />

ประเภทยางรถยนต ซึ่งเปนวัสดุเชื้อเพลิงที่เปนสิ่งเหลือใชจากการใชรถยนต การเผา<br />

ไหมยางรถยนตกอใหเกิดผลกระทบในเรื่องภาวะมลพิษทางอากาศอยางเห็นไดชัด<br />

เพราะการเผาไหมของยางรถยนตจะใชเวลาในการเผานานกวาวัสดุอยางอื่น<br />

หลายเทาตัว อีกทั้งเขมาควันจากยางรถยนตจะมองเห็นไดชัดวาเปนกลุมควันสีดํา<br />

ลอยไปตามอากาศและสงผลเสียตอสุขภาพของมนุษยเปนอยางมาก<br />

ควันสีดําที่เกิดจากการเผาไหมยางรถยนตนี้ถือวาเปนสารอันตราย<br />

เนื่องจากยางรถยนตเปนวัสดุประเภทไฮโดรคารบอน ที่ผลิตขึ้นมาจากผลพลอยได<br />

จากกระบวนการกลั่นน้ํามันปโตรเลียม ซึ่งแฝงตัวอยูในรูปของยางที่เปนวัตถุดิบ<br />

สารเคมีในยางรถยนตจึงมีองคประกอบเปนสารประเภทเดียวกับสารประกอบใน<br />

น้ํามันเชื้อเพลิงซึ่งมีอยูมากถึงรอยละ 50-60 จึงถือเปนแหลงพลังงานแหลงใหญเลย<br />

ทีเดียว นักวิชาการดานปโตรเคมีเคยประเมินไววาการเผายางรถยนต 1 เสน จะให<br />

ความรอนออกมามากกวาการเผาน้ํามันทั่วไปที่มีน้ําหนักเทากันถึง 1.25 เทา สามารถ<br />

อธิบายอยางงาย ๆ คือ น้ํามันจุดติดไฟไดงายกวา แตปลดปลอยพลังงานความรอน<br />

148<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


ออกมานอยกวา แตน้ํามันลุกลามไดไวกวา เนื่องจากน้ํามันมีความหนาแนนนอย<br />

กวา จึงทําใหไฟไหมอยางรวดเร็วกวาแตดับไดงายกวา ในขณะที่ยางรถยนตมีเนื้อ<br />

ยางที่มีความหนาแนนมากกวาน้ํามัน จึงติดไฟยากกวา แตเมื่อยางรถยนตจุดติดไฟ<br />

แลว จะใหพลังงานความรอนสูงมากกวา และดับไดยากกวา จึงทําใหการเผายางรถยนต<br />

มีอํานาจและเวลาในการทําลายลางมากกวา<br />

ในยางรถยนตนั้น นอกจากมีสวนประกอบสําคัญที่เปนยางสังเคราะหและ<br />

ยางธรรมชาติแลว ยังมีผงถานคารบอน(carbon black) น้ํามัน (Extender oil) ลวด<br />

และสารเคมีอื่น ๆ เชน ซิงค ออกไซด (Zinc Oxide: ZnO) และ ซัลเฟอร (Sulfur : S)<br />

เปนองคประกอบอีกดวย ดังนั้น เมื่อยางรถยนตเกิดการเผาไหมจึงไมไดปลอยเพียง<br />

แคเขมาควัน ฝุนละออง กาซคารบอนไดออกไซด กาซคารบอนมอนอกไซด แตยัง<br />

ปลอยสารพิษอีกมากมาย เชน กาซที่มีกํามะถันเปนองคประกอบ กาซไฮโดรเจนซัลไฟด<br />

(H 2 S) ที่มีกลิ่นเหม็นรุนแรง อีกทั้งกาซชนิดนี้ยังมีภาวะเปนกรด เมื่อสูดหายใจเขา<br />

รางกายอาจกอใหเกิดการกัดกรอนเนื้อเยื่อที่บริเวณทางเดินหายใจได นอกจากนี้<br />

ยางสังเคราะหที่ใชในการผลิตยางรถยนต สวนใหญจะเปนยางชนิดสไตรีนบิวทาไดอีน<br />

(Styrene-Butadiene Rubber : SBR) เมื่อเผาไหมจะเกิดกาซพิษสไตรีนออกไซด ซึ่ง<br />

นอกจากจะเปนสารกอมะเร็งแลว ยังเปนอันตรายตอระบบทางเดินหายใจ และระบบ<br />

ทางเดินอาหารอีกดวยจึงนับวาเปนอันตรายมาก<br />

ทานผูฟงจะเห็นไดวาการสูดดมควันสีดําเขาไปจะทําใหเกิดผลกระทบตอ<br />

ระบบทางเดินหายใจเปนอยางมาก โดยเฉพาะการสงผลใหผูที่หายใจเขาไปมีอาการ<br />

หายใจขัดและอึดอัดซึ่งถือวาเปนอันตรายตอสุขภาพของผูที่หายใจเขาไปอยางมาก<br />

เนื่องจากเมื่อหายใจเอาควันสีดําจากการเผาไหมยางรถยนต ซึ่งมีกาซคารบอน<br />

มอนอกไซด (Carbon monoxide : CO) เปนองคประกอบหลัก กาซดังกลาวจะเขาไปรวมตัว<br />

กับฮีโมโกลบิน (Haemoglobin) ในเม็ดเลือดแดงไดมากกวาออกซิเจนถึง 200-250 เทา<br />

เกิดเปนคารบอกซีฮีโมโกลบิน (Carboxyhaemoglobin : CoHb) ซึ่งลดความสามารถ<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 149


ของเลือดในการเปนตัวนําออกซิเจนจากปอดไปยังเนื้อเยื่อตาง ๆ ของรางกาย หรือ<br />

ทําใหเกิดภาวะออกซิเจนในเลือดนอยลง ดังนั้น หากทานผูฟงอยูบริเวณใกลเคียงกับ<br />

บริเวณที่มีการเผายางรถยนตจึงควรหลีกเลี่ยงการสูดดมเขมาควันดังกลาวเขาสู<br />

รางกาย โดยไมควรอยูใตลมและหาทางปองกันตัวเองจากควันพิษนี้ โดยหากทาน<br />

ผูฟงอยูในจุดที่เกิดเพลิงไหม ทานผูฟงอาจจะมีสวนชวยในการดับไฟจากการเผายาง<br />

ได วิธีการที่แนะนํา คือ ใหใชทอเหล็กเขี่ยยางรถยนตที่สุมกันอยูหลายวงออกมา<br />

ทีละเสน วางยางแตละเสนใหอยูในลักษณะแนวราบ จากนั้นใชน้ําดับโดยราดน้ําไป<br />

รอบ ๆ ยางเพียงไมกี่ขันก็สามารถดับไฟได หรือใชโฟมฉีดไปรอบ ๆ ยางรถยนตก็<br />

สามารถดับไฟไดเชนกัน<br />

แหลงอางอิง<br />

นุชจรี ทาวไทยชนะ และ ยรรยง ศรีสม. 2548. ยางรถยนตกับสิ่งแวดลอม. เทคนิค<br />

เครื่องกล ไฟฟา อุตสาหการ. 21(245): 165-175. /<br />

Kim, J.M. and Lee, H.J. 2008. Hazards Exposed to Firefighters in Fire - Physical,<br />

Chemical, and Biologic factors. Journal of the Korean Medical<br />

Association. 51(12): 1072-1077.<br />

150<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


น้ํามันรั่ว...เคราะหรายลงทะเล<br />

สวามินี ธีระวุฒิ<br />

เหตุระเบิดที่แทนขุดเจาะน้ํามันของบริษัทบริติช ปโตรเลียม หรือ บีพี ซึ่ง<br />

เปนตนเหตุที่ทําใหน้ํามันรั่วไหลออกมาเปนจํานวนมากในอาวเม็กซิโกตั้งแตเมื่อวันที่<br />

20 เม.ย.ที่ผานมา นับเปนหายนะตอระบบนิเวศทางทะเลบริเวณอาวเม็กซิโกของ<br />

สหรัฐ รวมถึงอุตสาหกรรมประมงในพื้นที่เปนอยางมาก ปริมาณน้ํามันที่รั่วไหล<br />

ออกมาที่มากถึง 24- 47 ลานแกลลอนนั้นสงผลกระทบตอสภาพแวดลอมและสัตวที่<br />

อาศัยอยูในทะเลอยางรุนแรง ภาพรางไรวิญญาณของนกที่ถูกคราบน้ํามันดิบปก<br />

คลุมขน เชนเดียวกับรางของโลมาที่พบบนชายหาดนั้น เปรียบเสมือนฝนราย วิกฤติ<br />

น้ํามันรั่วนี้ยังสรางความเสียหายเปนวงกวางตออุตสาหกรรมอาหารทะเลอีกดวย<br />

เพราะคราบน้ําจะทําใหสัตวน้ําที่โตเต็มวัยตาย เนื่องจากระดับความเปนพิษในน้ํามี<br />

สูง เปนพิษตอรางกายโดยไหลเขาทางปาก น้ํามันสามารถปนเปอนเหงือกปลา ซึ่ง<br />

นําไปสูการขาดอากาศหายใจ มลพิษที่กนทะเลทําลายแหลงวางไขของสัตวน้ํา และ<br />

แมวาบางพื้นที่จะมีความเขมขนของพิษในระดับต่ํา แตการที่ในนานน้ํามีทั้งน้ํามัน<br />

และสารขจัดคราบน้ํามันในปริมาณมากและยังผสมผสานเขาดวยกันอีกนั้น เรียกได<br />

วาเปนสิ่งแวดลอมที่ไมพึงประสงคเปนอยางยิ่งสําหรับสิ่งมีชีวิตชีวิตในโลกใตทะเล<br />

ไมวาจะเปนพืชหรือสัตวก็ตาม<br />

ซึ่งสาเหตุในการเกิดน้ํามันรั่วนั้นใชวาจะเกิดจากมนุษย เชน จากการขุดเจาะ<br />

น้ํามันหรือจากอุบัติเหตุในทะเลเพียงสาเหตุเดียว แตยังสามารถเกิดไดจากธรรมชาติ<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 151


เชน การรั่วจากแหลงน้ํามันใตดินไดอีกดวย การเกิดน้ํามันรั่วในแตละครั้งจะมี<br />

ลักษณะแตกตางกันไปขึ้นอยูกับปจจัยหลายประการ ไมวาจะเปนแหลงที่เกิด สภาพ<br />

ภูมิประเทศ ระยะหางจากฝง สภาพแวดลอมบริเวณนั้น ระดับความลึกของน้ํา ภาวะ<br />

คลื่นลม น้ําขึ้นน้ําลง ความเร็วและทิศทางลม อุณหภูมิ ปริมาณและชนิดของน้ํามันที่<br />

รั่ว ระยะเวลาที่รั่ว ปริมาณวัตถุที่ลอยน้ําบริเวณนั้น เชน เชือก ขยะหรือสาหราย แต<br />

ไมวาน้ํามันรั่วนั้นจะเกิดจากสาเหตุใดก็ตาม เปนสิ่งที่เราไมตองการ แตหากเกิดขึ้น<br />

แลว วิธีจัดการกับคราบน้ํามันเหลานี้นั้น สามารถทําได 3 วิธีดวยกัน คือ วิธีที่ 1ใชทุน<br />

กางลอมน้ํามันไมใหกระจายตัวออกไป แลวใชเครื่องดูดดูดน้ํามันขึ้นมา นับเปน<br />

วิธีการที่ดีที่สุด เนื่องจากไมสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม แตก็มีขอจํากัดเพราะหาก<br />

คลื่นลมแรงจะทําใหการวางทุนกักน้ํามันและการติดตั้งเครื่องดูดนน้ํามันเปนไปดวย<br />

ความยากลําบาก วิธีที่ 2 การเติมสารเคมีที่เรียกวา ดิสเพอรแซน (Dispersant) เพื่อ<br />

ทําใหน้ํามันไมจับตัว แตเกิดการกระจายออกเปนอนุภาคขนาดเล็ก ซึ่งโดยปกติเมื่อ<br />

น้ํามันรั่วไหลลงสูทะเล จะสามารถถูกยอยสลายไดดวยกระบวนการทางธรรมชาติอยู<br />

แลว แตตองใชเวลานาน ดังนั้น วิธีการนี้จึงเปนการเรงใหเกิดการยอยสลายทาง<br />

ธรรมชาติในเวลาสั้นลง อยางไรก็ตามขอจํากัดของวิธีนี้คือ ประสิทธิภาพการกําจัด<br />

น้ํามันจะดีหากเปนน้ํามันที่เพิ่งจะรั่วลงไปในทะเล เพราะหากเกิดการรั่วมานานแลว<br />

สารเคมีจะไมสามารถทําใหน้ํามันกระจายตัวไดมากนักเนื่องจากน้ํามันจะเหลือ<br />

เฉพาะสวนประกอบที่หนัก ขณะที่สวนประกอบที่เบาจําพวกสารประกอบอินทรีย<br />

ระเหยงายตาง ๆ เชน เบนซิน โทลูอีน เอธิลเบนซีน และไซลีน ซึ่งกอใหเกิดการระคาย<br />

เคืองชั่วคราวบริเวณตา จมูก คอและผิวหนังไดนั้น จะระเหยไปกอนหนานี้แลว อีกทั้ง<br />

ยังตองคํานึงถึงดวยวา การไหลเวียนของน้ําทะเลบริเวณนั้นมีมากนอยเพียงใด หาก<br />

การไหลเวียนของน้ํามีนอย อาจสงผลกระทบตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอมได<br />

นอกจากนี้ การหายใจรับไอของสารหรือการสัมผัสบิวท็อกซีเอทานอลที่มีในสารเคมี<br />

กําจัดน้ํามันมากเกินไป อาจสงผลตอระบบประสาทสวนกลาง เกิดอาการคลื่นไส<br />

152<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


อาเจียน เกิดอาการชาและทําใหหมดสติได และในระยะยาวอาจสงผลตอเซลล<br />

เม็ดเลือดแดง ไต หรือตับไดเชนกัน อีกทั้งการเลือกใชสารเคมีในการกําจัดคราบ<br />

น้ํามันนี้ตองใชกอนที่คราบน้ํามันจะเคลื่อนตัวเขาสูบริเวณปาชายเลน หรือแนวปะการัง<br />

วิธีที่ 3 คือการเผา วิธีนี้มักใชในกรณีที่น้ํามันรั่วไหลกลางทะเลเทานั้น เพราะหากใกล<br />

ชายฝงควันจากการเผาน้ํามันจะรบกวนผูคน อีกทั้งหากชั้นน้ํามัน ไมหนาพอ โอกาส<br />

ที่น้ํามันจะติดไฟก็มีนอยตามไปดวย นอกจากนี้การปองกันพื้นที่บริเวณชายฝงจาก<br />

คราบน้ํามันสามารถทําไดโดยการสรางสันทราย เพื่อกั้นคราบน้ํามันอยางไรก็ตาม<br />

ความสําเร็จในการจัดการกับน้ํามันรั่วนั้น ขึ้นอยูกับเครื่องมือที่เหมาะสมและเพียงพอ<br />

รวมถึงกําลังคนและความชํานาญของผูปฏิบัติการ การจัดลําดับความสําคัญ<br />

การสื่อสาร การมีขอมูลที่ครบสมบูรณ การสํารวจพื้นที่ การสั่งการที่มีประสิทธิภาพ<br />

และการวางแผนที่ดี เพราะหากปลอยใหน้ํามันรั่วโดยไมมีการจัดการใด ๆ ไม<br />

เพียงแตสิ่งแวดลอมหรือสัตวเทานั้นที่ไดรับผลกระทบ แตมนุษยก็หนีไมพนชะตา<br />

กรรมเชนกัน<br />

แหลงอางอิง<br />

กรมควบคุมและปองกันโรคของสหรัฐอเมริกา. <strong>2553</strong>. กลิ่นฉุนจากสถานการณน้ํามัน<br />

รั่วของบริษัท BP. เขาถึงไดจากhttp://www.deepwaterhorizonresponse.com/<br />

posted/2 9 3 1 / FMDW2 0 3 _1 0 _toCR_Odors_Compaints_Fact_Sheet_6 6 3<br />

315_Thai. 687831.pdf, วันที่ 18 มิถุนายน <strong>2553</strong>.<br />

ขาวตางประเทศ หนังสือพิมพไทยรัฐ. <strong>2553</strong>. ไทยรัฐออนไลน. เขาถึงไดจาก http://www.<br />

thairath.co.th/content/oversea/91393, วันที่ 23 มิถุนายน <strong>2553</strong>.<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 153


ขาวตางประเทศ สํานักขาวอินโฟเควสท. <strong>2553</strong>. วังวนแหงวิกฤตน้ํามันรั่วไหลในอาว<br />

เม็กซิโก. เขาถึงไดจาก http://www.ryt9.com/s/iq03/916831, วันที่ 18 มิถุนายน<br />

<strong>2553</strong>.<br />

154<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


กลีส 581 ซี (Gliese 581 C) :<br />

ดาวเคราะหที่มีลักษณะคลายโลก<br />

อนุเทพ ภาสุระ<br />

เมื่อไมนานมานี้นักดาราศาสตรไดรายงานวาไดคนพบดาวเคราะหนอก<br />

ระบบสุริยะจักรวาลที่มีลักษณะเหมือนโลกเปนครั้งแรก ดาวเคราะหที่ถูกคนพบนี้มี<br />

ความนาสนใจ คือ มีอุณหภูมิที่ระดับพื้นผิวไมสูงหรือต่ําจนเกินไปเหมือนดาวเคราะห<br />

อื่น ๆ ที่ถูกคนพบมากอนหนานี้ อุณหภูมิของดาวเคราะหดวงนี้อยูที่ประมาณ 0 ถึง<br />

40 องศาเซลเซียส ซึ่งเปนอุณหภูมิที่น้ําจะอยูในรูปของของเหลว และนั่นก็หมายถึง<br />

อาจจะมีสิ่งมีชีวิตสามารถที่จะอาศัยอยูได เพราะน้ําเปนสิ่งจําเปนในการอยูรอดของ<br />

สิ่งมีชีวิต จากโครงสรางจําลองนักวิทยาศาตรคาดวาพื้นผิวของดาวเคราะหดวงนี้<br />

นาจะเปนหินเหมือนโลกเราหรือไมก็ปกคลุมไปดวยทะเล<br />

ดาวเคราะหนอกระบบสุริยะจักรวาลดวงนี้มีขนาดเล็กที่สุดเทาที่เคยพบนี้<br />

ไดรับการตั้งชื่อวา กลีส 581 ซี (Gliese 581 C) มีรัศมีประมาณ 1.5 เทาของโลก มีมวลสาร<br />

มากกวาโลก 5 เทาและโคจรรอบดาวฤกษที่ชื่อ กลีส 581 (Gliese 581) ซึ่งเปรียบได<br />

กับดวงอาทิตยของระบบสุริยะจักรวาลเรา โดยดาวเคราะหกลีส 581 ซี ใชระยะเวลา<br />

ในการโคจรเพียงรอบดาวฤกษกลีส 581 เพียงแค 13 วันเทานั้น ทั้งนี้เพราะวามันอยู<br />

ใกลกับดาวฤกษกลีส 581 มาก เมื่อเปรียบเทียบระยะทางระหวางโลกกับดวงอาทิตย<br />

แลว ดาวเคราะหดวงนี้อยูใกลดาวฤกษกลีส 581 มากกวาถึง 14 เทา แตเนื่องจาก<br />

ดาวฤกษกลีส 581 มีขนาดเล็กกวา และอุณหภูมิต่ํากวาดวงอาทิตยของเรามาก<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 155


อุณหภูมิของดาวเคราะหกลีส 581 ซีจึงไมรอนจนเกินไป และตําแหนงที่อยูนั้นมี<br />

อุณหภูมิที่เหมาะสมที่อาจจะมีสิ่งมีชีวิตจะอาศัยอยูได<br />

ในการตรวจสอบหาดาวเคราะหที่อยูระยะไกลมาก ๆ นั้นนักดาราศาสตร<br />

ตองใชวิธีตรวจสอบทางออม โดยใชเครื่องมือที่มีความไวตอแสงสูง ที่สามารถวัดการ<br />

เปลี่ยนแปลงของอัตราความเร็วในการเคลื่อนที่ของดาวฤกษในขณะที่ถูกแรงดึงดูด<br />

จากดาวเคราะหที่อยูใกลเคียง ทั้งนี้เนื่องจากนักดาราศาสตรไมสามารถมองเห็นดาว<br />

เคราะหโดยตรงได เพราะแสงของดาวฤกษที่มันโคจรอยูสวางจามาก เทคโนโลยีของ<br />

กลองดูดาวปจจุบันยังไมสามารถจับภาพวัตถุที่อยูไกล ๆ และจางมาก ๆ ได<br />

โดยเฉพาะเมื่อวัตถุโคจรใกลกับดาวฤกษที่มีแสงสวางจา จากการศึกษาของกลุม<br />

นักดาราศาสตร พบวา ดาวฤกษกลีส 581 อยูหางจากโลกเรา 20.5 ปแสง อยูในกลุม<br />

ดาวคันชั่ง (Constellation Libra) ถูกคนพบโดยใชกลองดูดาวที่หอดูดาว European<br />

Southern Observatory ที่เมือง La Silla ในประเทศชิลี จากการสํารวจพบวาดาวฤกษ<br />

กลีส 581 มีดาวเคราะหโคจรรอบๆอยูสามดวง เริ่มจากดาวเคราะหที่มีขนาดใหญ<br />

กวาโลกเรา 15 เทาโคจรอยูรอบในสุด ถัดมาเปนดาวเคราะหกลีส 581 ซี ที่กลาวถึง<br />

และถัดมาเปนดาวเคราะหที่มีขนาดใหญกวาโลกเรา 8 เทาโคจรอยูรอบนอก<br />

การคนพบครั้งนี้สรางความตื่นเตนในวงการดาราศาสตรเปนอยางมากมาก<br />

เพราะในบรรดาดาวเคราะหนอกระบบสุริยะจักวาลที่คนพบตอนนี้ประมาณ 200<br />

กวาดวง สวนใหญจะมีลักษณะเหมือนดาวจูปเตอร คือ เปนดวงดาวที่มีลักษณะเปน<br />

กลุมกาซที่มีอุณหภูมิรอนมาก ๆ เพราะมีวงโคจรอยูใกลดาวฤกษที่รอนมาก มีดาว<br />

เคราะหนอกระบบสุริยะจักรวาลดวงนี้เปนดวงแรกที่มีบรรยากาศเหมาะสมตอ<br />

สิ่งมีชีวิต จึงจุดประกายความหวังใหกับนักดาราศาสตรที่จะใชจะดาวเคราะหดวงนี้<br />

เปนเปาหมายของโครงการทางอวกาศในอนาคตเพื่อสํารวจหาสิ่งมีชีวิตนอกโลก<br />

อยางไรก็ตามเนื่องจากดาวเคราะหดวงนี้อยูหางจากโลกเราถึง 20 ปแสง ดวย<br />

เทคโนโลยีที่มีอยูตอนนี้เรายังไมสามารถเดินทางไปสํารวจได แตเราสามารถตรวจสอบ<br />

156<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


คนหาขอมูลของมันทางกลองสองดูดาวได โครงการจะติดตั้งกลองสองดวงดาวใน<br />

อวกาศ เพื่อสังเกตการณตาง ๆ ที่อาจบงชี้หรือเชื่อมโยงถึงกระบวนการของสิ่งมีชีวิต<br />

บนดาวเคราะห โดยจะสังเกตหารองรอยของกาซ เชน กาซมีเทน (methane) และสิ่ง<br />

ที่บงชี้ถึงสารคลอโรฟลล (chlorophyll) สารสีเขียวในพืชที่ทําหนาที่ในการสังเคราะห<br />

แสง หลักฐานทางดานวิทยาศาสตรเหลานี้จะชวยไขคําตอบที่วาจะมีโลกใบที่สอง<br />

นอกระบบสุริยะจักรวาลหรือไม<br />

แหลงอางอิง<br />

One-minute world news. 2007. New 'super-Earth' found in space. วันที่คนขอมูล<br />

24 มิถุนายน <strong>2553</strong>, เขาถึงไดจาก http://news.bbc.co.uk/2/hi/science/<br />

nature/6589157.stm<br />

Selsis, F. et al. 2007. Habitable planets around the star Gliese 581. Astronomy<br />

& Astrophysics. 476 (3): 1373-1387.<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 157


จริงหรืออาหารนี้มีโซเดียมต่ํา<br />

อรสา สุริยาพันธ<br />

สวัสดีคะทานผูฟงทุกทาน การไดรับโซเดียมในปริมาณที่มากเกินไปอยาง<br />

ตอเนื่องอาจเปนสาเหตุของโรคความดันโลหิตสูงได สําหรับผูปวยที่มีภาวะไตทํางาน<br />

ไมปกติอาจเกิดการคั่งของโซเดียมสงผลใหรางกายอยูในสภาพบวมน้ํา และถามี<br />

ปริมาณโซเดียมที่สูงมากเกินไปในเลือด อาจทําใหเลือดแข็งตัวได ซึ่งจะนําไปสูภาวะ<br />

ตาง ๆ ที่เปนอันตรายยิ่งขึ้น คือ เสนเลือดในสมองตีบตัน ไตวาย และหัวใจวาย<br />

ทานผูฟงคะ เราไดรับโซเดียมจากอาหารที่บริโภค ปริมาณโซเดียมที่เราควรไดรับตอวัน<br />

ไมควรเกิน 2400 มิลลิกรัมคะ อาหารโซเดียมต่ํา คือ อาหารที่มีปริมาณโซเดียมต่ํา<br />

กวา 140 มิลลิกรัมคะ อาหารเกือบทุกชนิดมีโซเดียมอยูแลวในธรรมชาติ และสวน<br />

ใหญไมใหรสเค็ม โดยทั่วไป เนื้อสัตว ไข ปลา ปู กุง หอยมีปริมาณโซเดียม 100-300<br />

มิลลิกรัมตอ 100 กรัม แตในเลือดและไตของโคมีปริมาณโซเดียมสูงกวาในสวนเนื้อ<br />

ถึง 10 เทา หอยแครงลวกมีปริมาณโซเดียมสูงถึง 500-600 มิลลิกรัมตอ 100 กรัม<br />

ผลไมสวนใหญมีปริมาณโซเดียมต่ํา คือ ไมเกิน 20 มิลลิกรัมตอ 100 กรัม ยกเวน<br />

แอปเปล มะมวงแกว มะมวงอกรองสุก ขนุน กลวยหอม ที่มีปริมาณโซเดียมสูง<br />

ใกลเคียงกับนมโค คือ 40-60 มิลลิกรัมตอ 100 กรัม ผักที่มีปริมาณโซเดียมต่ํามาก<br />

คือ คะนา มะเขือยาว หนอไมฝรั่ง และกะหล่ําปลี เปนตน แตผักขึ้นฉาย ผักชี<br />

ผักบุงจีน ผักปวยเลง มีปริมาณโซเดียมสูงใกลเคียงกับที่พบในเนื้อสัตว โดยเฉพาะ<br />

ใบชะพลูมีปริมาณโซเดียมสูงถึง 326 มิลลิกรัมตอ 100 กรัม แหลงที่มาของโซเดียม<br />

158<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


ในอาหารที่รับประทานทั่วไป คือ เกลือ ผงชูรส และผงฟู เพราะมีโซเดียมเปนองคประกอบ<br />

ชื่อวิทยาศาสตรของเกลือ คือ โซเดียมคลอไรด เกลือ 1 กรัม มีโซเดียม 393 มิลลิกรัม<br />

เราไมควรไดรับเกลือมากกวา 6 กรัม ตอวัน อาหารหลายชนิดเติมเกลือเพื่อใหได<br />

คุณภาพตามที่ตองการ โดยไมไดมุงเพื่อใหมีรสเค็ม เชน ลูกชิ้น หมูยอ แหนม และ<br />

ไสกรอก เติมเกลือในปริมาณรอยละ3-4 เพื่อชวยละลายโปรตีนจากเนื้อสัตวออกมา<br />

ทําใหไดโครงสรางที่แข็งแรงไดเนื้อสัมผัสที่เหนียวเดงเกาะตัวกัน อาหารกลุมนี้มี<br />

ปริมาณโซเดียมสูง 600-800 มิลลิกรัมตอ 100 กรัม นอกจากนี้ แหนม ไสกรอก และ<br />

แฮม มีปริมาณโซเดียมเพิ่มเติมเล็กนอยมาจากโซเดียมไนไตรต ที่ใชในปริมาณไม<br />

เกิน 200 มิลลิกรัมตอเนื้อสัตว 1 กิโลกรัม โซเดียมไนไตรตรวมตัวกับไมโอโกลบิน<br />

ที่เปนรงควัตถุสีแดงในเนื้อสัตวไดสารใหสีชมพูและกลิ่นรสเฉพาะของผลิตภัณฑ<br />

ผงชูรสมีชื่อวิทยาศาสตรวาโมโนโซเดียมกลูตาเมต ผงชูรส 1 กรัมมีปริมาณโซเดียม<br />

136 มิลลิกรัม ผงชูรสมีจําหนายในหลายรูปแบบ เชน ซุปกอนผง และผงปรุงรส ซึ่ง<br />

นิยมนํามาเตรียมน้ําซุป น้ํากวยเตี๋ยว กวยเตี๋ยวที่ทําจากแปงขาวเจามีปริมาณ<br />

โซเดียมต่ํา แตบะหมี่ เกี๊ยว และหมี่ซั่วที่ทําจากแปงสาลีมีปริมาณโซเดียมสูง 600-<br />

1000 มิลลิกรัมตอ 100 กรัม เพราะในการผลิตตองใชโซเดียมคารบอเนตซึ่งมีฤทธิ์<br />

เปนดางเปลี่ยนสีของแปงสาลีใหเปนสีเหลืองและไดเสนบะหมี่ที่เหนียว ยืดหยุน ตม<br />

ไดนานไมเปอยงาย ผงฟูมีโซเดียมไบคารบอเนตเปนสวนผสม เคก โดนัท คุกกี้ มีการ<br />

เติมผงฟู จึงมีปริมาณโซเดียมสูงกวาขนมปงที่ขึ้นฟูจากการทํางานของยีสต ใน<br />

ธรรมชาติ ถั่วลิสง อัลมอนด มีปริมาณโซเดียมต่ํามาก คือ นอยกวา 20 มิลลิกรัมตอ<br />

100 กรัม แตในระหวางการคั่ว หรือ อบ มักนิยมฉีดพนน้ําเกลือเพื่อใหไดผลิตภัณฑที่<br />

มีรสชาติที่ไมเลี่ยน ทําใหมีปริมาณโซเดียมสูง 400-1000 มิลลิกรัมตอ 100 กรัม ใน<br />

กลุมเครื่องจิ้มที่มีปริมาณโซเดียมสูงแตมีรสหวานนํา ไดแก น้ําจิ้มไก น้ําจิ้มแฮกึ้น<br />

สลัดครีมและมายองเนส มีปริมาณโซเดียมสูง 600-1200 มิลลิกรัมตอ 100 กรัม<br />

น้ําพริกชนิดตาง ๆ เชน น้ําพริกเผา และน้ําพริกแมงดา มีปริมาณโซเดียมสูงถึง<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 159


2200-2400 มิลลิกรัม ตอ 100 กรัมซึ่งใกลเคียงกับปริมาณโซเดียมที่พบในเบคอน<br />

น้ําพริกแกงตางๆ เชน แกงมัสมั่น และแกงสม มีปริมาณโซเดียมสูงถึง 4000-5000<br />

มิลลิกรัมตอ 100 กรัม น้ําแกงเหลานี้จึงมีปริมาณโซเดียมสูงมาก อาหารจานดวน<br />

ทั่วไป เชน ขาวมันไกทอด ขาวหมูกรอบ กวยเตี๋ยวเปด ขนมจีนน้ําเงี้ยว มีปริมาณ<br />

โซเดียม 300-600 มิลลิกรัมตอ 100 กรัม แตอาหารอีสาน เชน ลาบ น้ําตก คั่วไขมด<br />

แดง กอยจิ้งหรีดใสมะมวง แจวมะเขือเทศ ตํามะขามฝกออน มีปริมาณโซเดียมสูงถึง<br />

1000-1300 มิลลิกรัมตอ 100 กรัม เพราะใชน้ําปลาปรุงรส โดยทั่วไป อาหารหมักดอง<br />

พริกดอง อาหารตากแหง และผลไมแชอิ่ม มักมีปริมาณโซเดียมสูงมากกวาอาหาร<br />

อื่น ๆ ในวันนี้ดิฉันหวังวาทานผูฟงจะไดรับความรูเรื่องโซเดียมในอาหารเพิ่มเติมและ<br />

ขอคิดในการเลือกชนิดอาหารโซเดียมต่ํา และปริมาณอาหารที่ควรบริโภคตอวันได<br />

นะคะ<br />

แหลงอางอิง<br />

Institute of Nutrition, Mahidol University. 2548. Food Composition Database<br />

for INMUCAL Program.<br />

รุจิรา สัมมะสุด. 2541. หลักการปฏิบัติดานโภชนบําบัด.ฝายโภชนาการ โรงพยาบาล<br />

รามาธิบดี<br />

160<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ<br />

นักอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม<br />

กรองจันทร รัตนประดิษฐ<br />

โลกตื่นตัวกับการรักษาสิ่งแวดลอมและอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติอยาง<br />

กวางขวาง มีพื้นที่หลายแหงสูญสิ้นหมดไปกอนไดทําการอนุรักษ เกิดทั้งมหันตภัย<br />

และความขัดแยง สวนประเทศไทยพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว และสมเด็จ<br />

พระนางเจาสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ ทรงมีพระราชดําริ และพระราชทานแนวทางใน<br />

การแกปญหานี้มานาน มีทั้งการรักษาทรัพยากรธรรมชาติและฟนฟูสิ่งแวดลอม<br />

เพื่อใหประชาชนอยูดีกินดี และปกปองรักษาผืนแผนดินไทยใหยั่งยืน<br />

เมื่อกลาวถึงพระราชกรณียกิจในสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ<br />

สําหรับคนทั่วไป อาจคุนเคยกับภาพพระราชกรณียกิจของพระองคในดานการทรง<br />

งานเพื่อชวยเหลือราษฎรที่ยากจน ในลักษณะที่ทรงเปนนักสังคมสงเคราะห แตตาม<br />

ความเปนจริงนั้นพระองคทรงงานในดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ<br />

สิ่งแวดลอมมากดวยเชนกัน จะเห็นไดจากที่พระองคไดทรงริเริ่มโครงการอนุรักษ<br />

ทรัพยากรธรรมชาติหลายโครงการ โดยเฉพาะการฟนฟูและอนุรักษปาไม ตนน้ํา<br />

ลําธาร สัตวปา และสัตวน้ํา โครงการจากพระราชดําริทั้งหมดลวนแลวแตไดพระราชทาน<br />

เพื่อเปนการสงเสริมคุณภาพชีวิต และฟนฟูบํารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติที่มี<br />

คุณประโยชนตอการดํารงชีวิต และดวยน้ําพระราชหฤทัยเมตตาตอทุกชีวิต<br />

งานอนุรักษสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติทั้งหลายก็ไดกลายมาเปนแบบอยาง<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 161


ของโครงการ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนใหกับประเทศในปจจุบัน โครงการอนุรักษ<br />

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมทุกโครงการมีความเกี่ยวของกับการยกระดับ<br />

คุณภาพชีวิตของราษฎรเสมอ สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถมีพระราช<br />

ประสงคในการแกปญหาความยากจนโดยใหราษฎรมีกินมีใชและพัฒนาคุณภาพ<br />

ชีวิตที่ดีขึ้นเปนลําดับแรก ลําดับตอมาจึงเปนการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ<br />

สิ่งแวดลอมตามเปาประสงค ตัวอยางของโครงการในพระราชดําริ เชน<br />

โครงการอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพของพันธุสัตวน้ําใน<br />

พระราชดําริ โครงการนี้ไดจัดตั้งขึ้น เนื่องจากสมเด็จพระ นางเจาสิริกิติ์<br />

พระบรมราชินีนาถทรงตระหนักในความสําคัญของสัตวน้ําในประเทศไทยเปนอยางยิ่ง<br />

พระองคทรงมีความหวงใยในเรื่องของอาหารของอาณาประชาราษฎรทุกคน และ<br />

ทรงเล็งเห็นวาอาหารประเภทสัตวน้ํา เปนอาหารที่เราผลิตไดเร็ว และใชเวลาอันสั้น<br />

จึงเปนที่มาของโครงการดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติประเภทสัตวน้ําใน<br />

พระราชดําริหลายโครงการ เชน โครงการฟนฟูทรัพยากรชายฝงทะเลอันเนื่องมาจาก<br />

พระราชดําริ (จังหวัดปตตานี) มีวัตถุประสงคในการวิจัยและเพาะเลี้ยงสัตวน้ําเพื่อ<br />

เพาะเลี้ยงสัตวน้ําปลอยลงสูทะเลอันจะเปนการฟนฟูธรรมชาติ และเพื่ออบรมราษฎร<br />

ในบริเวณขางเคียงใหมีความรูในการเพาะ เลี้ยงและการอนุรักษทรัพยากรสัตวน้ํา<br />

โครงการสถานีสาธิตการเกษตรที่สูงอันเนื่องมาจากพระราชดําริ<br />

เปนโครงการที่จัดตั้งขึ้นเพื่อเปนแบบอยางแกราษฎรในพื้นที่ ใหราษฎรมีความรูและ<br />

นําความรูไปใชกับพื้นที่ของตนเอง ทําใหราษฎรมีคุณภาพชีวิตความเปนอยูที่ดีขึ้น<br />

สามารถแกปญหายาเสพติดและลดการทําลายทรัพยากรธรรมชาติลงได เชน<br />

โครงการสถานีพัฒนาการเกษตรที่สูงตามพระราชดําริภูพยัคฆ (จังหวัดนาน) โดยนํา<br />

พื้นที่ที่ถูกแผวถางแลวมาฟนฟูและใชประโยชนใหเกิดผลผลิตสูงสุด และจัดระเบียบ<br />

พื้นที่ชายแดนใหมีชุมชนที่เขมแข็ง อันเปนการชวยปองกันการแพรระบาดของ<br />

ยาเสพติดจากนอกประเทศ<br />

162<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


โครงการบานเล็กในปาใหญ โครงการบานเล็กในปาใหญ จัดตั้งขึ้น<br />

เพื่อใหราษฎรมีความเปนอยูอยางพอเพียงตามวิถีชีวิตแบบดั้งเดิม และมีสวนรวมใน<br />

การอนุรักษฟนฟูปา มีความหวงแหนในแผนดินที่อาศัย ดังเชน โครงการบานเล็กใน<br />

ปาใหญที่อยูตามตะเข็บแนวชายแดน ตั้งแตจังหวัดเชียงราย พะเยา เชียงใหม<br />

แมฮองสอน และ ตาก<br />

โครงการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมตาง ๆ เหลานี้แสดงให<br />

เห็นถึงพระราชหฤทัยเอื้ออาทรหวงใยของของสมเด็จพระบรมราชินีนาถที่มีตอ<br />

พสกนิกรชาวไทย และแสดงใหเห็นพระอัจฉริยภาพของพระองคดวยสายพระเนตร<br />

อันยาวไกลและพระปรีชาสามารถโดยแทจริง ดวยพระเมตตาที่ทรงมีพระราชหฤทัย<br />

หวงใยราษฎรและทรัพยากรธรรมชาติของผืนแผนดินไทย ขาพระพุทธเจาในนาม<br />

ผูจัดทําโครงการเผยแพรวิชาการทางวิทยุกระจายเสียงรายการ “วิทยาศาสตรเพื่อ<br />

ประชาชน” คณะวิทยาศาสตรและสํานักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยบูรพาซาบซึ้ง<br />

ในพระมหากรุณาธิคุณเปนลนพน และเนื่องในโอกาสทรงเจริญพระชนมายุครบ 78<br />

พรรษา ในวันที่ 12 สิงหาคม <strong>2553</strong> นี้ ขาพระพุทธเจาของนอมเกลาฯ ถวายพระพร<br />

แหลงอางอิง<br />

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม.<br />

2552. สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ กับการอนุรักษ<br />

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. กรุงเทพฯ : อมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับ<br />

ลิชชิ่ง จํากัด (มหาชน)<br />

ธวัชชัย สันติสุข.2550. สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ กับการอนุรักษ<br />

และฟนฟูสิ่งแวดลอมไทย.สงเสริมเทคโนโลยี. 34 (194)<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 163


สายไหม จบกลศึก.2547 สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และสิ่งแวดลอม.<br />

วารสารวิชาการ. 7 (3)<br />

164<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


18 สิงหาคม <strong>2553</strong> : วันวิทยาศาสตรแหงชาติ<br />

นุชจรินทร แกลวกลา<br />

สวัสดีคะผูฟงทุกทาน วันนี้จะขอนําทุกทานมารําลึกถึงวันสําคัญอีกวันหนึ่ง<br />

ของคนไทย ที่เกี่ยวของกับวิทยาศาสตรและพระมหากษัตริย แตกอนอื่นจะพาทาน<br />

มาทําความเขาใจในความหมายของ "วิทยาศาสตร" (Science) กันกอน โดยคําวา<br />

วิทยาศาสตรนี้หมายถึง ความรูเกี่ยวกับสิ่งตาง ๆ ในธรรมชาติ ทั้งที่มีชีวิตและไมมี<br />

ชีวิต รวมทั้งกระบวนการประมวลความรูทางวิทยาศาสตร และกลุมขององคความรูที่<br />

ไดจากกระบวนการดังกลาว และการศึกษาในดานวิทยาศาสตรนั้นแบงยอยออกเปน<br />

วิทยาศาสตรธรรมชาติ และวิทยาศาสตรประยุกต และถาถามวาวิทยาศาสตรมี<br />

ความสัมพันธกับประวัติศาสตรของไทยกับพระมหากษัตริยของเราอยางไรนั้น<br />

หลายคนคงยังพอจํากันไดวาในเดือนสิงหาคมของทุกปจะมีวันวิทยาศาสตรแหงชาติ<br />

คือวันที่ 18 สิงหาคม ซึ่งเมื่อพูดถึงวันวิทยาศาสตรแหงชาติจะตองนึกถึงพระบิดาแหง<br />

วิทยาศาสตรไทย คือ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 4 เนื่องจาก<br />

ในวันที่ 18 สิงหาคม 2411 เปนวันสําคัญที่ รัชกาลที่ 4 ไดทรงคํานวณวันเวลาการเกิด<br />

สุริยุปราคาดวยพระองคเอง และคํานวณไวลวงหนาถึง 2 ป โดยไมคลาดเคลื่อนแมแต<br />

วินาทีเดียว ซึ่งเกิดขึ้นที่หมูบานหัววาฬ ต.หวากอ จ.ประจวบคีรีขันธ ตอมารัฐบาลไทย<br />

จึงกําหนดใหวันนี้ของทุกปเปนวันวิทยาศาสตรแหงชาติ เพื่อเปนการนอมรําลึกถึง<br />

พระมหากรุณาธิคุณและเทิดพระเกียรติแดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ 4<br />

โดยงานที่เกี่ยวของทั่วประเทศไดแกกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รวมถึง<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 165


สถาบันการศึกษาทั่วประเทศไดรวมกันจัดกิจกรรม ทางดานวิทยาศาสตรและ<br />

เทคโนโลยีหลากหลายรูปแบบ อาทิ นิทรรศการ ผลงานวิจัย สิ่งประดิษฐ รวมทั้งการ<br />

แขงขันโครงการทางวิทยาศาสตร และสื่อการสอนวิทยาศาสตร นอกจากนี้ยังมีการ<br />

มอบรางวัลใหแกผูที่ไดรับการคัดเลือกใหเปนนักวิทยาศาสตรดีเดนในสาขาวิชาตางๆ<br />

อีกดวย<br />

คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา เปนหนวยงานหนึ่งที่รับผิดชอบใน<br />

การสงเสริมใหนักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไปไดเห็นถึงความสําคัญของเทคโนโลยี<br />

ที่มีผลตอการพัฒนาคนและประเทศ ซึ่งนอกจากการเรียนรูที่นักเรียน นักศึกษา จะ<br />

ไดจากหองเรียนแลว คณะวิทยาศาสตรยังไดเล็งเห็นวาควรสรางความตื่นตัวทาง<br />

วิชาการ สรางเสริมประสบการณใหม ๆ ทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีใหแก<br />

นักเรียนระดับมัธยมศึกษา นิสิต นักศึกษา และประชาชนทั่วไป ในเขตภาคตะวันออก<br />

เพื่อเปนการเผยแพรวิทยาการตาง ๆ ใหสังคมและชุมชน รวมทั้งภาคการผลิตตาง ๆ<br />

ใหรับทราบ สามารถนําไปดัดแปลงใหเหมาะสมกับการพัฒนาอาชีพของตน และเพื่อ<br />

เปนการประชาสัมพันธใหนักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไปไดรับทราบถึงการ<br />

ใชวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีใหเหมาะสมกับการดํารงชีวิต เพื่อการพัฒนาประเทศ<br />

ไทยที่ยั่งยืนตอไป จึงไดจัดงานสัปดาหวิทยาศาสตรแหงชาติภาคตะวันออก ครั้งที่ 27<br />

ประจําปการศึกษา <strong>2553</strong> ขึ้นในหัวขอ "จุดประกายความคิด พัฒนาชีวิต ดวยวิทยาศาสตร"<br />

ระหวางวันที่ 16-18 สิงหาคม <strong>2553</strong> บริเวณคณะวิทยาศาสตรมหาวิทยาลัยบูรพา<br />

ตําบลแสนสุข อําเภอเมือง จังหวัดชลบุรี โดยในงานมีการจัดกิจกรรมตามประเพณี<br />

ไดแก พิธีถวายพานพุมสักการะ "พระบิดาแหงวิทยาศาสตรไทย" และนิทรรศการ<br />

เทิดพระเกียรติและพระปรีชาสามารถดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของ "พระบิดา<br />

แหงวิทยาศาสตรไทย" นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมการประกวด แขงขัน อาทิ การประกวด<br />

วาดภาพจินตนาการทางวิทยาศาสตร (ระดับประถม, ม.ตน, ม.ปลาย) การประกวดวาด<br />

ภาพการตูนทางวิทยาศาสตร (ระดับประถม) การแขงขันตอบปญหาทางวิทยาศาสตร<br />

166<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


(ระดับ ม.ตน, ม.ปลาย) การแขงขันกระบวนการแกปญหาทางวิทยาศาสตร (ระดับ<br />

ม.ตน, ม.ปลาย) การแขงขันโตวาที (ระดับ ม.ตน, ม.ปลาย) การประกวดโครงงาน<br />

วิทยาศาสตร (ระดับ ม.ตน, ม.ปลาย) การแขงขันการแสดงทางวิทยาศาสตร เปนตน<br />

และกิจกรรมเสริมทักษะและความรูดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี อาทิ การจัด<br />

นิทรรศการจากภาควิชาการนําเสนอผลงานวิจัยของคณะวิทยาศาสตร การอบรมเชิง<br />

ปฏิบัติการ เปนตน ตลอดจน การคัดเลือกครูดีเดนดานวิทยาศาสตร และคณิตศาสตร<br />

ภาคตะวันออก<br />

ดังนั้น จึงขอเชิญชวนทุกทานที่สนใจเขารวมกิจกรรมในสัปดาหวัน<br />

วิทยาศาสตรหรือรวมชมนิทรรศการทางวิทยาศาสตรในวันเวลาดังกลาว ซึ่งทาน<br />

สามารถสอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ คณะวิทยาศาตร มหาวิทยาลัยบูรพา 169<br />

ถ.ลงหาดบางแสน ต.แสนสุข อ.เมือง จ.ชลบุรี 20131 โทรศัพท 0-3810-3010, 0-<br />

3810-3011 หรือเขาดูขอมูลรายละเอียดไดทางเวบไซต http://www.sci.buu.ac.th/<br />

แหลงอางอิง<br />

วรนุช อุษณกร. ประวัติวันสําคัญที่ควรรูจัก. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร.2543<br />

เ ข า ถึ ง ท า ง http://www.lib.ru.ac.th/journal/aug/aug1 8 -ScienceDay.html/<br />

23/07/<strong>2553</strong><br />

เสริมสรางเอกลักษณของชาติ, สํานักงาน.2547. สดุดีบุคคลสําคัญ เลม ๑๘.<br />

กรุงเทพฯ : ศรีเมืองการพิมพ.<br />

http://www.sci.buu.ac.th/ เขาถึงเมื่อ 23/07/<strong>2553</strong><br />

เลมที่ <strong>33</strong> 167


การปองกันโรคดวยอาหารมื้อเชา<br />

สุบัณฑิต นิ่มรัตน<br />

สวัสดีคะทานผูฟงทุกทาน วันนี้ดิฉันอยากจะนําขอมูลของการปรับตนเอง<br />

ใหมีสุขภาพดีโดยไมตองพึ่งใครนอกจากตนเองมาฝากคะ เพราะเมื่อเราเกิดมาเราก็<br />

จะแกทุกวินาทีโดยที่เราไมรูสึกแตจะรูสึกชัด ๆ เมื่ออายุลวงเลยมาประมาณ 40 ป<br />

เพราะสุขภาพอะไร ๆ จะแยลงทําใหนึกถึงความแกไดอยางชัดเจน และความเจ็บก็<br />

จะมาเยือนอยางสม่ําเสมอ เพราะสังขารที่แยลง เหมือนรถยนตเกาลงเรื่อย ๆ ก็ตองมี<br />

การเปลี่ยนอะไหล แตคนเราไมมีอะไหลเปลี่ยนเหมือนรถหรอกคะ ดังนั้นตองถนอม<br />

เทานั้น และสุดทายคือ ตายจากกันไป<br />

ดังนั้นผูเขียนจะขอเนนเกี่ยวกับการปองกันโรคดวยวิธีที่เรียกวา “ธรรมชาติ<br />

บําบัด” โดยในวันนี้ขอเริ่มจาก อาหารมื้อเชาที่มีสําคัญมาก ทานผูฟงทราบหรือเปลา<br />

คะ ทานผูฟงลองฟงถึงความสําคัญของเคานะคะ<br />

อาหารมื้อเชานั้นนับวาเปนมื้อที่มีความสําคัญที่สุด ที่รางกายตองการ<br />

สารอาหารในชวงเวลา 07.00-09.00 น. คะ เนื่องจากเวลาระหวางนี้สมองและใบหนา<br />

ของคนเรานั้นตองการเลือดและออกซิเจน เปนอาหารบํารุงสงไปเลี้ยงสมอง ถาเราไม<br />

รับประทานขาวเชาก็จะไมมีเลือดไปรับออกซิเจน สงขึ้นไปเลี้ยงสมอง เพราะสมอง<br />

ตองการกรดอะมิโนไปบํารุงเซลลสมองคะ ยังรวมไปถึงวิตามินบี 1 บี 6 และบี 12 คะ<br />

ทานผูฟงคะ การที่เราไมรับประทานอาหารมื้อเชานั้น อาจเปนสาเหตุที่<br />

เลือดไปเลี้ยงสมองไดนอยลงดวยคะ ถาเลือดไปเลี้ยงสมองไมเพียงพอ หรือเลือดไป<br />

168<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


เลี้ยงสมองไดนอยจะเริ่มมีอาการดังตอไปนี้คะ ผมรวง หนาแกเร็ว คออักเสบงาย<br />

นอนไมคอยหลับ นอนไมเต็มอิ่ม ฝนบอย ปวดไหล ตื่นกลางดึกบอย ๆ ปวดหัวขางเดียว<br />

ปวดหัวสองขาง ปวดหู ปวดกระบอกตา เปนไซนัส เหงือกบวม เจ็บคอ เจ็บลิ้น<br />

ปวดชายโครง ปวดหลัง ปวดเขา กระดูกสะโพกจะเคลื่อนไดงาย ปวดสะโพก ปวดขอเทา<br />

หลังเทา วิตกกังวลงายคะ อาการที่ดิฉันไดพูดไปนั้นอาจแสดงอาการทีละอยางหรือ<br />

หลายอยางพรอมกันไดคะ นอกจากนี้ยังมีสาเหตุหลาย ๆ สาเหตุที่ทําใหเลือดไป<br />

เลี้ยงสมองไดนอยลง คือ กระดูกคอขอที่หนึ่งอาจเคลื่อนไปทับเสนประสาท หรือเสน<br />

เลือดที่ไปเลี้ยงสมองคะ การที่เรารับประทานอาหารที่มีสวนผสมของน้ํามันบอย ๆ<br />

เปนเวลานาน จะทําใหเกิดไขมันเกาะตัวเหนียวสะสมอยูในลําไส ก็มีโอกาสที่เลือด<br />

ไปเลี้ยงสมองไดนอย เพราะระบบดูดซึมเสียและจะทําใหถุงน้ําดีขน อีกประการหนึ่ง<br />

ก็คือ มีพยาธิในลําไสหรือพยาธิที่ผิวหนังจะกัดกินเลือดในรางกาย ทําใหเลือดไป<br />

เลี้ยงสมองไมเพียงพอคะ<br />

เมื่อพูดถึงสมองแลวสมองของเราก็มีอยูหลายสวนดวยกันคะ แตละสวนก็<br />

มีความสําคัญไมนอยไปกวากันเลยนะคะ การที่เราไมรับประทานอาหารในตอนเชา<br />

นั้นสงผลถึงสมองแตละสวน ดังนี้คะ สมองสวนที่หนึ่งคือ สมองสวนหนา การที่เลือด<br />

ไปเลี้ยงสมองสวนหนาไดนอยลง เมื่อเวลาผานไปนาน ๆ จะทําใหมีหินปูนเกาะที่<br />

สมองสวนหนาคะ แลวจะมีอาการนอนไมคอยหลับ เปนสาเหตุทําใหเกิดตาเปนตอ<br />

จอประสาทตาเสื่อม ปสสาวะบอยขึ้น ใบหนาเปนฝา ใบหนาดําไดคะ สมองสวนที่<br />

สองคือ สมองสวนกลาง การที่เลือดไปเลี้ยงสมองสวนกลางนอยลงนั้นสงผลใหเกิด<br />

อาการงวงนอนบอย หรืองวงนอนทั้งวัน ปวดเมื่อยเนื้อตัว ปวดสนเทา ขี้โมโหทองอืด<br />

อาหารไมยอย ตอไปวันขางหนาสามารถทําใหความจําเสื่อมไดคะ แตความจําระยะ<br />

ยาวในเรื่องเกา ๆ ยังจําไดอยูคะ แตในเรื่องใหม ๆ จะคอย ๆ หลง ๆ ลืม ๆ พูดวนไป<br />

วนมาคะ และสมองสวนสุดทายที่ดิฉันจะพูดถึง คือ สมองสวนหลังคะ การที่สมอง<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 169


สวนหลังมีเลือดไปเลี้ยงนอยลง จะมีอาการแขนขาไมคอยมีแรง เดินไมคอยไหว<br />

ตอนตื่นนอนบางครั้งจะมีอาการแขนขาตาย ขยับตัวไมคอยไดคะ<br />

ทานผูฟงคงเห็นความสําคัญของอาหารมื้อเชาแลวนะคะวามีความสําคัญ<br />

เพียงใด ถาทานผูฟงไมมีเวลารับประทานอาหารมื้อเชาจริง ๆ ดิฉันก็มีสูตรมาแนะนํา<br />

คะ คือ สูตร โยเกิรต + นมสด + น้ําผึ้ง + มะนาวคะ มีวิธีการทําที่งาย ๆ คือ นมสด 1<br />

กลอง เทใสแกว เติมโยเกิรตรสธรรมชาติครึ่งถวยของโยเกิรต จากนั้นเติมน้ําผึ้งและ<br />

มะนาวคะ ชิมรสชาติตามใจชอบไดเลยคะ แลวตั้งพักไวสักครูหนึ่ง เพื่อใหจุลินทรีย<br />

เพิ่มจํานวนและกินความหวานของน้ําผึ้งและชวยยอยไขมันของนมกอน แลวจึงดื่ม<br />

คะ สูตรนี้จะชวยลางลําไสเล็กไดดี (เวลาที่แนะนํานะคะคือ 13.00-15.00 น. คะ) จะ<br />

ไดผลดีมาก เพราะตรงเวลาของลําไสเล็กพอดีคะ เมื่อเรารับประทานอาหารเขาไป<br />

แลวเราก็ตองขับถายออกมาดวยนะคะ ในชวงเวลาที่เหมาะสมคือ 05.00-07.00 น. คะ<br />

เพราะวาเปนเวลาของลําไสใหญ และถาปลอยใหลวงเลยไปถึง 07.00-09.00 น. ซึ่ง<br />

เปนเวลาของกระเพาะแลวยังไมทานอาหารเชาอีก อุจจาระจะถูกดูดซึมซ้ําอีกครั้ง<br />

แกสก็จะถูกดูดซึมกลับไปและจะเขาสูกระแสเลือดดวย จึงทําใหเลือดไมสะอาด<br />

ถาเลือดที่ไมสะอาดไหลเวียนไปเลี้ยงสวนตาง ๆ ของรางกาย ไหลผานสมอง หัวใจ<br />

ปอด มาม ตับ ผิวหนัง ก็จะไดรับพิษจากแกสนั้นดวยนะคะ เพราะฉะนั้นพยายาม<br />

ขับถายระหวางเวลา 05.00-07.00 น. ถาไมขับถายนะคะ ควรรับประทานขมิ้นชัน<br />

ชวงนี้ เพื่อบริหารลําไสใหญใหทํางานคะ และควรรับประทานขาวเชาทุกวัน ระหวาง<br />

เวลา 07.00-09.00 น. ใหไดทุกวันนะคะ<br />

ทานผูฟงคะการที่เราดูแลสุขภาพตนไมใหเจ็บปวยนั้นถือวาเปนสิทธิขั้น<br />

พื้นฐานที่ทานผูฟงควรทํานะคะ เพื่อไมตองรอเวลาที่จะเจ็บปวย แลวโยนภาระหนาที่<br />

ไปใหหมออยางเดียวและที่แน ๆ คือ คาใชจายและความเจ็บปวดในระหวางที่ปวย<br />

ซึ่งมันไมคุมคานะคะ ถาเราเริ่มตนที่จะดูแลและใสใจสุขภาพของตนเองและบุคคล<br />

ในครอบครัวแลวนั้น ก็นับวายังไมสายเกินไปคะ ที่จะแกไขปญหาสุขภาพของ<br />

170<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


ทานผูฟงเอง ดีกวาจะปลอยใหเวลาผานไปในแตละวันแลวเกิดเจ็บปวยขึ้นมา<br />

จนยากที่จะยอนกลับมาแกไขไดคะ วันนี้เวลาของดิฉันก็หมดลงแลวนะคะ โอกาส<br />

หนาดิฉันจะนําเรื่องราวดี ๆ มาฝากทานผูฟงอีกคะ สําหรับวันนี้สวัสดีคะ<br />

แหลงอางอิง<br />

สุทธิวัสส คําภา. 2537. กินเปน ลืมปวย. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ<br />

ธิดา รัฐนิติสกุล. 2552. ปองกันโรครายกับมื้อเชา. เขาถึงไดจาก http://learners.in.th/<br />

bl309031 เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน <strong>2553</strong>.<br />

อาหารเชามีความจําเปนหรือไม. 2547. เขาถึงไดจาก http://www.siamhealth.net/<br />

public_html/Health/good_health_living/diet/diet_index2.htm เ มื่ อ วั น ที่ 3 0<br />

มิถุนายน <strong>2553</strong>.<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 171


ประโยชนอันเกินคาดคิดจากขาวกลอง<br />

กรองจันทร รัตนประดิษฐ<br />

ดวยพระบารมีแหงองคพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงรับสั่งเตือนสติ<br />

ชาวไทยเกี่ยวกับคุณประโยชนของขาวกลองที่มีตอสุขภาพเมื่อหลายปที่ผานมา<br />

ซึ่งถือเปนจุดเริ่มตนใหกับตลาดขาวกลองไทย เพราะประชาชนที่หวงใยสุขภาพ<br />

หันมาบริโภคขาวกลองกันมากขึ้น โดยเฉพาะความนิยมบริโภคในกลุมวัยกลางคน<br />

และสูงอายุ สวนในกลุมเด็กเล็กและวัยรุนนั้นยังคงนิยมบริโภคขาวขัดสี เนื่องจาก<br />

ลักษณะทางประสาทสัมผัสของขาวกลองจะคอนขางแข็งและมีความเปนเยื่อใยสูง<br />

จึงไมเปนที่นิยมในกลุมเด็กและวัยรุน และยังมีอีกไมนอยที่ไมสนใจ และไมเขาใจ<br />

แมแตวาขาวกลองเปนอยางไร ทําไมรับประทานขาวกลองแลวสุขภาพดี ดังนั้นเรามา<br />

ทําความรูจักกับขาวกลองกันกอนดีกวาคะ<br />

เมื่อนําขาวเปลือกมาผานกรรมวิธีการสีขาว เปลือกของเมล็ดขาวที่เรียกวา<br />

แกลบจะถูกกะเทาะออก เหลือเปนเนื้อขาวที่เรียกวา ขาวกลอง เมื่อนําขาวกลองมาสี<br />

สวนของรําขาวซึ่งประกอบดวยเนื้อหุมเมล็ดและจมูกขาว จะถูกกําจัดออกทําใหได<br />

เปนขาวขาวซึ่งนํามาขายใหกับผูบริโภค และรําขาวเปนสวนที่ทางโรงสีจะนําไปขาย<br />

เปนอาหารสัตว ดังนั้นสิ่งที่สูญหายไประหวางการขัดสีขาวกลองเปนขาวขาวก็คือ<br />

เยื่อหุมเมล็ด และจมูกขาว ดวยเหตุนี้ ขาวขาวที่รับประทานกันทั่ว ๆ ไปจึงเหลือแค<br />

เนื้อเมล็ด แตทราบกันหรือไมวาขาวขาวที่เรานิยมรับประทานนั้นมีเพียงสารอาหาร<br />

คารโบไฮเดรตเสียสวนใหญ แตขาดสารอาหารอื่น ๆ ในขณะที่สวนเนื้อหุมเมล็ดและ<br />

172<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


จมูกขาวที่ถูกทิ้งไปกลับเปนสวนที่อุดมไปดวยสารอาหารตาง ๆ ซึ่งมีประโยชนตอ<br />

รางกายอยางยิ่งที่ขาวขาวไมมี และสารอาหารบางชนิดมีปริมาณมากกวาในขาวขาว<br />

เปนรอยเทา เมื่อทราบเชนนี้แลวก็เกิดคําถามตอไปวาแลวประโยชนของขาวกลองที่<br />

กลาวถึงนั้นมีอยางไรบาง<br />

ประโยชนจากการรับประทานขาวกลองนั้นไดจากสารอาหารที่สําคัญและ<br />

มีปริมาณมากในขาวกลอง ซึ่งมีใยอาหารในปริมาณมาก ใยอาหารมีสวนสําคัญกับ<br />

ทางเดิน และระบบการยอยอาหาร รวมทั้งระบบขับถายในรางกาย หากรางกาย<br />

ไดรับปริมาณใยอาหารไมเพียงพอจะทําใหขาดสมดุลในระบบดังกลาว เกิดอาการ<br />

ทองอืดทองเฟอ จุกเสียด และอาการทองผูก หากปลอยทิ้งใหอาการนั้นเปนไปอยาง<br />

ตอเนื่องยาวนานจะเกิดอาการโรคริดสีดวงทวาร และที่รายแรงอาจถึงขั้นมะเร็งลําไส<br />

ใหญ และมะเร็งทวารหนักได นอกจากใยอาหารแลว ขาวกลองยังมีสารพฤกษเคมีที่<br />

สําคัญอีกหลายชนิด ไดแก สารอินอซิทอลเฮกซาฟอสเฟตชวยในการตานโรคได<br />

หลายโรคเชน ตานการเกิดโรคนิ่วในไต ลดความเสี่ยงของโรคหลอดเลือดหัวใจโดย<br />

การไปชวยลดระดับคอเลสตอรอล และไขมันในรูปไตรกลีเซอไรดในเลือด และยัง<br />

ชวยตานการกอมะเร็ง และลดขนาดของเซลลมะเร็งได นอกจากนี้ยังมีสวนของ<br />

น้ํามันรําขาว ซึ่งนอกจากจะมีจุดเดนที่มีองคประกอบของกรดไขมันที่ใหความสมดุล<br />

เหมาะกับความตองการของรางกายแลว ยังมีสารพฤษเคมีเปนองคประกอบอยู<br />

หลายชนิดที่สงผลตอการตานโรคในแนวทางแตกตางกันไป เชน แกมมา-ออริซานอล<br />

ซึ่งมีบทบาทสําคัญในวงการเครื่องสําอาง โดยเฉพาะดานการบํารุง และปกปอง<br />

รักษาผิวกายอันเกิดจากผลของแสงอัลตราไวโอเลตไดอยางมีประสิทธิภาพ<br />

นอกจากนี้ สารออริซานอลในน้ํามันรําขาวชวยลดปริมาณคอเลสเตอรอลชนิด LDL<br />

แตจะชวยเพิ่มปริมาณของคอเลสเตอรอลชนิด HDL ซึ่งไปทําหนาที่ลดการเกาะตัว<br />

ของเกล็ดเลือดในกระแสเลือดได ดังที่กลาวมาขางตนจะเห็นแลววาการรับประทาน<br />

ขาวกลองนั้นดีกวาขาวขาวอยางไร แตไมเพียงเทานี้ นอกจากขาวกลองจะมีประโยชน<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 173


อยางยิ่งในดานของสุขภาพโดยตรงแลว ยังมีประโยชนในดานตาง ๆ อีก เชน ในดาน<br />

ของพลังงาน การรับประทานขาวกลองมีสวนชวยประหยัดพลังงานซึ่งหากมองกัน<br />

อยางผิวเผินอาจจะมองวาเรื่องของการประหยัดพลังงานกับเรื่องของขาวเปนคนละ<br />

เรื่องกัน แตมีความเกี่ยวของกันเนื่องจากการสีขาวตองใชไฟฟาจํานวนมาก<br />

จากการศึกษาการใชพลังงานในการสีขาวของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย<br />

(กฟผ.) พบวาการไดมาซึ่งขาวขาวที่คนไทยนิยมบริโภคนั้นตองใชพลังงานไฟฟาใน<br />

การกะเทาะขาวเปลือกออก จากนั้นตองผานกระบวนการขัดสีอีกถึง 3 ครั้ง แตหาก<br />

กะเทาะขาวเปลือกเพียง 1 ครั้งใหเปนขาวกลองจะสามารถลดการใชไฟฟาใน<br />

กระบวนการขัดสีทั้งหมดไดถึง 5 เทา นอกจากนี้ยังสามารถนําขาวกลองการนําไป<br />

แปรรูปเพื่อเปนการเพิ่มรายไดใหกับชุมชน ไดแก น้ําขาวกลอง และสบูน้ํามันรําขาว<br />

ซึ่งลวนเปนผลิตภัณฑที่เกิดจากภูมิปญญาชาวบานทั้งสิ้น อีกทั้งยังมีการผลิตเขาสู<br />

ตลาดตางประเทศอีกดวย<br />

การบริโภคขาวกลองเทากับไดทั้งอาหารและยาปองกันโรคไปในตัว และ<br />

สามารถชวยประหยัดคาใชจายดานการรักษาพยาบาลสุขภาพของทานและ<br />

ครอบครัวไดมาก เมื่อพิจารณาจากคุณประโยชนดานตาง ๆ แลว เรานาจะหันมา<br />

บริโภคขาวกลองใหมากขึ้นเพื่อสุขภาพที่ดีของตัวเราเอง แตขาวกลองก็ยังมีจุดดอย<br />

ซึ่งทําใหคนไมนิยมบริโภคนั่นคือ ขาวกลองไมนุมเทาขาวขาว ดังนั้นในการ<br />

รับประทานขาวกลองควรหุงขาวกลองใหนานกวาปกติ และเคี้ยวขาวนาน ๆ เทานี้ก็<br />

ไดรับประทานขาวกลองที่อรอย และดีตอสุขภาพแลวคะ<br />

แหลงอางอิง<br />

สนม ประดิษฐดวง. 2551.ขาว ในมิติของอาหารตานโรค. กรุงเทพฯ : ธนาเพรส จํากัด.<br />

ดวงจันทร เฮงสวัสดิ์.2547.เสริมสุขภาพตามวิถีธรรมชาติดวย...ขาวกลอง อาหาร. 34(9)<br />

174<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย.2544. ขาวกลอง ของดีของไทย. อุตสาหกรรมสาร.<br />

44(กันยายน-ตุลาคม)<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 175


อันตรายจากเครื่องเลนเอ็มพี 3 (MP3)<br />

อนุเทพ ภาสุระ<br />

เครื่องเลนเอ็มพี 3 (MP3) หรือไอพอด (IPod) เปนสุดยอดเทคโนโลยีดาน<br />

เครื่องเสียงแบบพกพาที่กําลังไดรับความนิยมจากผูบริโภคโดยเฉพาะในกลุมวัยรุนที่<br />

นิยมชมชอบการฟงเพลง เนื่องจาก เครื่องเลน เอ็มพี3 มีขนาดเล็ก พกพาไดสะดวก<br />

สามารถบันทึกเพลงไดมาก และที่สําคัญ คือ สามารถรับฟงเสียงเพลงจากหูฟงได<br />

โดยตรง แตจากผลการสํารวจปญหาการไดยินของกลุมวัยรุนในประเทศสหรัฐอเมริกา<br />

พบวา กลุมตัวอยางจํานวนมาก มีความผิดปกติในการรับฟงเสียง สาเหตุประการหนึ่ง<br />

เปนเพราะปจจุบันเด็กวัยรุนนิยมฟงเพลงโดยใชหูฟงเอ็มพี3 รวมไปถึงการใชหูฟงของ<br />

เครื่องโทรศัพทมือถือทั้งระบบธรรมดาและบลูทูธ ซึ่งการใชหูฟงประเภทนี้ นอกจากจะ<br />

สงผลตอภาวะการไดยินแลว ยังทําใหสมองมีโอกาสที่จะไดรับรังสีคลื่นวิทยุอีกดวย<br />

โดยปกติหูคนเราสามารถรับเสียงไดประมาณ 80 เดซิเบลเทานั้น แตในการ<br />

ฟงเพลงจากเครื่องเลน เอ็มพี 3 นั้นผูฟงอาจรูสึกวาเสียงไมดังเทาไรนัก แตถาหากวัด<br />

ระดับความดังของเสียงอยางจริงจังจะพบวาบางคนฟงเพลงเสียงดังมากกวา 100<br />

เดซิเบล ซึ่งโดยทฤษฎีแลวการไดรับเสียงถึงระดับนี้ สามารถที่จะทําลายประสาท<br />

การรับเสียงหรืออาจจะกระทบตอแกวหู จนทําใหเกิดปญหาตอประสาทหูในระยะ<br />

ยาวได โดยอาการเริ่มตนของผูที่ประสาทหูผิดปกติ มีหลายอาการแตที่พบมาก คือ<br />

การไดยินเสียงวิ้ง ๆ ในหู ทั้งที่ไมไดเปดเพลงหรือถอดหูฟงออกแลว เพราะปลาย<br />

ประสาทเกิดการกระทบกระเทือนจากเสียงที่มากระตุน และยังอาจเกิดอาการทรงตัว<br />

176<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


ผิดปกติ เชน ตื่นนอนแลวมีอาการมึนงง ทรงตัวไมได ฯลฯ อาการเชนนี้เกิดจาก<br />

ประสาทหูเสื่อมหรือที่เรียกงาย ๆ วา "หูเสื่อม" ซึ่งเปนภาวะที่ไดยินเสียงลดลงหรือ<br />

ไมไดยินเลย จนถึงการสูญเสียการไดยิน หูอื้อ หูหนวก หรือหูอึง องคประกอบที่ทําให<br />

ประสาทหูเสื่อมเนื่องจากเสียง ไดแก ความเขมของเสียง เสียงดังมากจะยิ่งทําลาย<br />

ประสาทหูมาก ความถี่ของเสียง เสียงที่มีความถี่สูงหรือแหลมจะทําลายประสาทหู<br />

มากกวาเสียงที่มีความถี่ต่ํา ระยะเวลาที่ไดยินเสียง ยิ่งสัมผัสกับเสียงเปนเวลานาน<br />

ประสาทหูจะยิ่งเสื่อมมาก ลักษณะของเสียงที่มากระทบ เสียงกระแทกไมเปนจังหวะ<br />

จะทําลายประสาทหูมากกวาเสียงที่ดังติดตอกันไปเรื่อย ๆ ความไวตอการเสื่อมของ<br />

หู เปนลักษณะเฉพาะตัวของแตละคน ผูปวยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง จะเกิด<br />

ประสาทหูเสื่อมไดงายกวาคนปกติ<br />

การใชหูฟงจากเครื่องเลนเอ็มพี3 ที่เปดเสียงดังมาก ๆ นอกจากจะทําให<br />

เกิดปญหาตอประสาทหูแลว ยังพบวาอาจกอใหเกิดปญหาตอสุขภาพอื่น ๆ ไดแก<br />

โรคความดันโลหิตสูง ใจสั่น หัวใจเตนเร็ว มือเทาเย็น ระบบไหลเวียนโลหิตบกพรอง<br />

ทําใหเกิดความเครียดหรือการตื่นตระหนก และอาจพัฒนาไปสูอาการซึมเศราและ<br />

โรคจิตประสาท ทําใหขาดสมาธิ การวิเคราะหขอมูล การเรียนรูและการรับฟงขอมูล<br />

ลดลง รวมถึงกระตุนพฤติกรรมกาวราว เนื่องจากเสียงดังจะเราอารมณใหสรางความ<br />

รุนแรง และอาจถึงขั้นสูญเสียการควบคุมตนเองจนทํารายผูอื่นได แมไดยินเสียงดัง<br />

เพียงเล็กนอย นอกจากนี้หูฟงที่ใชฟงเพลงนั้นที่จริงแลวเปนแหลงสะสมเชื้อแบคทีเรีย<br />

และเชื้อโรค ซึ่งจะทําใหเปนโรคหนองในหูและการอักแสบในชองหูได<br />

ทานผูฟงคงจะไดเห็นถึงอันตรายของการใชเครื่องเลนเพลงเอ็มพี 3 กันแลว<br />

นะครับ วันนี้ผูเขียนจึงอยากจะแนะนําถึงขอปฏิบัติและการปองกันตนเองเพื่อเปน<br />

การลดปญหาดังกลาว ไดแกควรเปดระดับความดังเสียงของเครื่องเลนไวไมเกิน<br />

รอยละ 60 ของระดับเสียงสูงสุดที่เครื่องมีอยู เมื่อผูฟงกําลังฟงเพลงจากเครื่องเลน<br />

เอ็มพี 3 อยูนั้นยังสามารถไดยินเสียงจากสิ่งรอบตัวได ระดับเสียงที่ฟงอยูนั้นจะตอง<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 177


ไมรบกวนการไดยินจนตองตะโกนคุยกับคนอื่นหรือทําใหมีอาการหูอื้อ รวมทั้งควร<br />

หลีกเลี่ยงการใชหูฟงรวมกับผูอื่นเพราะอาจจะทําใหติดเชื้อโรคที่สะสมอยูใน<br />

หูฟงได และสุดทายคือ การเปลี่ยนฟองน้ําและทําความสะอาดหูฟงเปนประจํา<br />

เพื่อสุขอนามัยที่ดีตอตัวทานผูฟงเอง<br />

แหลงอางอิง<br />

หมวยเล็ก. 2549. MP3 : อาจทําใหหูและปอดแย. ใกลหมอ. 30 (11): 68-69. /<br />

Vogel, I. et al. 2010. Estimating Adolescent Risk for Hearing Loss Based on Data<br />

From a Large School-Based Survey. American Journal of Public<br />

Health. 100 (6): 1095-1100.<br />

178<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


ใครวาระบบขับถายไมสําคัญ<br />

สุบัณฑิต นิ่มรัตน<br />

สวัสดีคะทานผูฟงกลับมาพบกันอีกครั้งแลวนะคะ กับสาระดี ๆ ที่ดิฉัน<br />

นํามาฝากเหมือนอยางเคย ทานผูฟงทราบไหมคะวามนุษยเรานั้นไมวาจะร่ํารวยหรือ<br />

ยากดีมีจนแคไหน สุดทายแลวก็มีกิจกรรมพื้นฐานที่ทําใหมีความสุขที่แทจริง หรือ<br />

Basic need ที่ไมแตกตางกันคะ นั่นก็คือ การไดรับประทานอาหารในยามหิว การได<br />

นอนในยามงวง การไดมีกิจกรรมเปยมสุขกับคนที่เรารัก และสุดทายการไดขับถาย<br />

เมื่อลําไสเรียกรองคะ ในวันนี้เรามาคุยกันเกี่ยวกับสารอาหาร 2 กลุมใหญที่เราอาจ<br />

รับประทานกันอยูทุกวัน และมีประโยชนตอรางกายมหาศาล โดยเฉพาะในดานการ<br />

ขับถายคะ แตกลับไมคอยเปนที่รูจักในวงกวางเทาที่ควรคะ<br />

อาหารกลุมแรกนะคะ เปรียบเสมือนเพื่อนที่คอยใหความชวยเหลือเรามา<br />

โดยตลอดคะ แตเรานั้นไมคอยไดใหความสําคัญเทาไหร เพื่อนที่ถูกลืมคนนี้ชื่อวา<br />

ไฟเบอร หรือ เสนใยอาหาร เสนใยอาหารนี้จัดอยูในกลุมอาหารประเภทแปงหรือ<br />

คารโบไฮเดรต ที่มาจากพืชและไมถูกยอยสลายโดยน้ํายอยในกระเพาะหรือลําไสคะ<br />

พบไดมากใน ผัก ผลไม ถั่ว ขนมปงโฮลวีต ซีเรียลธัญพืช เสนใยอาหารแบงออกเปน<br />

สองกลุมใหญ ๆ คือ เสนใยอาหารแบบละลายน้ํากับแบบไมละลายน้ําคะ ตัวอยาง<br />

ของเสนใยอาหารแบบละลายน้ํา ไดแก ขาวโอต ถั่ว แอปเปล สตรอวเบอรรี ลูกแพร<br />

บลูเบอรรี เปนตน สวนเสนใยอาหารแบบไมละลายน้ํา ไดแก ขาวกลอง ขนมปงโฮลวีต<br />

ซีเรียลธัญพืช แครอท แตงกวา มะเขือเทศ เปนตนคะ ดวยคุณสมบัติของเสนใย<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 179


อาหารโดยเฉพาะแบบไมละลายน้ํานั้นที่มีสวนชวยในเรื่องของการเคลื่อนตัวของ<br />

อาหารที่เรารับประทานเขาไปไหลไปตามทางเดินอาหารผานกระเพาะ ลําไสเล็ก<br />

ลําไสใหญ และถูกขับออกมาอยางไดสะดวก จึงเชื่อกันวาเสนใยอาหารนี้ชวยลด<br />

การดูดซึมของสารพิษตาง ๆ จากอาหารที่เรารับประทานเขาไปสูลําไส และนอกจากนี้<br />

ยังสามารถชวยรักษาอาการทองผูกไดอีกดวยคะ<br />

คุณสมบัติหนึ่งที่สําคัญของเสนใยอาหารโดยเฉพาะเสนใยอาหารแบบ<br />

ละลายน้ําคือ ชวยลดการดูดซึมน้ําตาลในลําไส กลาวคือ หากเรารับประทานอาหาร<br />

ประเภทแปงที่มีเสนใยสูง จะทําใหแปงถูกเปลี่ยนเปนน้ําตาลในกระแสเลือดนอยลง<br />

คะ และในอัตราที่ชาลงดวย สงผลใหฮอรโมนอินซูลินไมตองทํางานหนัก ผลตอ<br />

สุขภาพที่ตามมาคือ ลดโอกาสเกิดโรคเบาหวาน หรือชวยควบคุมน้ําตาลในผูปวย<br />

เบาหวานไดดีขึ้นอีกดวยคะ นอกจากจะลดการดูดซึมของน้ําตาลแลว เสนใยอาหาร<br />

ยังไปขัดแขงขัดขากับพวกไขมัน ใหดูดซึมเขาสูรางกายไดนอยลงอีกดวย ผลที่<br />

ตามมาก็คือ ระดับไขมันในเสนเลือดลดลง และมีประโยชนตอผูปวยที่เปนโรคเสน<br />

เลือดหัวใจตีบและไขมันในเสนเลือดสูงอีกดวยคะ<br />

จากคุณสมบัติดังกลาวแลวนะคะ จึงทําใหนักวิจัยสวนใหญเชื่อวา เสนใย<br />

อาหารนาจะมีคุณสมบัติในสวนชวยในเรื่องของการปองกันมะเร็งลําไสใหญไดคะ<br />

แตจากการศึกษาในระยะหลังโดยเฉพาะการศึกษาขนาดใหญของมหาวิทยาลัย<br />

ฮารเวิรด ซึ่งใชกลุมตัวอยางในการทดลองนี้ถึง 8,000 คน พบวา การรับประทาน<br />

เสนใยอาหารในปริมาณมาก ๆ เปนประจํานั้น ไมไดชวยลดความเสี่ยงของการเปน<br />

มะเร็งลําไสใหญไดแตอยางใดคะ คุณประโยชนของเสนใยอาหารที่มีตอสุขภาพนั้น<br />

ยังมีอีกหลายประการที่ทําใหทานผูฟงที่รักสุขภาพนั้น ไมควรจะเมินเฉยตอเพื่อน<br />

คนนี้เลยคะ<br />

ทานผูฟงคะ เรามาพูดถึงเพื่อนเกาอีกคนหนึ่งที่จะมาชวยใหทานผูฟง<br />

รับประทานงาย ถายคลอง เพื่อนคนที่สองของเรานี้มีชื่อวา โพรไบโอติก (Probiotics)<br />

180<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


ในลําไสของคนเรานั้นจะมีเชื้อแบคทีเรียอาศัยอยูมากมายคะ ในภาวะปกติแบคทีเรีย<br />

สายพันธุที่เปนมิตรกับเราโดยมี Lactobacillus acidophilus และLactobacillus<br />

bifidus เปนแกนนํา แบคทีเรียกลุมนี้จะมีสวนทําใหเชื้อกอโรคตาง ๆ ในลําไสของเรา<br />

ไมสามารถเจริญไดคะ แตก็มีบางครั้งที่รางกายเกิดการสูญเสียสมดุลของลําไส<br />

เนื่องมาจากสาเหตุหลายประการ เชน การรับประทานยาปฏิชีวนะ ซึ่งเปรียบเสมือน<br />

ระเบิดปรมาณูถลมลําไสคะ ทําใหเชื้อแบคทีเรียตาง ๆ ตายหมด หรือมีเชื้อโรค<br />

แปลกปลอมจากอาหารลุกลามได อาจทําใหเกิดทองเสีย เซลลในลําไสลมตาย<br />

แบคทีเรียตาง ๆ ก็ตายตามไปดวย<br />

การรับประทานโพรไบโอติกจะชวยเพิ่มปริมาณของแบคทีเรียในลําไสคะ<br />

ซึ่งชวยใหความสมดุลของลําไสกลับคืนมา การขับถายก็เปนไปอยางปกติ แกไขทั้ง<br />

อาการทองผูกทองเสีย และยังมีการศึกษาพบวา เชื้อแบคทีเรียที่ดีเหลานี้อาจมี<br />

ความสัมพันธกับภูมิคุมกันของรางกายอีกดวยคะ โดยชวยใหระบบภูมิคุมกันที่<br />

ทํางานมากเกินไปกลับมาทํางานปกติอีกดวยคะ อยางไรก็ตามคุณสมบัติในการ<br />

รักษาโรคของโพรไบโอติกยังขาดการศึกษาขนาดใหญพอที่จะยืนยันผลการรักษาได<br />

คะ ทานผูฟงสามารถเพิ่มปริมาณของแบคทีเรียที่เปนมิตรกับลําไลดวยวิธีธรรมชาติ<br />

โดยรับประทานอาหารที่ผานการหมัก เชน ถั่วหมักญี่ปุน (นัตโตะ) โยเกิรต นมเปรี้ยว<br />

เนยแข็ง เพื่อเสริมสรางกองทัพที่แข็งแรงของระบบทางเดินอาหารไดคะ<br />

แตอยางไรก็ตาม การเลือกรับประทานโยเกิรตหรือนมเปรี้ยว ควรดูปริมาณ<br />

น้ําตาลที่ผสมมาดวยนะคะวาเปนชนิดที่มีน้ําตาลสูงหรือเปลา ดังนั้นการรับประทาน<br />

โยเกิรตที่มีน้ําตาลสูงเปนประจําอาจมีโทษตอรางกายมากกวาประโยชนนะคะ<br />

นอกจากกิจกรรมที่ดิฉันไดกลาวมาขางตนแลว ยังมีกิจกรรมที่เปนพื้นฐานของการ<br />

ดํารงชีวิต นั่นก็คือ การดูแลสุขภาพของตนเองคะ เพราะหากทานผูฟงมีสุขภาพที่ดีแลว<br />

ก็จะมีสุขในการรับประทานอาหาร การนอน การขับถาย และที่สําคัญที่สุดคือการได<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 181


ใชเวลาอยูกับคนที่เรารักคะ สําหรับวันนี้เวลาก็หมดลงอีกแลวคะ ดิฉันคงตองขอลา<br />

ไปกอน แลวพบกันใหม สวัสดีคะ<br />

แหลงอางอิง<br />

แพทยหญิงธิดากานต รัตนบรรณางกูร. 2551. Anti-Aging สูตรลับชะลอวัย.<br />

กรุงเทพฯ: บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จํากัด (มหาชน)<br />

สงา ดามาพงษ. 2550. กินใยอาหารจากธรรมชาติ ชวยระบบขับถายคลอง ทองไมผูก.<br />

เขาถึงไดจาก http://chuankin.com/news_articles.php? na_id=30 เมื่อ<br />

วันที่ 30 มิถุนายน <strong>2553</strong>.<br />

AMC Holistic & Natural way for health & rejuvenation. <strong>2553</strong>. โปรไบโอติก คืออะไร?<br />

(Probiotic). เ ขาถึงไดจาก http://www.amcclinic.com/probiotic.php<br />

เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน <strong>2553</strong><br />

182<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


16 กันยายน วันโอโซนสากล...<br />

โอโซนกับอาหาร<br />

สวามินี ธีระวุฒิ<br />

ในวันที่ 16 กันยายน ของทุกป องคการสหประชาชาติไดประกาศใหเปน<br />

วันโอโซนสากล เพื่อใหทุกประเทศตระหนักถึงการลดและเลิกการผลิตและการใชสาร<br />

ทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน โดยโอโซน เปนกาซสีน้ําเงินในชั้นบรรยากาศโลกที่มี<br />

คุณประโยชนตอสิ่งมีชีวิตบนโลกอยางมาก เพราะทําหนาที่ดูดซับรังสีตาง ๆ ที่เปน<br />

อันตรายตอสิ่งมีชีวิตบนโลก โดยเฉพาะรังสียูวีบี เพื่อใหอยูในปริมาณที่เหมาะสม<br />

และยังชวยลดความรอนสะสมในบรรยากาศอันเกิดจากรังสียูวี ทําใหลดภาวะความ<br />

เสี่ยงตอการเปนมะเร็งผิวหนัง โรคตาตอกระจก และปองกันระบบนิเวศวิทยามิให<br />

เสียสมดุลได สวนสารเคมีที่ทําลายกาซโอโซนนั้น ไดแก สารเคมีที่มีองคประกอบ<br />

พื้นฐานอยาง คลอรีน ฟลูออรีน หรือ โบรมีน ซึ่งมีศักยภาพในการทําปฏิกิริยากับ<br />

โมเลกุลโอโซนที่อยูในชั้นบรรยากาศใหเกิดการแตกตัว สารทําลายโอโซนที่เรารูจักกันดี<br />

คือ สารคลอโรฟลูออโรคารบอน หรือ สารซีเอฟซี ซึ่งใชเปนสารทําความเย็นในระบบ<br />

ปรับอากาศรถยนต ตูเย็น ตูแช เปนตน สวนสารทดแทนสารซีเอฟซี คือ สารไฮโดร<br />

คลอโรฟลูออโรคารบอน หรือ เอชซีเอฟซี ใชเปนสารทําความเย็นในระบบปรับอากาศ<br />

และการผลิตโฟม ซึ่งยังคงเปนสารทําลายโอโซนเชนเดียวกัน แมจะในปริมาณที่นอย<br />

กวาก็ตาม สวนสารทําลายโอโซนอื่น ๆ เชน สารเฮลอน ที่ใชเปนสารดับเพลิง<br />

สารเมทิลคลอโรฟอรม ถูกใชในการทําความสะอาดชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส สารคารบอน<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 183


เตตระคลอไรด ใชเปนสารทดสอบในหองปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร และสารเมทิล<br />

โบรไมด ที่ใชในการฆาแมลงกําจัดศัตรูพืช ซึ่งหากโอโซนถูกทําลายดวยสารทั้งหมดที่<br />

กลาวมานั้น จะสงผลตอการเพิ่มการสะสมความรอนในบรรยากาศอันเกิดจากรังสี<br />

ยูวี ทําใหเกิดความเสี่ยงตอการเปนมะเร็งผิวหนัง โรคตาตอกระจก และระบบนิเวศ<br />

เสียสมดุลได ซึ่งนี่คือ บทบาทหลัก ๆ ของโอโซนตอมนุษย<br />

แตอีกบทบาทของโอโซนที่ทานผูฟงหลายทานอาจไมเคยรูมากอน คือ เรา<br />

สามารถใชโอโซนในการเก็บรักษาผักและผลไมหลายชนิด เชน แอปเปล มันฝรั่ง<br />

มะเขือเทศ สตอเบอรี่ บร็อคเคอรี่ สม องุน ขาวโพด ที่เก็บรักษาในหองเย็นได โดย<br />

โอโซนที่มีความเขมขนต่ํา ๆ สามารถปองกันการเจริญของเชื้อรา แบคทีเรียในอากาศ<br />

ที่ผิวของผลิตภัณฑ และยังสามารถทําลายจุลินทรียที่ผิวของอาหารทําใหสามารถ<br />

เก็บรักษาผักและผลไมไดนานขึ้น โดยไมทําใหเกิดตําหนิและการเปลี่ยนแปลงสี<br />

ในป 1997 โอโซนไดรับการยอมรับวามีความปลอดภัยในการใชและไมมีสารเคมี<br />

ตกคางยอมใหมีการใชโอโซนในอุตสาหกรรมได โดยภาคอุตสาหกรรมไดใชโอโซนใน<br />

การเปนสารทําความสะอาดและฆาเชื้อ เนื่องจากโอโซนเปนตัวออกซิไดซที่แรงและ<br />

ดีกวาคลอรีนถึง 1.5 เทา ทั้งยังสามารถฆาเชื้อจุลินทรียที่กอใหเกิดโรคจากอาหารได<br />

ดีกวาคลอรีน และตัวโอโซนเองมีพลังโมเลกุลสูง มีครึ่งชีวิตในน้ําที่อุณหภูมิหองนาน<br />

20 นาที แตกตัวเปนออกซิเจนอยางงายและไมมีการตกคางในอาหาร นอกจากนี้<br />

โอโซนยังถูกใชในการปรับสภาพน้ําที่ใชแลวเพื่อนํากลับมาใช สําหรับกระบวนการ<br />

ผลิตผักและผลไม โดยใชสําหรับการลางทําความสะอาดผักและผลไม น้ําที่ใชในการ<br />

ทําความสะอาดนี้เปนน้ําที่ผานกระบวนการผสมดวยโอโซนและผานกระบวนการ<br />

กรอง ซึ่งเปนน้ําที่ปราศจากแบคทีเรีย สี และสารปนเปอนอื่น ๆ รวมทั้งน้ําที่ใชแลว<br />

สามารถนํากลับมาใชใหมไดอีกครั้งเพื่อลดการใชน้ําได ระบบการใชโอโซนนั้นไม<br />

เหมือนกับการใชคลอรีน กลาวคือ น้ําที่ใชแลวจะถูกคายประจุดวยโอโซน ซึ่งทําให<br />

ไมมีสารเคมีตกคาง และไมกอใหเกิดปญหากับสิ่งแวดลอมและระบบน้ําใตดิน<br />

184<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


โอโซนสามารถกําจัดยาฆาแมลงและสารเคมีที่ตกคางได เชน สารตกคางที่เกิดจาก<br />

คลอรีน เปนตน นอกจากนี้โอโซนสามารถใชเปนสารทําความสะอาดในสถานที่เก็บ<br />

อาหารได หรือใชเปนสารทําความสะอาดในระหวางการขนสงเพื่อปองกันแบคทีเรีย<br />

รา ยีสตที่ผิวของผลิตภัณฑ เราสามารถใชโอโซนกําจัดรสชาติที่ไมพึงประสงคอันเกิด<br />

จากแบคทีเรีย และยังสามารถกําจัดแกสเอทีลีนเพื่อยืดอายุการสุกของผลไมได แต<br />

โอโซนก็ไมใชพระเอกตลอดกาล เพราะเปนตัวออกซิไดซอยางแรงที่สามารถทําลาย<br />

กรดไขมันอิ่มตัว เชน กรดโอเลอิก ใหกลายเปนอัลดีไฮด และกรดอื่น ๆ ปฏิกิริยานี้มัก<br />

เกิดที่ไขมันของเยื่อหุมเซลล ทําใหเยื่อหุมเซลลเสียสภาพไป เซลลอาจตายหรือกลาย<br />

พันธุได นาน ๆ เขาอาจเปนมะเร็งได ดังนั้นการเลือกใชโอโซนในการถนอมอาหารจึง<br />

ไมควรใชในปริมาณที่มากเกินไป<br />

แหลงอางอิง<br />

กรมอุตุนิยมวิทยา. 2550. โอโซน. เขาถึงไดจาก. http://ozone.tmd.go.th/pub/20%<br />

20Q&A%20about%20the%20O3%20layer%202006%20update.pdf<br />

. วันที่ 18 มิ.ย. <strong>2553</strong><br />

สํานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ. 2545. ภาวะมลพิษ ภัยใกลตัว. กรุงเทพฯ.<br />

38 หนา.<br />

อมร ศิลาสุวรรณ. 2546. การใชโอโซน เพื่อยืดอายุการเก็บรักษา ผักและผลไม.<br />

วารสารสถาบันอาหาร. 5(28), 59-61.<br />

Charles D. S, Dee M. G., Rip G. R and Jurgen H. S. 2002. Studies on the Use of<br />

Ozone in Production Agriculture and Food Processing. Proceedings of<br />

the International Ozone Association 2002.<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 185


เบาหวาน...ไมหวานอยางที่คิด<br />

สุบัณฑิต นิ่มรัตน<br />

สวัสดีคะ ทานผูฟงทุกทาน วันนี้ดิฉันมีความรูเกี่ยวกับโรค ๆ หนึ่งมาฝาก<br />

กันคะ นั่นก็คือ โรคเบาหวานนั่นเองคะ ทานผูฟงบางทานอาจจะไมทราบวา<br />

โรคเบาหวานคืออะไร มีความสําคัญอยางไร<br />

กอนอื่นเรามาทําความรูจักกับโรคนี้กอนนะคะ โรคเบาหวาน เปนโรคที่<br />

ผูคนสวนใหญรูจักกันพอควร แตผูปวยสวนใหญยังไมทราบ ความสําคัญของการ<br />

รักษาโรคนี้นัก เพราะพวกเราแคทราบวา โรคเบาหวาน เปนโรคที่มีระดับน้ําตาลใน<br />

เลือดสูงแตในความเปนจริงแลวเปนโรครายที่หากไมไดรับดูแลอยางดีแลว จะเกิด<br />

ผลเสียตามมามากมายคะ แพทยโรคหัวใจและแพทยโรคไต ทราบดี เพราะผูปวย<br />

โรคหัวใจและไตวายเรื้อรังสวนใหญนั้นจะเปนเบาหวานดวย นพ.ระพีพล กุญชร<br />

ณ อยุธยา อายุรแพทยโรคหัวใจ โรงพยาบาลวิชัยยุทธ กลาววาโรคเบาหวานเปน<br />

ความผิดปกติ เนื่องจากรางกายไมสามารถนําน้ําตาลในรางกาย ไปใชไดอยางเต็มที่<br />

เนื่องจากขาดฮอรโมนอินซูลินหรือไมขาดฮอรโมนอินซูลิน แตรางกายไมตอบสนอง<br />

ตอฮอรโมนตัวนี้ ผลที่ตามมาคือ ระดับน้ําตาลในเลือดสูงกวาปกตินั้นเองซึ่งปจจุบัน<br />

หากระดับน้ําตาล ในเลือดที่เจาะหลังงดอาหาร 6 ชั่วโมงแลว ยังสูงกวา 126 มิลลิกรัม<br />

ตอเดซิลิตร เราก็เรียกไดวาเปน โรคเบาหวาน ไดแลวคะ<br />

นอกจากผูปวยโรคเบาหวานควรจะวิตกกับสภาวะตาง ๆ ของโรคนี้แลว<br />

ผูปวยเสี่ยงตอโรคแทรกซอนตอสวนตาง ๆ ไดอีกดวยคะ เชน ตา อาจเปนตอกระจก<br />

186<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


กอนวัย ประสาทตาหรือจอตาเสื่อม และอาจทําใหตาบอดในที่สุด ระบบประสาท<br />

ผูปวยอาจะเปนปลายประสาทอักเสบ มีอาการชาหรือปวดแสบปวดรอนตามปลาย<br />

มือปลาย เทา ซึ่งมักจะทําใหมีแผลเกิดขึ้นที่เทาไดงายและอาจลุกลามจนเทาเนา<br />

กระเพาะปสสาวะไมทํางาน ทําใหกลั้นปสสาวะไมอยูหรือไมมีแรงเบงปสสาวะ<br />

กระเพาะอาหารไมทํางาน มีอาการจุกเสียด อาหารไมยอย ทองผูก ทองเดิน<br />

โดยเฉพาะมื้อเชาถึงกอนเที่ยง ผูปวยชายมักมีภาวะหยอนสมรรถภาพทางเพศ ไต<br />

มักเกิดภาวะไตวาย มีอาการบวม ซีด ความดันโลหิตสูง ซึ่งเปนสาเหตุการเสียชีวิต<br />

ของผูปวยเบาหวานที่พบไดคอนขางบอย ภาวะหลอดเลือดแดงแข็ง ทําใหเปน<br />

อัมพฤกษ อัมพาต และโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ ถาหลอดเลือดแดงที่เทาแข็งและตีบ<br />

เลือดไปเลี้ยงเทาไมพออาจทําใหเทาเย็น เปนตะคริว ปวดขณะเดินมากๆ หรืออาจทํา<br />

ใหเปนแผลหายยากหรือนิ้วเทาเปนเนื้อตายเนา ภูมิคุมกันต่ํา เปนโรคติดเชื้อไดงาย<br />

เชน วัณโรคปอด กระเพาะปสสาวะอักเสบ กรวยไตอักเสบ กลาก โรคเชื้อรา เปนฝ<br />

หรือพุพองบอยบริเวณนิ้วเทาหรือชองคลอดคะ<br />

ดังนั้นการตรวจหาความเสี่ยงของโรคเหวานจึงเปนเรื่องที่มีความสําคัญ<br />

มากในปจจุบัน การตรวจวาจะมีความเสี่ยงหรือไมนั้นสามารถตรวจไดหลายวิธี<br />

ดวยกันคะ เชน การตรวจคาเอฟบีเอส (FBS; Fasting Blood Sugar) เปนการ<br />

ตรวจวัดระดับน้ําตาลในเลือด หลังจากอดอาหารและเครื่องดื่มใด ๆ ยกเวนน้ําเปลา<br />

เปนเวลา 8 ชั่วโมงกอนที่จะมาตรวจ ในคนปกติทั่วไปควรมีคาอยูระหวาง 70-99<br />

มิลลิกรัม/เดซิลิตร แตถามีคาเกินกวา 126 เปนตนไปจัดไดวาเปนโรคเบาหวานคะ<br />

การตรวจวัดปริมาณเม็ดเลือดแดงที่มีโมเลกุลของน้ําตาลผูกติดอยู (HbA1c)<br />

จะแสดงใหทราบถึงระดับน้ําตาลในระยะ 1-2 เดือนที่ผานมา มักใชในการตรวจผูที่<br />

เปนเบาหวานอยูแลว เพื่อดูวาควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดไดดีมากนอยเพียงใด<br />

ในชวง 1-2 เดือน คาในคนปกติจะมีคาต่ํากวา 5% คะ การตรวจคาอารบีเอส<br />

(RBS; Random Blood Sugar) เปนการสุมตรวจระดับน้ําตาลในเลือดระหวางวัน<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 187


โดยไมมีการอดอาหารมากอนคะ วิธีนี้ไมสามารถนํามาใชในการวินิจฉัยโรคได แต<br />

พอจะเปนแนวทางไดวามีความเสี่ยงตอการเปนโรคเบาหวานมากนอยเพียงใด โดย<br />

ใชขอสมมติฐานวาในโรคปกติที่ไมมีภาวะเบาหวาน ระดับน้ําตาลจะไมสูงหรือต่ํา<br />

ผิดปกติเกินไปนัก โดยคาที่ไดควรจะอยูในชวงระหวาง 70-125 มิลลิกรัม/เดซิลิตร คะ<br />

การตรวจคาโอจีทีที (OGTT; Oral Glucose Tolerance Test) เปนการตรวจที่<br />

เนนวัดประสิทธิภาพการทํางานของฮอรโมนอินซูลิน และการตอบสนองของรางกาย<br />

ตออินซูลิน ซึ่งเปนฮอรโมนที่มีหนาที่เก็บกวาดน้ําตาลในกระแสเลือดคะ โดยมีวิธีการ<br />

ตรวจคือ ใหผูตรวจดื่มน้ําหวานหนึ่งแกว (มีน้ําตาล 100 กรัม) แลววัดระดับน้ําตาลที่<br />

1, 2 และ 3 ชั่วโมง ตามลําดับ ในคนปกติจะมีระดับน้ําตาลสูงอยูในชั่วโมงแรก แตจะ<br />

ไมเกิน 180 เมื่อฮอรโมนอินซูลินทํางาน และจะลดลงในชั่วโมงที่สองและสาม และมี<br />

คาไมควรเกิน 155 และ 140 มิลลิกรัม/เดซิลิตร ตามลําดับคะ การตรวจวิธีนี้พบบอย<br />

ในการตรวจหาเบาหวานในผูหญิงตั้งครรภ และผูหญิงที่เปนโรคซิสตในรังไขคะ และ<br />

การตรวจวัดระดับของอินซูลินในภาวะอดอาหาร (Fasting Insulin) เพื่อตรวจ<br />

ภาวะดื้อตออินซูลินตั้งแตระยะที่ยังเปนไมมากคะ<br />

สวนผูที่สมควรไดรับการเจาะเลือดตรวจตรวจหาเบาหวาน คือ ผูที่มีประวัติ<br />

ครอบครัวพอแม พี่ หรือ นอง เปนเบาหวานควรจะตรวจเลือดแมวาคุณจะไมมีอาการ<br />

คะ คนอวน ที่น้ําหนักเกิน 20 เปอรเซ็นตของน้ําหนัก จะพบผูปวยเปนโรคเบาหวาน<br />

มากดังนั้นแนะนําวาควรจะเจาะเลือดตรวจเบาหวานเมื่อดัชนีมวลกายมากกวา<br />

25 คะ ผูที่มีอายุมากกวา 45 ป ผูที่ตรวจพบไอเอฟจี (IFG) คือ ระดับน้ําตาลในเลือด<br />

ภายหลังจากอดอาหารและสารใหพลังงานเปนเวลาอยางนอย 8 ชั่วโมงแลวพบวามี<br />

คาระหวาง 100-126 มิลลิกรัมตอเดซิลิตร หรือ ไอจีที (IGT) คือ สภาวะที่มีน้ําตาลใน<br />

เลือดสูงหลังไดรับกลูโคส ผูที่มีความดันโลหิตสูงมากกวา 140/90 มิลลิเมตรปรอท<br />

ระดับไขมันตัวที่ดีหรือเรียกวาแอลเอชดี (HDL) นอยกวา 35 มิลลิกรัมเปอรเซ็นต และ<br />

หรือคาทีจี (TG) หรือคาแสดงถึงระดับไขมันไตรกลีเซอรไรดมากกวา 250 มิลลิกรัม<br />

188<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


เปอรเซ็นต ผูที่ไมคอยไดออกกําลังกาย และผูที่มีประวัติเบาหวานขณะตั้งครรภหรือ<br />

น้ําหนักเด็กแรกคลอดมากกวา 4 กิโลกรัม คะ<br />

ทานผูฟงคะการที่เราดูแลสุขภาพตนไมใหเจ็บปวยนั้นถือวาเปนเรื่องที่ทาน<br />

ผูฟงควรทํานะคะ เพื่อใหหางไกลจากโรคเบาหวานคะ วันนี้ก็หมดเวลาของดิฉันก็<br />

หมดลงแลวนะคะ โอกาสหนาดิฉันจะนําเรื่องราวดี ๆ มาฝากทานผูฟงอีกคะ สําหรับ<br />

วันนี้สวัสดีคะ<br />

แหลงอางอิง<br />

นพ.ระพีพล กุญชร ณ อยุธยา. โรคเบาหวาน. เขาถึงไดจาก http://www.yourhealthy<br />

guide.com/article/ad-diabetes-disad.html . สืบคนเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม<br />

2552.<br />

เบาหวานโรคคุนหูที่ไมธรรมดา. เขาถึงไดจาก http://www.yourhealthyguide.com/<br />

article/ad-diabete-1.htm. สืบคนเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2552.<br />

โรคเบาหวาน. เขาถึงไดจาก http://www.siamhealth.net/public_html/Disease/<br />

endocrine/DM/intro.htm. สืบคนเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2552.<br />

โรงพยาบาลนครธน. โรคเบาหวาน. เขาถึงไดจาก http://www.nakornthon.com/<br />

Health_09.htm, สืบคนเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2552.<br />

สมจิตร ชุมจันทร, พลอยทราย บุษราคํา, ชิงชิง ฟูเจริญ, ปณิตา ลิมปะวัฒนะ, กิตติ<br />

ศักดิ์ สวรรยาวิสุทธิ์. 2550. ผลการรักษาผูปวยโรคความดันโลหิตสูงที่<br />

คลินิกโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลศรีนครินทร. ศรีนครินทรเวชสาร,<br />

22(1), 2-7.<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 189


เอี่ยมศิริ กิจประเสริฐ. Genogram เสนทางสูการสรางสุขภาวะชุมชน, เขาถึงไดจาก<br />

http://www.pcuinnovation.com/pcu/873, สืบคนเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม<br />

2552.<br />

190<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


รานอาหารริมถนน :<br />

แหลงสะสมสารพิษที่คุณมองขาม<br />

อนุเทพ ภาสุระ<br />

คงไมมีใครปฏิเสธวาการรับประทานอาหารเปนเรื่องใหญและเปนภารกิจที่<br />

ทุกคนตองกระทํา โดยเฉพาะในโลกปจจุบันที่มีแตความรีบเรง ผูคนตองแขงกับเวลา<br />

ในการเดินทางเพื่อไปประกอบกิจกรรมตางๆ ทําใหทุกคนตองประหยัดเวลา แมกระทั่ง<br />

ในเรื่องของการปรุงและการรับประทานอาหารในแตละมื้อ โดยเฉพาะเมื่อตองออก<br />

นอกบานหรือตองเดินทางไกล รานอาหารริมถนนหรือรานอาหารรถเข็นจึงเปนที่พึ่ง<br />

อยางดีสําหรับทุกคน อาหารที่ขายในรานอาหารดังกลาวมีหลายชนิดใหเลือก เชน<br />

ขาวราดแกง ขนมจีนน้ํายาหรือน้ําพริก ขาวเหนียว ไกยาง สมตํา กลวยทอด กวยเตี๋ยว<br />

ชนิดตางๆ รวมทั้งขนมหวานอาจเปนชิ้น เปนหอ จนถึงเปนถวย ๆ เครื่องดื่มมีทั้ง<br />

น้ําเปลา น้ําหวาน น้ําสมุนไพรและน้ําผลไมตามแตจะเลือก นับวาเปนแหลงศูนยรวม<br />

อาหารสําหรับผูคนที่มีเวลาจํากัดเลยทีเดียว<br />

ทานผูฟงอาจจะไมคิดวาอาหารที่มีจําหนายตามรานอาหารริมถนนอาจ<br />

เปนอันตรายตอผูบริโภคได เนื่องจากรานอาหารริมทางเหลานั้นมักจะมีทําเลที่ตั้ง<br />

ใกลถนนที่มีการจราจรหนาแนนหรืออาจจะตั้งอยูบนบาทวิถีริมถนนในเขตชุมชน<br />

ประกอบกับอาหารที่วางจําหนายในรานอาหารริมถนนมักจะเปดโลงใหผูซื้อไดเลือก<br />

โดยไมมีสิ่งปกคลุมหรือปองกันการปนเปอนของฝุนละอองหรือควันไอเสียจาก<br />

เครื่องยนตจากทั้งการสูดดมและการปนเปอนลงไปในอาหาร สิ่งเหลานี้ลวนแลวแต<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 191


ทําใหผูบริโภคเกิดความเสี่ยงจากการไดรับสารพิษจากการรับประทานอาหารจาก<br />

รานอาหารริมถนนได โดยที่นอกจากไอเสียจากควันรถยนตที่ซึมเขาไปในปอด ระหวาง<br />

การนั่งอยูในบริเวณนั้นแลว ไอเสียและควันพิษอาจจะมีการเจือปนลงไปในอาหารที่<br />

ไมมีฝาปดไดอีกดวย ควันดําของรถยนตที่ใชน้ํามันดีเซลนั้นประกอบดวยไอเสียเกิด<br />

จากการเผาไหมของน้ํามันเชื้อเพลิงในเครื่องยนตที่ไมสมบูรณและเขมาที่มี<br />

สวนประกอบของกาซหลายชนิด เชน กาซคารบอนมอนอกไซด กาซคารบอนไดออกไซด<br />

กาซไนตริกออกไซด กาซไนโตรเจน กาซซัลเฟอรไดออกไซด และสารประกอบ<br />

ไฮโดรคารบอนอื่น ๆ ซึ่งทั้งหมดนี้ลวนแตเปนสารที่เปนพิษตอรางกายเสีย โดยเฉพาะ<br />

ในสภาวะการจราจรคับคั่ง หากผูบริโภคสูดหายใจเอากาซคารบอนมอนอกไซดที่<br />

ลอยปะปนอยูในอากาศเปนจํานวนมากเขาไปในรางกายแลว กาซนี้จะไปแยงออกซิเจน<br />

โดยไปรวมกับฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง กลายเปนเม็ดเลือดแดงที่ไมสามารถ<br />

รวมตัวกับออกซิเจน รางกายจึงขาดออกซิเจนได ทําใหเกิดอาการเวียนศีรษะจนถึง<br />

ขั้นปวดศีรษะ หายใจลําบาก คลื่นไส หงุดหงิด เจ็บหนาอก และเปนลม นอกจาก<br />

ควันพิษดังกลาวแลว ยังพบวามีอนุภาคของสารเคมีทีลอยเจือปนอยูในไอเสียรถยนต<br />

ไดแก ผงคารบอน ตะกั่ว ฟนอล และยางเหนียวซึ่งเปนสารกอมะเร็งอีกดวย โดยเฉพาะ<br />

สารตะกั่วที่มีอยูในน้ํามันเชื้อเพลิง เมื่อถูกปลดปลอยออกมาจากทอไอเสียจะ<br />

สามารถเขาสูรางกายของมนุษยไดโดยผานทางอาหารที่สัมผัสกับไอเสียรถยนต<br />

องคการอนามัยโลกไดกําหนดใหคาต่ําสุดของสารตะกั่วในอาหารไดไมเกิน<br />

1 ไมโครกรัมตออาหาร 1 กรัม การรับประทานที่มีการปนเปอนของสารตะกั่ว<br />

เปนประจําและเปนเวลานานจึงเปนอันตรายตอสุขภาพได<br />

ทานผูฟงคงจะเห็นแลวนะครับวา แมรานอาหารริมถนนจะเปนที่พึ่งของ<br />

ผูมีรายไดนอย แตการรับประทานอาหารจากรานริมถนนอาจจะเปนอันตรายตอ<br />

สุขภาพของทานได ดังนั้น ผูบริโภคตองชวยตัวเองและควรตระหนักถึงความ<br />

ปลอดภัยของอาหาร โดยการเลือกรานอาหารที่ปฏิบัติถูกสุขลักษณะ เชน มีตูกระจก<br />

192<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


ปองกันฝุนและควันไมไหสัมผัสกับอาหารโดยตรง และรานอาหารไมตั้งอยูในบริเวณ<br />

ที่มีรถยนตพลุกพลานจนเกินไป เพื่อใหเกิดความแนใจในความปลอดภัยจากอาหาร<br />

นั้น ซึ่งจะเปนอีกหนทางหนึ่งที่จะทําใหทานผูฟงหางไกลจากการไดรับสารพิษใน<br />

อาหารที่ทานไมคาดคิดมากอนได<br />

แหลงอางอิง<br />

ดวงจันทร เฮงสวัสดิ์. 2547. มหันตภัย...ในอาหาร. อาหาร. 34(1) : 8-10.<br />

ดวงจันทร เฮงสวัดิ์. 2549. พิษภัยในอาหาร มหันตภัยเงียบ. อาหาร. 36(2) : 89-95.<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 193


จดหมายจากผูฟง


เลมที่ <strong>33</strong> 197


198 วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


เลมที่ <strong>33</strong> 199


200 วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


ภาคผนวก


รวมเลมบทความรายการ<br />

“วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน”<br />

บรรณาธิการ : อาจารยนุชจรินทร แกลวกลา<br />

กองบรรณาธิการ : คณะกรรมการจัดทํารายการ<br />

วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน<br />

เรียงพิมพและออกแบบ : นางสาวเฉลิมขวัญ พวงยอย<br />

นางสาวชุติมา สุวานิชย<br />

นางสาวธัญญลักษณ เหล็กพิมาย<br />

นายอุทัศน พิทักษสายชล<br />

กําหนดการเผยแพร : ธันวาคม <strong>2553</strong><br />

เลมที่ <strong>33</strong> 203


คณะกรรมการจัดทํารายการ<br />

“วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน”<br />

ตุลาคม 2552 - กันยายน <strong>2553</strong><br />

กรรมการที่ปรึกษา<br />

1. อธิการบดี ประธานกรรมการ<br />

2. รองอธิการบดีฝายวิชาการ กรรมการ<br />

3. ผูอํานวยการสํานักบริการวิชาการ กรรมการ<br />

4. คณบดีคณะวิทยาศาสตร กรรมการ<br />

มีหนาที่ใหคําปรึกษาเกี่ยวกับการดําเนินโครงการ<br />

กรรมการดําเนินงาน<br />

1. ฝายวิชาการ<br />

1.1 นางสาวนุชจรินทร แกลวกลา ประธานกรรมการ<br />

1.2 นางสาวกรองจันทร รัตนประดิษฐ รองประธานกรรมการ<br />

1.3 นายอนุเทพ ภาสุระ กรรมการ<br />

1.4 นางสาวรุงนภา แซเอ็ง กรรมการ<br />

1.5 นางสาวอรสา สุริยาพันธ กรรมการ<br />

1.6 นางสาวกันทิมา ออนละออ กรรมการ<br />

1.7 นางสาวเสาวรส ศรีสุข กรรมการ<br />

1.8 นายสรายุธ เดชะปญญา กรรมการ<br />

204 วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


1.9 นางสาวอุดมลักษณ ธิติลักษณพาณิชย กรรมการ<br />

1.10 นางสาวสวามินี ธีระวุฒิ กรรมการ<br />

1.11 นางสาวสิริมาส คําเสียง กรรมการและเลขานุการ<br />

มีหนาที่จัดทํา จัดหาบทความ และตรวจสอบความถูกตองทางวิชาการของ<br />

บทความทางดานวิทยาศาสตร เพื่อนําไปเผยแพรทางวิทยุกระจายเสียง<br />

2. ฝายผลิตและเผยแพร<br />

2.1 นายอุทัศน พิทักษสายชล ประธานกรรมการ<br />

2.2 นายนวศิษฏ รักษบํารุง กรรมการ<br />

2.3 นางสาวสุภาวดี ชฏิลาลัย กรรมการ<br />

2.4 นางสาวสุรางครัตน เสมอวงษ กรรมการ<br />

2.5 นางสาวชุติมา สุวานิชย กรรมการ<br />

2.6 นางสาวจีรนันท จินตนา กรรมการ<br />

2.7 นางสาวธัญญลักษณ เหล็กพิมาย กรรมการและเลขานุการ<br />

มีหนาที่ผลิตรายการวิทยุ และจัดสงเอกสารเผยแพรทางวิทยุกระจายเสียง<br />

ตามสถานีตาง ๆ<br />

ผูอานบทความ<br />

นางสาวธัญญลักษณ เหล็กพิมาย<br />

ผูบันทึกเสียงและผลิตรายการ<br />

1. นางสาวธัญญลักษณ เหล็กพิมาย<br />

2. นายพรอมพงษ สุระประเสริฐ<br />

3. นายอุทัศน พิทักษสายชล<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 205


สถานีวิทยุกระจายเสียงที่ออกอากาศ<br />

รายการ “วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน”<br />

ภาคกลาง 14 สถานี<br />

สถานี คลื่นความถี่ วัน เวลา<br />

บริษัท แมจิกคิดส จํากัด<br />

http://www.mag ทุกวัน ตลอดเวลา<br />

ickidschool.co<br />

m/clip.php<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงกรป.กลาง AM 1512 KHz จันทร-ศุกร 09.15-10.00<br />

อุทัยธานี<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงกรป.กลาง FM 88.75 MHz จันทร-ศุกร 09.15-10.00<br />

อุทัยธานี เอฟ.เอ็ม.<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียง บก. สูงสุด AM 1521 kHz ไมแนนอน ไมแนนอน<br />

กรุงเทพฯ<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียง บก. สูงสุด FM 99.5 MHz ไมแนนอน ไมแนนอน<br />

กรุงเทพฯ<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียง บก. สูงสุด FM 101.0 MHz ไมแนนอน ไมแนนอน<br />

กรุงเทพฯ<br />

สถานีวิทยุกองทัพภาคที่ 1 สุพรรณบุรี AM 1404 kHz ทุกวัน 06.40<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงจากคาย AM 801 kHz ศุกร 17.30-18.00<br />

จิรประวัติ นครสวรรค<br />

สถานีวิทยุเสียงจากโครงการรักษไทย<br />

“ประชารวมใจตานภัยยาเสพติด”<br />

สมุทรสาคร<br />

FM 92.75 MHz ทุกวัน ไมแนนอน<br />

206 วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


ภาคกลาง 14 สถานี (ตอ)<br />

สถานี คลื่นความถี่ วัน เวลา<br />

สถานีวิทยุจังหวัดทหารบก กาญจนบุรี FM 92.75 MHz อังคาร 06.30-06.45<br />

สถานีวิทยุชุมชนกาญจนบุรีวิลลา FM 93.75 MHz จันทร-ศุกร 11.30<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงมณฑลทหารบก FM 98.25 MHz ศุกร 17.30-18.00<br />

ที่ 31 จังหวัดนครสวรรค<br />

สถานีวิทยุ วศป. ศูนยการทหารปนใหญ AM 612 kHz ไมแนนอน ไมแนนอน<br />

ลพบุรี<br />

สถานีเสียงอดิศร 693 ศูนยการทหารมา<br />

สระบุรี<br />

AM 693 kHz ไมแนนอน ไมแนนอน<br />

ภาคตะวันออก 25 สถานี<br />

สถานี คลื่นความถี่ วัน เวลา<br />

งานประชาสัมพันธ มหาวิทยาลัยบูรพา เสียงตามสาย ไมแนนอน ไมแนนอน<br />

ทัณฑสถานหญิงชลบุรี เสียงตามสาย พุธ 12.30<br />

โรงเรียนชลพินิจพณิชยการ จ.ชลบุรี เสียงตามสาย ไมแนนอน ไมแนนอน<br />

วิทยุออนไลน มหาวิทยาลัยบูรพา http://radio.buu. ไมแนนอน ไมแนนอน<br />

ac.th/<br />

สถานีวิทยุ พล.ม.2 ระยอง (ยานเกราะ AM 774 kHz เสาร 18.20-18.30<br />

828)<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงกองพลทหารราบ FM 88.25 MHz ไมแนนอน ไมแนนอน<br />

ที่ 2 รักษาพระองค คายพรหมโยธี<br />

ปราจีนบุรี<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงมณฑลทหารบก<br />

ที่ 14 ชลบุรี<br />

FM 98.25 MHz ไมแนนอน ไมแนนอน<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย<br />

จันทบุรี<br />

FM 90.25 MHz<br />

AM 1125 kHz<br />

ไมแนนอน<br />

ไมแนนอน<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 207


ภาคตะวันออก 25 สถานี (ตอ)<br />

สถานี คลื่นความถี่ วัน เวลา<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย FM 99.75 MHz พฤหัสบดี 09.25<br />

ชลบุรี<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย AM 1557 kHz จันทร 11.10<br />

ตราด<br />

สถานีวิทยุกองทัพภาคที่ 1 จันทบุรี AM 1530 kHz ไมแนนอน ไมแนนอน<br />

สถานีวิทยุกองทัพภาคที่1 สระแกว AM 1180 kHz จันทร 18.45-19.00<br />

สถานีวิทยุชุมชนคนหนองโพรง FM 89.5 MHz เสาร 12.35<br />

สถานีวิทยุชุมชนตําบลมาบไผ FM 99.20 MHz ไมแนนอน ไมแนนอน<br />

สถานีวิทยุชุมชนกิโลสิบสัมพันธ FM 88.25 MHz อังคาร 08.00/13.00<br />

สถานีวิทยุทหารอากาศ 016 จันทบุรี AM 954 kHz ไมแนนอน ไมแนนอน<br />

สถานีวิทยุ พ.ศ.น.(พระพุทธศาสนา) FM 106.25 MHz อาทิตย 18.30<br />

วัดนอก ชลบุรี<br />

สถานีวิทยุ สทร. 4 จันทบุรี FM 88.75 MHz ไมแนนอน ไมแนนอน<br />

สถานีวิทยุ สทร. 5 สัตหีบ AM 720 kHz ทุกวัน 18.05<br />

สถานีวิทยุ สทร. 10 ตราด FM 93.75 MHz เสาร 12.00-13.00<br />

สถานีวิทยุ อสมท. ตราด FM 107.25 MHz ไมแนนอน ไมแนนอน<br />

สถานีวิทยุ อสมท.พัทยา FM 107.75 MHz อาทิตย 18.50<br />

สถานีวิทยุ อสมท. ระยอง FM 96.75 MHz ไมแนนอน ไมแนนอน<br />

องคการบริหารสวนตําบลมาบไผ ชลบุรี เสียงตามสาย ไมแนนอน ไมแนนอน<br />

สถานีวิทยุเสียงจากโครงการรักษไทย<br />

“ประชารวมใจตานภัยยาเสพติด”<br />

ปราจีนบุรี<br />

FM 96.75 MHz ทุกวัน ไมแนนอน<br />

208 วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 13 สถานี<br />

สถานี คลื่นความถี่ วัน เวลา<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียง กองทัพภาคที่ 2<br />

คายพระยอดเมืองขวาง<br />

FM 98.75 MHz<br />

AM 1440 kHz<br />

ทุกวัน 09.00,<br />

13.00,<br />

16.00น.<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียง กองทัพภาคที่ 2 FM 100.75 MHz ไมแนนอน ไมแนนอน<br />

เอฟ.เอ็ม. คายสมเด็จเจาพระยามหากษัตริย<br />

ศึก<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียง กองทัพภาคที่ 2 FM 95.5MHz ไมแนนอน ไมแนนอน<br />

เอฟ.เอ็ม. คายสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬา<br />

โลกมหาราช<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย FM 106.25 MHz จันทร 21.10<br />

นครราชสีมา<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทยบึง FM 104.25 MHz ทุกวัน 21.00<br />

กาฬ<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย FM 101.75 MHz อาทิตย 09.20 -09.30<br />

บุรีรัมย<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทยศรีสะ FM 100.25 MHz พุธ 17.35 -17.45<br />

เกษ<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย AM 834 kHz จันทร-ศุกร 20.30<br />

สกลนคร<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย FM 94.75 MHz จันทร-ศุกร 20.30<br />

สกลนคร<br />

สถานีวิทยุชุมชนเพื่อการศึกษาโรงเรียนรุง FM 105.75 MHz จันทร-ศุกร 14.00-16.00<br />

อรุณวิทยาปากชอง<br />

http://www.rvsradio.com/ ออนไลน ทุกวัน ตลอดเวลา<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 209


ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 13 สถานี (ตอ)<br />

สถานี คลื่นความถี่ วัน เวลา<br />

สถานีวิทยุ สทร. 9 อุบลราชธานี FM 104 MHz เสาร- 11.00-11.30<br />

AM 1161 kHz อาทิตย<br />

สถานีวิทยุ สทร. 12 หนองคาย FM 95.75 MHz ไมแนนอน ไมแนนอน<br />

สถานีวิทยุ อสมท.บุรีรัมย FM 92.0 MHz จันทร-ศุกร 16.30-17.00<br />

ภาคใต 21 สถานี<br />

สถานี คลื่นความถี่ วัน เวลา<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียง 912 กรป. กลาง AM 756 kHz พุธ 14.00<br />

เอ.เอ็ม.นราธิวาส<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียง 912 กรป. กลาง FM 99.25 MHz พุธ 14.00<br />

เอฟ.เอ็ม.นราธิวาส<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงวศป.1449 ชุมพร AM 1449 KHz ไมแนนอน ไมแนนอน<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย AM 810 KHz จันทร-ศุกร 05.00-06.00<br />

ตรัง<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย<br />

อําเภอทุงสง นครศรีธรรมราช<br />

FM 97.0 MHz เสาร-<br />

อาทิตย<br />

13.30<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย<br />

นราธิวาส<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย<br />

พังงา<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย<br />

ภูเก็ต<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย<br />

สงขลา<br />

FM 106.5 และ อาทิตย 14.10<br />

98.25 MHz<br />

FM 100 MHz อังคาร 16.10<br />

AM 1062 kHz ศุกร 22.30<br />

AM 144 kHz ไมแนนอน ไมแนนอน<br />

210 วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


ภาคใต 21 สถานี (ตอ)<br />

สถานี คลื่นความถี่ วัน เวลา<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย AM 1026 kHz อาทิตย 05.30<br />

สตูล<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย FM 95.50 MHz จันทร- 15.10<br />

สุราษฎรธานี<br />

อังคาร<br />

สถานีวิทยุกองทัพภาคที่ 4 สุราษฎรธานี FM 92.25 MHz ไมแนนอน ไมแนนอน<br />

สถานีวิทยุทหารอากาศ 011 สงขลา AM 1512 kHz เสาร 06.30<br />

สถานีวิทยุ วปถ. 16 ยะลา AM 1080 kHz อังคาร 10.00-10.15<br />

สถานีวิทยุ วปถ. 17 ตรัง AM 1350 MHz อาทิตย ไมแนนอน<br />

สถานีวิทยุ สทร. 6 สงขลา FM 94.50 MHz ศุกร 12.20<br />

สถานีวิทยุ สทร. 14 พังงา FM 97.25 MHz ไมแนนอน ไมแนนอน<br />

สถานีวิทยุ สทร. 15 นราธิวาส FM 94.75 MHz พฤหัสบดี 11.30<br />

สถานีวิทยุสงเสริมศิลปะและวัฒนธรรม FM 91.75 MHz ไมแนนอน ไมแนนอน<br />

ทองถิ่น จ.สุราษฎรธานี<br />

สถานีวิทยุ อสมท. พัทลุง FM 95.75 MHz ไมแนนอน ไมแนนอน<br />

สถานีวิทยุ อสมท. ระนอง FM 100.5 MHz อาทิตย 23.45<br />

ภาคเหนือ 40 สถานี<br />

สถานี คลื่นความถี่ วัน เวลา<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงกองทัพภาคที่ 3 FM 97.5 MHz ศุกร 17.30-18.00<br />

ระบบเอฟ.เอ็ม. จังหวัดอุตรดิตถ<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงกองทัพภาคที่ 3 FM 102.25 MHz ศุกร 17.30-18.00<br />

ระบบเอฟ.เอ็ม. จังหวัดสุโขทัย<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงกองทัพภาคที่ 3<br />

สวนหนา จังหวัดกําแพงเพชร<br />

AM 738 kHz ศุกร 17.30-18.00<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 211


ภาคเหนือ 40 สถานี (ตอ)<br />

สถานี คลื่นความถี่ วัน เวลา<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงกองทัพภาคที่ 3 FM 101.75 MHz ศุกร 17.30-18.00<br />

ระบบเอฟ.เอ็ม. จังหวัดลําปาง<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงกองทัพภาคที่ 3 AM 828 kHz ศุกร 17.30-18.00<br />

สวนหนา จังหวัดพิษณุโลก<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงกองทัพภาคที่ 3 FM 107.5 MHz ศุกร 17.30-18.00<br />

ระบบเอฟ.เอ็ม.จังหวัดลําพูน<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงกองทัพภาคที่ 3 FM 103.5 MHz ศุกร 17.30-18.00<br />

ระบบเอฟ.เอ็ม. จังหวัดแพร<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงกองทัพภาคที่ 3 FM 107.25 MHz ศุกร 17.30-18.00<br />

ระบบเอฟ.เอ็ม. จังหวัดพะเยา<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงกองทัพภาคที่ 3 FM 99.5 MHz ศุกร 17.30-18.00<br />

ระบบเอฟ.เอ็ม. จังหวัดนาน<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงกองทัพภาคที่ 3 FM 101.5 MHz ศุกร 17.30-18.00<br />

สวนหนา ระบบเอฟ.เอ็ม.จังหวัด<br />

เชียงใหม<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงกองทัพภาคที่ 3 AM 1287 kHz ศุกร 17.30-18.00<br />

สวนหนา จังหวัดอุตรดิตถ<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงกองทัพภาคที่ 3 AM 1116 kHz ศุกร 17.30-18.00<br />

สวนหนา เมืองสองแคว จังหวัด<br />

พิษณุโลก<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงกองทัพภาคที่ 3 AM 1188 kHz ศุกร 17.30-18.00<br />

จังหวัดพิษณุโลก<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงกองทัพภาคที่ 3<br />

สวนหนา จังหวัดแพร<br />

AM 585 kHz ศุกร 17.30-18.00<br />

212 วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


ภาคเหนือ 40 สถานี (ตอ)<br />

สถานี คลื่นความถี่ วัน เวลา<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงกองทัพภาคที่ 3 AM 1242 kHz ศุกร 17.30-18.00<br />

สวนหนา อ.หลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงกองทัพภาคที่ 3 AM 1449 kHz ศุกร 17.30-18.00<br />

สวนหนา จังหวัดพิจิตร<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงกองทัพภาคที่ 3 AM 666 kHz ศุกร 17.30-18.00<br />

สวนหนา จังหวัดตาก<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงกองทัพภาคที่ 3 AM 999 kHz ศุกร 17.30-18.00<br />

สวนหนา จังหวัดเชียงราย<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงกองทัพภาคที่ 3 FM 105 MHz ศุกร 17.30-18.00<br />

ระบบเอฟ.เอ็ม. จังหวัดกําแพงเพชร<br />

สถานีวิทยุกองพลทหารราบที่ 4 จังหวัด AM 1377 kHz ศุกร 17.30-18.00<br />

พิษณุโลก<br />

สถานีวิทยุ 1 ปณ. ลําปาง AM 765 kHz จันทร 08.00-08.30<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียง 914 กรป. กลาง<br />

เอฟ.เอ็ม เชียงราย<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียง 914 กรป. กลาง<br />

เอ.เอ็ม เชียงราย<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียง 914 กรป. กลาง<br />

เอ.เอ็ม เชียงราย เอฟ.เอ็ม เชียงราย<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียง วส.921 กรป.<br />

กลาง เพชรบูรณ<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียง 921 กรป.กลาง<br />

เอฟ.เอ็ม. กองบัญชาการทหารสูงสุด<br />

เพชรบูรณ<br />

AM 1179 kHz ไมแนนอน ไมแนนอน<br />

AM 1395 kHz ไมแนนอน ไมแนนอน<br />

FM 100.25 MHz ไมแนนอน ไมแนนอน<br />

AM 972 kHz พฤหัสบดี 08.00-09.00<br />

FM 99.0 MHz พฤหัสบดี 08.00-09.00<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 213


ภาคเหนือ 40 สถานี (ตอ)<br />

สถานี คลื่นความถี่ วัน เวลา<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงจากทหารเรือ 8 AM 1170 kHz ทุกวัน 12.05-13.00<br />

พิษณุโลก<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย FM 95.75 MHz พฤหัสบดี 19.30<br />

เชียงราย<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย FM 102.00 MHz เสาร 18.45-19.00<br />

ตาก<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย AM 1368 kHz พฤหัสบดี 06.30<br />

นาน<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย FM 94.75 MHz พฤหัสบดี 06.30<br />

นาน<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย AM 981 kHz ไมแนนอน ไมแนนอน<br />

จังหวัดแมฮองสอน<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย AM 1134 kHz เสาร 10.30-10.45<br />

จังหวัดลําปาง<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย FM 95.00 MHz จันทร, ศุกร 06.30-06.45<br />

ลําพูน<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย FM 93.75 MHz ไมแนนอน ไมแนนอน<br />

จังหวัดสุโขทัย<br />

สถานีวิทยุกองทัพภาคที่ 3 เพชรบูรณ AM 1242 kHz พฤหัสบดี 22.00<br />

สถานีวิทยุ กองทัพภาคที่ 3 แพร<br />

{ทภ.3 สน.แพร (เอ.เอ็ม)}<br />

AM 585 kHz<br />

จันทร-<br />

อาทิตย<br />

สถานีวิทยุกองทัพภาคที่ 3 ลําพูน FM 107.50 MHz จันทร,<br />

อังคาร<br />

ไมแนนอน<br />

08.30-10.00<br />

214 วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


ภาคเหนือ 40 สถานี (ตอ)<br />

สถานี คลื่นความถี่ วัน เวลา<br />

สถานีวิทยุชุมชนคนเชียงราย FM 106.0 MHz ไมแนนอน ไมแนนอน<br />

สถานีวิทยุมณฑลทหารบกที่ 32 ลําปาง AM 1350 kHz จันทร-ศุกร 06.00-<br />

06.30,11.30-<br />

12.30<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 215


ตารางออกอากาศบทความ<br />

รายการ “วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน”<br />

เรื่อง ชวงเวลาที่ออกอากาศ<br />

19 ตุลาคม : วันเทคโนโลยีของไทย 5 - 11 ต.ค. 2552<br />

บรรจุภัณฑอาหารในอนาคต 12 - 18 ต.ค. 2552<br />

ตําลึง ผักริมรั้วสารพัดประโยชน 19 - 25 ต.ค. 2552<br />

โรคนิ้วล็อค 26 ต.ค. - 1 พ.ย. 2552<br />

กินแลวสวย แนวทางสงเสริมการขายแบบใหม 2 - 8 พ.ย. 2552<br />

กิ้งกือมังกรสีชมพู -สิ่งมีชีวิตชนิดใหมของโลก 9 - 15 พ.ย. 2552<br />

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว : พระบิดา 16 - 22 พ.ย. 2552<br />

แหงการถายภาพไทย<br />

เรื่องนารูเกี่ยวกับตอมไทรอยด 23 - 29 พ.ย. 2552<br />

ชนิดพันธุตางถิ่นที่รุกราน 30 พ.ย. - 6 ธ.ค.2552<br />

ทําดีเพื่อพอกันเถอะ 7 - 13 ธ.ค. 2552<br />

สรางสีสันใหชีวิตดวยเครื่องเทศ 14 - 20 ธ.ค. 2552<br />

โรคที่มากับฤดูหนาว 21 - 27 ธ.ค. 2552<br />

สื่อสารอยางไรใหทันสมัย 28 ธ.ค. 2552 - 3 ม.ค.<br />

<strong>2553</strong><br />

มาฉลองปใหมดวยการสรางนิสัยการกินใหมกันเถอะ 4 -10 ม.ค. <strong>2553</strong><br />

สรางแรงบันดาลใจใหเด็กไทยหัวใจวิทยาศาสตร 11 - 17 ม.ค. <strong>2553</strong><br />

14 มกราคม : วันอนุรักษทรัพยากรปาไมแหงชาติ 18 - 24 ม.ค. <strong>2553</strong><br />

216 วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


เรื่อง ชวงเวลาที่ออกอากาศ<br />

ไฮโดรเจน: พลังงานทดแทนที่นาสนใจในปจจุบัน 25 - 31 ม.ค. <strong>2553</strong><br />

ความรูเรื่องทรัพยสินทางปญญาเนื่องในวันนักประดิษฐ 1 - 7 ก.พ. <strong>2553</strong><br />

ไทย 2 กุมภาพันธ <strong>2553</strong><br />

วันมะเร็งโลก (4 ก.พ.) 8 - 14 ก.พ. <strong>2553</strong><br />

ชวนดื่มชา 15 - 21 ก.พ. <strong>2553</strong><br />

สมุนไพรลดปญหารังแค 22 - 28 ก.พ. <strong>2553</strong><br />

เครื่องปรุงรสจากผัก 1 - 7 มี.ค. <strong>2553</strong><br />

กลูตาไทโอน..ขาว แตอันตรายถึงชีวิต 8 -14 มี.ค. <strong>2553</strong><br />

ลด ละ เลิกใชโฟมกันเถอะ 15 - 21 มี.ค. <strong>2553</strong><br />

รูจักอุปกรณบอกชี้ตําแหนงบนพื้นโลก (จีพีเอส) กันเถอะ 22 - 28 มี.ค. <strong>2553</strong><br />

อาหารกับผูปวยเบาหวาน 29 มี.ค. - 4 เม.ย. <strong>2553</strong><br />

เขื่อนกับการแกปญหาวิกฤติทรัพยากรน้ํา 5 -11 เม.ย. <strong>2553</strong><br />

ภัยแฝงจากขวดและภาชนะพลาสติก 12 -18 เม.ย. <strong>2553</strong><br />

การปองกันตนเองจากภัยแผนดินไหว 19 - 25 เม.ย. <strong>2553</strong><br />

เหตุเพราะอากาศรอน<br />

26 เม.ย. - 2 พ.ค.<strong>2553</strong><br />

ปูขน 3 - 9 พ.ค. <strong>2553</strong><br />

การพัฒนาปรับปรุงพันธุขาวไทย 10 - 16 พ.ค. <strong>2553</strong><br />

22 พฤษภาคม - วันสากลแหงความหลากหลายทาง 17 - 23 พ.ค.<strong>2553</strong><br />

ชีวภาพ<br />

“บัวบก สมุนไพรมหัศจรรย” 24 - 30 พ.ค. <strong>2553</strong><br />

เลิกบุหรี่ดวยสมุนไพรไทยหญาดอกขาว 31 พ.ค. - 6 มิ.ย.<strong>2553</strong><br />

ชื่อ (อาหาร) สําคัญไฉน? 7 - 13 มิ.ย. <strong>2553</strong><br />

เลมที่ <strong>33</strong> 217


เรื่อง ชวงเวลาที่ออกอากาศ<br />

นาโนเทคโนโลยีในชีวิตประจําวัน 14 - 20 มิ.ย. <strong>2553</strong><br />

วิทยาศาสตรของการทําสมาธิ 21 - 27 มิ.ย. <strong>2553</strong><br />

อาหารและการปวดประจําเดือน 28 มิ.ย. - 4 ก.ค. <strong>2553</strong><br />

ควันที่เกิดขึ้นจากการเผายางรถยนต : อันตรายที่ทาน 5 - 11 ก.ค. <strong>2553</strong><br />

มองเห็น<br />

น้ํามันรั่ว...เคราะหรายลงทะเล 12 - 18 ก.ค. <strong>2553</strong><br />

กลีส 581 ซี (Gliese 581 C) : ดาวเคราะหที่มีลักษณะ 19 - 25 ก.ค. <strong>2553</strong><br />

คลายโลก<br />

จริงหรืออาหารนี้มีโซเดียมต่ํา 26 ก.ค. - 1 ส.ค. <strong>2553</strong><br />

สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ นักอนุรักษ 2 - 8 ส.ค. <strong>2553</strong><br />

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม<br />

18 สิงหาคม <strong>2553</strong> : วันวิทยาศาสตรแหงชาติ 9 - 15 ส.ค. <strong>2553</strong><br />

การปองกันโรคดวยอาหารมื้อเชา 16 - 22 ส.ค. <strong>2553</strong><br />

ประโยชนอันเกินคาดคิดจากขาวกลอง 23 - 29 ส.ค. <strong>2553</strong><br />

อันตรายจากเครื่องเลนเอ็มพี3 (MP3) 30 ส.ค. - 5 ก.ย. <strong>2553</strong><br />

ใครวาระบบขับถายไมสําคัญ 6 - 12 ก.ย. <strong>2553</strong><br />

16 กันยายน วันโอโซนสากล... โอโซนกับอาหาร 13 -19 ก.ย. <strong>2553</strong><br />

เบาหวาน...ไมหวานอยางที่คิด 20 - 26 ก.ย. <strong>2553</strong><br />

รานอาหารริมถนน: แหลงสะสมสารพิษที่คุณมองขาม 27 ก.ย. - 3 ต.ค.<strong>2553</strong><br />

218 วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน


แนะนําผูเขียนบทความ<br />

รายการ “วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน”<br />

ชื่อ ตําแหนง/ภาควิชา คณะ/หนวยงาน<br />

กมล สมพันธุ ผูปฏิบัติงานวิทยาศาสตร 5/เคมี วิทยาศาสตร<br />

กรองจันทร รัตนประดิษฐ อาจารย ดร./เทคโนโลยีชีวภาพ วิทยาศาสตร<br />

เกศราภรณ จันทรประเสริฐ นักวิทยาศาสตร/ ชีววิทยา วิทยาศาสตร<br />

กันทิมา ออนละออ อาจารย /วิทยาการคอมพิวเตอร วิทยาศาสตร<br />

จุฬารัตน หงสวลีรัตน อาจารย /วิทยาศาสตรการอาหาร วิทยาศาสตร<br />

นงนุช ตั้งเกริกโอฬาร ผูชวยศาสตราจารย ดร. / วาริชศาสตร วิทยาศาสตร<br />

นุชจรินทร แกลวกลา อาจารย / ชีววิทยา วิทยาศาสตร<br />

เบญจวรรณ ชิวปรีชา อาจารย / ชีววิทยา วิทยาศาสตร<br />

ประภาพรรณ เตชะเสาวภาคย อาจารย ดร. / เคมี วิทยาศาสตร<br />

รุงนภา แซเอ็ง ผูชวยศาสตราจารย / เคมี วิทยาศาสตร<br />

วนิดา โอฬารกิจอนันต อาจารย / วิทยาศาสตรการแพทย วิทยาศาสตร<br />

วิชมณี ยืนยงพุทธกาล อาจารย / วิทยาศาสตรการอาหาร วิทยาศาสตร<br />

สรายุธ เดชะปญญา อาจารย / ฟสิกส วิทยาศาสตร<br />

สวามินี ธีระวุฒิ อาจารย ดร. / วาริชศาสตร วิทยาศาสตร<br />

สิริมา ชินสาร อาจารย /วิทยาศาสตรการอาหาร วิทยาศาสตร<br />

สุบัณฑิต นิ่มรัตน รองศาสตราจารย ดร./ จุลชีววิทยา วิทยาศาสตร<br />

สุปราณี แกวภิรมย ผูชวยศาสตราจารย ดร. / เคมี วิทยาศาสตร<br />

อนุเทพ ภาสุระ ผูชวยศาสตราจารย ดร. / จุลชีววิทยา วิทยาศาสตร<br />

อรสา สุริยาพันธ ผูชวยศาสตราจารย ดร./ วิทยาศาสตร<br />

การอาหาร<br />

วิทยาศาสตร<br />

เลมที่ <strong>33</strong> 219


พิมพที่ รานสุจิตตวัฒน เทรดดิ้ง<br />

59/10 ถนน 22 กรกฎา 1 แขวงปอมปราบ เขตปอมปราบ กรุงเทพฯ 10100<br />

โทร. (02) 2243901, 2230396<br />

220 วิทยาศาสตรเพื่อประชาชน

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!