18.08.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

หลักฐานที่<br />

1<br />

เทวาเทพไท ตามไปรักษา<br />

รูถึงพอคา<br />

รับพาเขาเมือง<br />

ฝายขางปตุรงค ประทานใหเครื่อง<br />

สําหรับเจาเมือง เปลื้องใหทันที<br />

ตั้งแตนั้นมา<br />

เรียกวาชาตรี<br />

ประวัติวามี เทานี้แหละหนา<br />

การศึกษาประวัติความเปนมาของโนรา จากหลักฐานทางประวัติศาสตร<br />

จากหนังสือบทละครครั้งกรุงเกา<br />

เรื่อง<br />

นางมโนหราและสังขทอง 26 โดย สมเด็จฯกรม<br />

พระยาดํารงราชานุภาพไดอธิบายเรื่องบทละคอนครั้งกรุงเกา<br />

(2512) ไววา<br />

... บทละคอนเรื่องนางมโนหรา<br />

ที่พิมพไวขางตนนั้นแปลกไปอีกอยางหนึ่ง<br />

ทานผูอานคงจะ<br />

สังเกตเห็นไดวาไมเปนกลอนแปดแท เชนบทละคอนสามัญแตงปนกาพยอยางที่ละคอน<br />

“โนรา” มณฑลนครศรีธรรมราช หรือที่เราเรียกกันวา<br />

ละครชาตรี รองบทอยางนี้<br />

ในขอนี้<br />

มีประหลาดอยางหนึ่งที่ชาวนครศรีธรรมราช<br />

เรียกละคอนชาตรีวา “โนรา” ถาเราจะไป<br />

เรียกวา “ละคอน” ก็ไมเขาใจ อันคําวา “โนรา” นี้<br />

คงมาจากชื่อนางมโนหราในบทละคอน<br />

เปนแนไมมีที่สงสัย<br />

เพราะวิสัยชาวลครพูด ยอมตัดตัวลหุที่อยูตนคําเสีย<br />

เชน ตะเภา พูดแต<br />

วา “เภา” สตางคพูดวา “ตางค” เปนตน อยูจนทุกวันนี้<br />

อนึ่งละคอนตัวตลกที่เลนโนราก็ยัง<br />

เรียกวา “พราน” อันเปนตัวสําคัญในเรื่องนางมโนหรา<br />

จึงเปนหลักฐานมั่นคงดังกลาวมานี้<br />

ตํานานของละคอนโนรามีในคําไหวครูของเขา วาครูเดิมชื่อขุนศรัทธา<br />

อยูในกรุงศรี<br />

อยุธยา มีความผิดตองราชทัณฑใหลอยแพไปเสียจากพระนคร แพขุนศรัทธาลอยออก<br />

ปากน้ําไปติดอยูที่เกาะสีชัง<br />

พวกชาวเรือทะเลพบ จึงรับไปสงขึ้นที่เมืองนครศรีธรรมราช<br />

ขุนศรัทธาจึงไดไปเปนครูฝกหัดโนราใหมีขึ้นที่เมืองนครเปนเดิมมา<br />

ตามตํานานวามาดังนี ้<br />

26<br />

ตีพิมพครั้งแรกเมื่อ<br />

พ.ศ. 2462 เนื่องในงานฉลองสโมสรนายทหารบก<br />

กองพลที่<br />

3 ของผู<br />

บัญชาการกองพลทหารบกที่<br />

3 พระนครศรีอยุธยา<br />

74

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!