18.08.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

4.2 ภาษาถิ่นชุมพร<br />

ภาษาถิ่นชุมพร<br />

เปนภูมิปญญาในดานการคิดคนภาษาพื่อการสื่อสาร<br />

ซึ่งใชมาตั้งแต<br />

โบราณกาล เปนภาษาที่สั้น<br />

กระชับ มีการตัดพยางค ทําใหคํานั้นสั้นลง<br />

และมีสําเนียงทองถิ่น<br />

เนื่องจากจังหวัดชุมพรมีอาณาเขตติดตอกับภาคกลาง<br />

ภาษาถิ่นของชุมพรจึงเปนภาษาที่<br />

มีการผสมกลมกลืนกันระหวางภาษาภาคกลางและภาษาภาคใต ทําใหภาษาชุมพรพูดงาย ฟงงาย<br />

และดวยเหตุที่จังหวัดชุมพรนั้นติดตอกับภาคกลางนั้นและสําเนียงผสมกับภาคกลาง<br />

ทําใหมีผูกลาว<br />

วา “คนชุมพรลิ้นออน”<br />

ซึ่งหมายถึง<br />

ความสามารถที่จะพูดสําเนียงของจังหวัดอื่นไดใกลเคียงกับ<br />

เจาของภาษามากจนไมสามารถแยกไดเลย<br />

ตารางที่<br />

1 ตัวอยางเปรียบเทียบภาษาภาคกลาง (ภาษากรุงเทพฯ) กับภาษาชุมพร<br />

่<br />

้<br />

ภาษาภาคกลาง ภาษาถิ่นชุมพร<br />

กลองขาว<br />

กุบขาว<br />

ที่ตักน้ํา<br />

กวักน้ํา<br />

ขนมใสไส ขนมซอนลูก<br />

ขนมตม<br />

หนมโค<br />

ฟกเขียว<br />

ขี้พรา<br />

ยุงขาว<br />

คุกขาว<br />

โรคน้ํากัดเทา<br />

เปนขนหนอน<br />

พระจันทร<br />

พระเข<br />

มันสําปะหลัง มันโหรง<br />

มันเทศ<br />

มันลา<br />

กระถิน<br />

สะตอเบา<br />

สะตอ<br />

สะตอหนัก<br />

วุนเสน<br />

เสนตั้งหุน<br />

แมงหวี<br />

แมงหมี<br />

ผีเสื้อ<br />

แมงพี<br />

15

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!