18.08.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

การสอนพื้นฐานการบรรเลงเครื่องดนตรีโนรา<br />

การสอนดนตรีโนรา เมื่อครูผูสอนอธิบายประเภท<br />

หนาที่ของเครื่องดนตรีแลว<br />

ผูสอนควร<br />

จะตองเริ่มตนและดําเนินการสอนตามลําดับ<br />

ดังนี้<br />

1. ทับ (2 ลูก) สมัยโบราณใชคน 2 คน เลนคนละลูก<br />

1.1 ผูเลนนั่งขัดสมาธิ<br />

วางทับบนหนาตัก ฝกเสียง “เทิง” ทั้งมือซายมือขวาใหมีน้ําหนัก<br />

เทากัน (ผูสอนควรแนะนําการจัดนิ้ว<br />

การวางมือบนหนาทับ)<br />

1.2 ฝกเสียง “ปะ” “ติ้ง”<br />

“ทึด” การปดปากทับ, เปดปากทับ ทําการฝกจนเสียงชัดทุก<br />

เสียง จนมีความคลองทั้ง<br />

2 มือ<br />

1.3 เริ่มฝกเพลงทับพื้นฐาน<br />

คือ เพลง “ลงโรง” (โหมโรง” คือ “ปะ ปะเทิง เทิง” โดยให<br />

เลนตอเนื่องหลายๆ<br />

ชุด จนเกิดความชํานาญ ดังนี้<br />

1.4 ในการปฏิบัติผูสอนอาจจะสอนเพลงทับที่หลากหลายเพื่อใหผูเรียนเพิ่มพูน<br />

ประสบการณตนเองกอนที ่จะทําการผสมวงและควรจะเริ่มผสมวง<br />

ดวยเพลง “ลงโรง” (โหมโรง)<br />

เพราะถือกันวาเปนเพลงครูของดนตรีโนรา<br />

2. โหมง (ในการผสมวง โหมงกับฉิ่งใชผูเลนคนเดียวกัน)<br />

2.1 ผูเลนนั่งขัดสมาธิ<br />

วางโหมงไวขางหนา มือขวาจับไมตีโหมง มือซายจับไม “กรับ”<br />

ทั้งนี้<br />

เพื่อใหผูฝกใหมชินกับจังหวะตกโดยใชเสียงกรับ<br />

2.2 ฝกตีโหมง ดังนี้<br />

(ฝกตอเนื่องจนผูเรียนคุนเคยกับจังหวะตก)<br />

ดังตัวอยางที่แสดงไว<br />

ตอไปนี้<br />

-โหมง-ทุม<br />

-โหมง-ทุม<br />

-โหมง-ทุม<br />

-โหมง-ทุม<br />

-โหมง-ทุม<br />

-โหมง-ทุม<br />

-โหมง-ทุม<br />

-โหมง-ทุม<br />

- - - - - - - กรับ - - - - - - - กรับ - - - - - - - กรับ - - - - - - - กรับ<br />

3. ฉิ่ง<br />

3.1 ฝกการจับฉิ่งใหถูกวิธีทั้งบนและลาง<br />

3.2 ฝกตี “ฉิ่ง<br />

ฉับ” ใหเสียงชัดเจน<br />

- - - ฉิ่ง<br />

- - - ฉิ่ง<br />

- - - ฉิ่ง<br />

- - - ฉับ - - - ฉิ่ง<br />

- - - ฉิ่ง<br />

- - - ฉิ่ง<br />

- - - ฉับ<br />

160

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!