18.08.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

วิทยานิพนธ<br />

เรื่อง<br />

โนราชุมพร: กรณีศึกษา การแสดงโนราของโรงเรียนศรียาภัย จังหวัดชุมพร<br />

Nora Chumphon: A Case Study of Nora at Sriyapai School in Chumphon Province<br />

โดย<br />

นางสาวกมลวรรณ พลรักดี<br />

เสนอ<br />

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร<br />

เพื่อความสมบูรณแหงปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต<br />

(ดนตรีชาติพันธุวิทยา)<br />

พ.ศ. 2550


กิตติกรรมประกาศ<br />

วิทยานิพนธเลมนี้สําเร็จลุลวงลงไดดี<br />

ผูวิจัยขอขอบคุณ<br />

ผศ.สุพจน ยุคลธรวงศ ประธาน<br />

กรรมการ ดร.ปญญา รุงเรือง<br />

กรรมการวิชาเอก ผศ.ดร.โสวัตรี ณ ถลาง กรรมการวิชารอง และ<br />

ผศ.ดร.ประเวศ อินทองปาน ผูแทนบัณฑิตวิทยาลัย<br />

ที่ไดกรุณาใหคําแนะนําปรึกษา<br />

ตรวจ แก<br />

และเสนอแนะขอบกพรองที่ตองปรับปรุงแกไข<br />

ทําใหงานวิจัยเลมนี้มีความสมบูรณขึ้น<br />

เบื้องหลังความสําเร็จครั้งนี้<br />

ขึ้นอยูกับบุคคลหลายฝาย<br />

ซึ่งผูวิจัยมิอาจลืมได<br />

คือ อาจารย<br />

นิยม บํารุงเสนา อาจารยรุงฤดี<br />

บํารุงเสนา และนอง ๆ นักเรียนโนราในคณะโนราศรียาภัย<br />

โรงเรียนศรียาภัย จังหวัดชุมพร ที่ใหขอมูลและใหความรวมมือในการทํางานวิจัยเปนอยางดี<br />

อาจารยพจี บํารุงสุข หัวหนาภาควิชาศิลปนิเทศ รวมถึงคณาจารยและเจาหนาที่ในภาควิชาศิลป<br />

นิเทศทุกทาน สําหรับกําลังใจ คําแนะนําและความชวยเหลือตาง ๆ ที่มีใหกับผูวิจัยมาตลอด<br />

ตั้งแต<br />

เขาศึกษาที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร<br />

ขอขอบคุณ รุนพี่ทุกคน<br />

เพื่อน<br />

รุน<br />

2 และนอง ๆ ทุกรุน<br />

ทั้งภาคปกติและภาคพิเศษใน<br />

สาขาดนตรีชาติพันธุวิทยา<br />

ที่คอยใหคําแนะนํา<br />

เปนที่ปรึกษา<br />

ใหความชวยเหลือ ใหความรัก และ<br />

เปนกําลังใจใหแกผูวิจัย<br />

ทั้งในการดานเรียน<br />

การทําวิทยานิพนธ และการดําเนินชีวิต รวมทั้ง<br />

ขอขอบคุณความรักและกําลังใจที่ไมมีวันหมดของเพื่อน<br />

อันไดแก เพื่อนเกาที่จังหวัดชุมพร<br />

เหลา<br />

เพื่อนพองศิลปกรรมศาสตรและวิศวกรรมศาสตร<br />

มหาวิทยาลัยบูรพา พี่<br />

ๆ นอง ๆ โนโครงการ<br />

มิตรภาพเยาวชนลุมแมน้ําโขง<br />

รวมถึงเพื่อน<br />

พี่<br />

นอง ที่มิไดเอยนามทุกทาน<br />

เหนือสิ่งอื่นใด<br />

ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณบิดา<br />

มารดา คุณปู<br />

คุณยา คุณตา คุณยาย และ<br />

ผูมีพระคุณทุกทาน<br />

ที่ใหความรัก<br />

กําลังใจและสนับสนุนทางดานการเงินแกผูวิจัยทั้งในดานการ<br />

เรียนและการทํางาน คุณครู อาจารยผูประสิทธิ์ประสาทวิชาความรูใหแกผูวิจัย<br />

ทําใหผูวิจัยประสบ<br />

ความสําเร็จไดในวันนี้<br />

กมลวรรณ พลรักดี<br />

มีนาคม 2550


สารบัญ<br />

สารบัญตาราง (4)<br />

สารบัญภาพ (5)<br />

่<br />

่<br />

่<br />

บทที 1 บทนํา 1<br />

ความสําคัญของที่มาของปญหา<br />

1<br />

วัตถุประสงคของการวิจัย 4<br />

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ<br />

4<br />

ขอบเขตของการศึกษา 5<br />

ขอตกลงเบื้องตน<br />

5<br />

นิยามศัพทเฉพาะ 6<br />

บทที 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ<br />

8<br />

เอกสารเกี่ยวกับสภาพทางภูมิศาสตร<br />

สังคมและวัฒนธรรมตาง ๆ<br />

ในจังหวัดชุมพร 8<br />

เอกสารเกี่ยวกับโรงเรียนศรียาภัยและศูนยการเรียนรูภูมิปญญาทองถิ่น<br />

จังหวัดชุมพร 24<br />

เอกสารเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีที่ใชในการศึกษา<br />

26<br />

งานวิจัยที่เกี่ยวกับโนราและการแสดงโนรา<br />

38<br />

บทที 3 วิธีการดําเนินงานวิจัย 44<br />

ขั้นเตรียมการ<br />

44<br />

ขั้นดําเนินการ<br />

55<br />

ขั้นวิเคราะหขอมูล<br />

57<br />

ขั้นนําเสนอผลการวิจัย<br />

58<br />

หนา<br />

(1)


สารบัญ (ตอ)<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

บทที 4 ประวัติความเปนมา พิธีกรรมและความเชื่อของโนรา<br />

59<br />

ประวัติความเปนมาของโนรา จากตํานานและนิทานพื้นบาน<br />

59<br />

การศึกษาประวัติความเปนมาของโนรา จากหลักฐานทางประวัติศาสตร 74<br />

พิธีกรรมในการแสดงโนรา 86<br />

ความเชื่อเกี่ยวกับการรําโนราและพิธีโนราโรงครู<br />

107<br />

ทารําของโนรา 109<br />

บทที 5 โนราศรียาภัย 120<br />

ประวัติความเปนมาของโนราชุมพร 120<br />

ประวัติโนราราศรียาภัย โรงเรียนศรียาภัย จังหวัดชุมพร 122<br />

ลักษณะการแสดงของโนราศรียาภัย จังหวัดชุมพร 123<br />

เครื่องแตงกายของโนราศรียาภัย<br />

142<br />

เครื่องดนตรีประกอบการแสดงโนราศรียาภัย<br />

จังหวัดชุมพร 149<br />

การถายทอดความรูวิชาโนรา<br />

ของโนราโรงเรียนศรียาภัย จังหวัดชุมพร 154<br />

บทที 6 การวิเคราะหบทเพลงประกอบการแสดงโนราของโนราโรงเรียนศรียาภัย 166<br />

เพลงครูสอน 166<br />

เพลงสอนรํา 182<br />

เพลงประถมพรหมสี่หนา<br />

193<br />

การวิเคราะหบทเพลงประกอบการแสดงโนราของโรงเรียนศรียาภัย<br />

ตามทฤษฎีคติชนวิทยา 218<br />

บทที 7 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผลและขอเสนอแนะ 223<br />

สรุปผลการวิจัย 223<br />

อภิปรายผล 229<br />

ขอเสนอแนะ 232<br />

เอกสารและสิ่งอางอิง<br />

237<br />

หนา<br />

(2)


สารบัญ (ตอ)<br />

ภาคผนวก 245<br />

ภาคผนวก ก โนตเพลงครูสอน 246<br />

ภาคผนวก ข โนตเพลงสอนรํา 257<br />

ภาคผนวก ค โนตเพลงประถมพรหมสี่หนา<br />

265<br />

ประวัติการศึกษาและการทํางาน 294<br />

หนา<br />

(3)


่<br />

สารบัญตาราง<br />

ตารางที<br />

หนา<br />

1 ตัวอยางเปรียบเทียบภาษาภาคกลาง (ภาษากรุงเทพ) กับภาษาชุมพร 15<br />

2 ตารางความสัมพันธระหวางเสียงตัวโนตกับลักษณะการเปด – ปดรูบังคับเสียงป<br />

163<br />

3 ตารางความสัมพันธระหวางบทรองและทารําในเพลงครูสอน 170<br />

4 ตารางความสัมพันธระหวางบทรองและทารําในเพลงสอนรํา 185<br />

5 ตารางความสัมพันธระหวางบทรองและทารําในเพลงประถมพรหมสี่หนา<br />

200<br />

(4)


่<br />

สารบัญภาพ<br />

ภาพที<br />

หนา<br />

1 แผนที่จังหวัดชุมพร<br />

9<br />

2 แผนที่โรงเรียนศรียาภัยและตัวเมืองจังหวัดชุมพร<br />

10<br />

3 ภาพดวงตราประจําจังหวัดชุมพร 14<br />

4 หนังสือบุดขาว 18<br />

5 หนังสือบุดดํา 19<br />

6 หนังสือบุดขาวตําราดูลักษณะและอาการของโรค 19<br />

7 โรงเรียนศรียาภัย จังหวัดชุมพร 25<br />

8 ภายในโรงเรียนศรียาภัย จังหวัดชุมพร 26<br />

9 อาคารศูนยการเรียนรูภูมิปญญาทองถิ่น<br />

จังหวัดชุมพร 26<br />

10 อาจารยนิยม บํารุงเสนา 45<br />

11 นายกฤษฎา วิสัยรัตน 45<br />

12 นายธีรยุทธ บํารุงพล 46<br />

13 นายมนัสพล ยอยถึง 46<br />

14 นายปรัชญา หีตนาคราม 47<br />

(5)


่<br />

สารบัญภาพ (ตอ)<br />

ภาพที<br />

หนา<br />

15 นางสาวศิริพร โจมฤทธิ์<br />

47<br />

16 นางสาวรุงรวี<br />

กลอมมิตร 48<br />

17 นางสาวกมลรัตน มลธุรัช 48<br />

18 นางสาวณัฐชนันท ไกรวิลาศ 49<br />

19 นางสาวอรนิภา ปลอดดวน 49<br />

20 นางสาวพวงสนธิ์<br />

จิตประสงค 50<br />

21 นางสาวปรียาภรณ วงศวรชาติ 50<br />

22 นางสาวชฎาพร โตสถาน 51<br />

23 นางสาวนิศาชล ชูสังกิจ 51<br />

24 นายภคธร ธรรมรัต 52<br />

25 นายวีระศักดิ์<br />

เชิงค 52<br />

26 เด็กชายจิรวัฒน รัตนโสภา 53<br />

27 นายชัยณรงค พุมพะเนิน<br />

53<br />

28 เด็กหญิงอุมาภรณ วงศวรชาติ 54<br />

(6)


่<br />

สารบัญภาพ (ตอ)<br />

ภาพที<br />

หนา<br />

29 นางสาวชลลดา จรูญรักษ 54<br />

30 นายวาสุรัตน เต็มสังข 55<br />

31 เครื่องบูชาประกอบพิธี<br />

92<br />

32 ทารําประกอบบทรองที่วา<br />

“ครูเอยครูสอน” 115<br />

33 ทารําประกอบบทรองที่วา<br />

“เสดื้องกรมาตองา”<br />

116<br />

34 ทารําประกอบบทรองที่วา<br />

“ครูสอนใหผูกผา” 116<br />

35 ทารําประกอบบทรองที่วา<br />

“สอนขาใหทรงกําไล” 113<br />

36 ทารําประกอบบทรองที่วา<br />

“สอนใหครอบเทริดนอย” 117<br />

37 ทารําประกอบบทรองที่วา<br />

“แลวจับสรอยพวงมาลัย” 117<br />

38 ทารําประกอบบทรองที่วา<br />

“สอนทรงกําไล สอดใสซายใสขวา” 117<br />

39 ทารําประกอบบทรองที่วา<br />

“เสดื้องยางขางซาย”<br />

118<br />

40 ทารําประกอบบทรองที่วา<br />

“ตีคาไดหาพารา” 118<br />

41 ทารําประกอบบทรองที่วา<br />

“เสดื้องเยื้องขวา<br />

ตีคาไดหาตําลึงทอง” 118<br />

42 ทารําประกอบบทรองที่วา<br />

“หาไหนใหไดเสมือนนอง ทํานองพระเทวดา” 119<br />

(7)


่<br />

สารบัญภาพ (ตอ)<br />

ภาพที<br />

หนา<br />

43 ขณะบรรเลงโหมโรง(ลงโรง) 123<br />

44 การกาศครู 125<br />

45 การรองกลอนหนาฉาก 127<br />

46 การรําขอเทริด 1 127<br />

47 การรําขอเทริด 2 128<br />

48 การแสดงรําเพลงทับเพลงโทน 130<br />

49 การรําเกี้ยวทับ<br />

ในการรําเพลงทับเพลงโทน 130<br />

50 การทําบท 5 คน 132<br />

51 การทําบท 3 คน 132<br />

52 ขณะวากลอนคําพรัด 133<br />

53 การรําแทงเข 135<br />

54 ขณะรําแทงเข 136<br />

55 การรํากลอนโต 141<br />

56 เทริด 142<br />

(8)


่<br />

สารบัญภาพ (ตอ)<br />

ภาพที<br />

หนา<br />

57 หางหงส 142<br />

58 กรองบา 143<br />

59 รัดอก 143<br />

60 กรองคอ 143<br />

61 สายสังวาลยเล็ก 144<br />

62 ทับทรวง 144<br />

63 สายสังวาลยใหญ และปกนกแอน 144<br />

64 หนาผา 145<br />

65 จัดหนาผา 145<br />

66 โจงกระเบน 145<br />

67 ตนแขน ปลายแขน 146<br />

68 กําไล 146<br />

69 เล็บ 146<br />

70 หนาพราน และหนาทาสี 147<br />

(9)


(10)<br />

่<br />

สารบัญภาพ (ตอ)<br />

ภาพที<br />

หนา<br />

71 เครื่องแตงกายและอุปกรณพราน<br />

(หนาพราน ยาม ลูกประคํา เชือก ผานุง)<br />

147<br />

72 หอก 148<br />

73 ไมหวาย (ไมเฆี่ยนพราย)<br />

148<br />

74 อุปกรณในการตัดจําเลย หรือการแกบน (พระขรรค สายสินธุ<br />

มีดหมอและฝก 148<br />

75 ปตน<br />

149<br />

76 ขณะบรรเลงปตน<br />

149<br />

77 ทับ 150<br />

78 ขณะบรรเลงทับ 150<br />

79 กลอง 151<br />

80 ขณะบรรเลงกลอง 151<br />

81 โหมง และฉิ่ง<br />

152<br />

82 ดานในของโหมง หรือรางโหมง 152<br />

83 ขณะบรรเลงโหมงและฉิ่ง<br />

152<br />

84 แตระ 153


(11)<br />

่<br />

สารบัญภาพ (ตอ)<br />

ภาพที<br />

หนา<br />

85 ขณะบรรเลงแตระ 153<br />

86 ภาพระยะหางของขั้นคูเสียงของปตน<br />

179


บทที่<br />

1<br />

บทนํา<br />

ความสําคัญและที่มาของปญหา<br />

ศิลปะแหงการฟอนรํา ดนตรี และการเลนการแสดงตาง ๆ ของภาคใตนั้น<br />

จัดวามี<br />

เอกลักษณเดนชัดเฉพาะตัว ทั้งความออนชอย<br />

กระฉับกระเฉง และแมนยํา รวมถึงความมั่นใจในการ<br />

แสดงออกซึ่งศิลปะ<br />

ทําใหสะทอนภาพของการดําเนินชีวิตซึ่งตองตอสูกับภัยธรรมชาติและอื่น<br />

ๆ ทํา<br />

ใหเกิดความแข็งแกรงในชีวิตจนดูออกจะแข็งกราวแตไมดุราย ความออนโยนนั้นจะซอนเรนอยูกับ<br />

ทวงทีซึ่งจริงจัง<br />

ขึงขัง และเฉียบขาด จากการขับรองตามสําเนียง ทําใหซาบซึ้ง<br />

ถึงคุณธรรมและแนว<br />

จริยธรรมของคนในทองถิ่นอยางสมบูรณ<br />

เรณู (2539) กลาววา การแสดงตาง ๆ ของชาวภาคใต สามารถจําแนกได หลายแบบ เชน<br />

แบบที่ไดรับอิทธิพลมาจากตางประเทศ<br />

และ แบบที่เปนของไทยมาแตเดิม<br />

มีตัวอยางดังตอไปนี้<br />

แบบที่ไดรับอิทธิพลจากตางประเทศ<br />

เนื่องจากภาคใตมีความใกลชิดกับประเทศมาเลเซีย<br />

ดวยหลายจังหวัดในภาคใตมีอาณาเขตติดตอกัน ไดแกกลุมจังหวัดชายแดน<br />

4 จังหวัด คือ จังหวัด<br />

นราธิวาส จังหวัดปตตานี จังหวัดยะลา และจังหวัดสตูล ตลอดจนบางอําเภอของจังหวัดสงขลา การ<br />

แสดงที่ไดรับอิทธิพลจากประเทศมาเลเซียไดแก<br />

มะโยง, ซัมเปง, โตะครึม, ดิเกฮูลู, ลอแก, สลาเปะ,<br />

อาแวลูตง, ดาระ, กรือโตะ เปนตน<br />

แบบที่เปนของไทยมาแตเดิมมีการสืบคนควาหาประวัติที่มาของนาฏศิลปและการแสดง<br />

ของภาคใต ปรากฏวาไดจากหลักฐานและจากการสันนิษฐานหลายกระแส เชน กลาววา นาฏศิลป<br />

บางประเภทนั้น<br />

ชาวภาคใตไดรับมาจากภาคกลางสมัยอยุธยา หรือสมัยเมื่อกรุงศรีอยุธยาเสียแก<br />

ขาศึก บรรดาศิลปนนักแสดงทั้งหลายก็อพยพหนีภัยสงครามลงมาอยูภาคใต<br />

ไดนําเอาวิชาความรู<br />

ทางนาฏศิลปเผยแพรสูภาคใตดวย<br />

เชน การเลนละครที่เรียกกันวา<br />

“ชาตรี” และบางกระแสก็วา<br />

เปนการคิดสรางสรรคที่มีอยูเปนแบบฉบับดั้งเดิมของชาวภาคใตมานานแลว<br />

หาไดลอกเลียนแบบ<br />

หรือไดรับมาจากที่อื่นไม<br />

ในทางตรงขามที่อื่นอาจไดไปจากภาคใตดวยซ้ํา<br />

การแสดงที่เปนการเลน<br />

พื้นเมืองจะเห็นไดจากการที่จัดขึ้นเพื่อเปนพุทธบูชา<br />

หรือจัดขึ้นในงานบุญกุศลอันเนื่องมาจาก


พระพุทธศาสนา ซึ่งไดแก<br />

มหาชาติทรงเครื่อง,<br />

สวดมาลัย, เพลงนา, เพลงเรือ, คําตัก, หนังตะลุงและ<br />

โนรา เปนตน<br />

ในบรรดาศิลปการแสดงโนรา หรือ มโนหรา เปนการแสดงที่ยิ่งใหญและเปนชีวิตชีวาของ<br />

ชาวไทยภาคใตเกือบทุกจังหวัด เปนการละเลนพื้นเมืองที่สืบทอดกันมานานและนิยมกันอยาง<br />

แพรหลายในภาคใต เปนการละเลนที่มีทั้งการรอง<br />

การรํา บางสวนเลาเปนเรื่อง<br />

และบางโอกาสก็<br />

จัดแสดงตามคติความเชื่อที่เปนพิธีกรรม<br />

อุดม (2536) ไดกลาววา นับตั้งแตอดีตถึงปจจุบัน<br />

การแสดงโนราไดแบงเปน 2 ลักษณะ คือ<br />

1. การแสดงโนราเพื่อความบันเทิง<br />

เชน โนราโรงเดียว, หรือโรงธรรมดา และ<br />

การแสดงโนราประชันโรง หรือที่มักจะเรียกกันวา<br />

“โนราแขง” ซึ่งเปนการประชันโรงของโนรา<br />

ตั้งแต<br />

2 คณะขึ้นไป<br />

2. การแสดงโนราเพื่อประกอบพิธีกรรม<br />

หมายถึงการแสดงโนราในพิธีกรรม<br />

สําคัญ ๆ ของโนรา เชนพิธีแกบน พิธีโนราลงครู ทั้งที่เปนโรงครูใหญ<br />

และโรงครูประจําป<br />

สุพัฒน (2539) กลาววา การแสดงโนรา ไมวาจะเปนเพื่อความบันเทิง<br />

หรือเพื่อประกอบ<br />

พิธีกรรม ผูรําและผูเกี่ยวของตางก็ไดนําเอาความเชื่อทางไสยศาสตร<br />

อันไดแก คาภา อาคม เวท<br />

มนต และการลงอักขระเลขยันต เขามาผสมผสานประกอบเขากับขั้นตอนตาง<br />

ๆ ในการแสดงโนรา<br />

ควบคูกันไปอยูเสมอ<br />

เชน การเบิกโรง จะมีพิธีที่เรียกวา<br />

“กันโรง” เพื่อปองกันเหตุราย<br />

สิ่งไมดีที่<br />

จะเกิดแกตนและสมาชิกในคณะ การแตงตัวโนรา ก็จะมีการบริกรรมคาถากํากับ ขณะสวมเครื่อง<br />

แตงกายชิ้นตาง<br />

ๆ และเมื่อแตงตัวเสร็จแลวยังมีการเสกแปงผัดหนา<br />

การชุบราศี เพื่อทําใหผิวพรรณ<br />

มีความเปลงปลั่งสวยงาม<br />

เปนที่ตองตาตองใจ<br />

ทําใหผูชมเกิดความรัก<br />

ความเมตตา และกอนที่จะ<br />

รองกลอน ยังมีการทําพิธีชักเสียง เพื่อทําใหเสียงมีความไพเราะนาฟง<br />

อยางไรก็ตาม การนําเอา<br />

ไสยศาสตรที่กลาวมาใชนั้น<br />

ทั้งผูรําและผูเกี่ยวของมักถือปฏิบัติ<br />

เปนกิจสวนตัวมิไดแสดงออกให<br />

ผูชมไดเห็นอยางเปดเผย<br />

ลักษณะการบรรเลงดนตรีประกอบการแสดงโนรานั้น<br />

จะคํานึงที่จังหวะหรือทํานองทับ<br />

เปนหลัก โดยมีกลองเปนเครื่องสอดประสานไปกับทํานองเพลงทับ<br />

และมีเครื่องประกอบจังหวะ<br />

2


อื่นๆ<br />

เชน ฉิ่ง<br />

โหมง แตระ เปนเครื่องควบคุมจังหวะถี่<br />

- หาง เพื่อเสริมใหทํานองเพลงทับโดดเดน<br />

มากยิ่งขึ้น<br />

สวนทํานองดนตรีหรือบทเพลงที่ใชบรรเลง<br />

ก็เปนเพียงองคประกอบสวนหนึ่งที่เพิ่มเติม<br />

สีสันของดนตรีใหเกิดความสุนทรีย ทํานองเพลงหรือบทเพลงที่นํามาบรรจุและบรรเลงรวมกับ<br />

จังหวะหรือทํานองเพลงทับจึงตองมีความสัมพันธกัน เพลงทับจะเปนตัวแปรและมีบทบาทที่<br />

สําคัญตอกระบวนลีลารําหรือทาเตน บางกรณีก็จะเปนผูกําหนดการเคลื่อนไหวของทารําดวย<br />

โนราเปนศิลปะการแสดงพื้นบานของจังหวัดชุมพรมาตั้งแตสมัยโบราณ<br />

ซึ่งสันนิษฐานวา<br />

รับแบบอยางมาจากจังหวัดอื่นทางภาคใต<br />

เชนสุราษฎรธานี พัทลุง นครศรีธรรมราช ในปจจุบันการ<br />

แสดงโนราของจังหวัดชุมพร แบงออกเปน 2 แบบ ไดแก โนราชาวบาน คือ คณะโนราพื้นบานที่<br />

รับงานแสดงโดยทั่วไป<br />

แสดงโดยบุคคลที่ฝกหัดโนราในทองถิ่น<br />

หรือลูกหลานของชาวคณะโนรา<br />

นั้น<br />

ๆ และโนราโรงเรียน คือ คณะโนราที่จัดตั้งขึ้นในโรงเรียน<br />

รวมถึงแสดงโดยนักเรียนของ<br />

โรงเรียนนั้น<br />

ๆ ดวย<br />

โนราศรียาภัย โรงเรียนศรียาภัย อําเภอเมือง จังหวัดชุมพร เปนโนราโรงเรียนที่มีชื่อเสียง<br />

เปนที่รูจักของคนทั่วไปทั้งในจังหวัดชุมพร<br />

ภาคใต และยังเปนที่รูจักในระดับประเทศ<br />

จัดเปนโนรา<br />

เพื่อการอนุรักษอยางสมบูรณแบบ<br />

โดยอนุรักษความเปนเอกลักษณทางวัฒนธรรมของชาวใตได<br />

อยางครบถวน รวมถึงมีการพัฒนาวิธีการรํา การรองโนราใหเขาถึงคนชมไดมากยิ่งขึ้น<br />

และมีการ<br />

เรียนการสอนอยางมีระเบียบแบบแผน ตั้งแตการฝกฝนโนราของโรงเรียนศรียาภัยที่มิไดเปนแคการ<br />

ฝกฝนเพื่อรับงานแสดงเทานั้น<br />

แตเปนการฝกฝนในดานจิตใจของผูแสดงโนราดวยวาตองมีความ<br />

ขยัน อดทน ซื่อสัตย<br />

กลาคิดกลาทําในสิ่งที่ถูกตองและเหมาะสม<br />

มีความรับผิดชอบในหนาที่ของ<br />

ตน และมีความกตัญูรูคุณตอบิดามารดา<br />

ครูบาอาจารย รวมถึงจะตองเคารพตัวเองอีกดวย<br />

ความเปนเอกลักษณทางวัฒนธรรมของชาวใต โดยเฉพาะอยางยิ่งคือภาษาถิ่นของชาวใต<br />

ทําใหการแสดงโนราไมแพรหลายไปในภูมิภาคอื่น<br />

รวมถึงการถายทอดแบบมุขปาฐะกันเฉพาะ<br />

คณะโนราเดียวกันเทานั้น<br />

ทําใหโนราภาคใตกําลังจะสูญหายไปพรอมกับการจากไปของนายโรง<br />

โนราคนแลวคนเลา ดวยเหตุนี้ผูวิจัยจึงตระหนักถึงคุณคา<br />

ความงามทางศิลปะการแสดง “โนรา” วา<br />

นอกจากจะทําใหเกิดความบันเทิงแกผูชมแลว การแสดงโนรายังเปนสื่อสะทอนภาพชีวิต<br />

ความคิด<br />

ความรู<br />

คานิยม ตลอดจนความเชื่อของชนชาวใตอยางชัดเจน<br />

ประกอบกับผูวิจัยเปนคนใน<br />

วัฒนธรรมถิ่นใต<br />

จึงไดมองเห็นความสําคัญโนราชุมพรที่กําลังจะสูญหายไป<br />

จึงไดศึกษาวิจัยในเรื่อง<br />

โนราชุมพร: กรณีศึกษา การแสดงโนราของโรงเรียนศรียาภัย จ.ชุมพร เพื่อเปนประโยชนในดาน<br />

3


การอนุรักษ และเผยแพรวัฒนธรรมอันดีงามอีกทั้งยังทําใหเกิดความกาวหนาในการศึกษาดาน<br />

มานุษยดุริยางควิทยาตอไป<br />

วัตถุประสงค<br />

1. เพื่อศึกษาประวัติความเปนมา<br />

ตลอดจนพิธีกรรมและความเชื่อในการแสดงโนรา<br />

2. เพื่อศึกษาประวัติความเปนมา<br />

การดําเนินการและการแสดงโนราศรียาภัย จังหวัดชุมพร<br />

3. เพื่อศึกษาวิเคราะหเพลงประกอบการแสดงโนราและวิเคราะหบทบาทหนาที่ทางสังคม<br />

ของโนราศรียาภัย จังหวัดชุมพร<br />

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ<br />

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากการวิจัยครั้งนี้<br />

มี 2 ประเด็นหลัก คือ ประเด็นทางคติชน<br />

วิทยา สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา กับประเด็นทางดุริยางควิทยา กลาวคือ<br />

จากการศึกษาในประเด็นทางคติชนวิทยา สังคมวิทยา และมานุษยวิทยา จะไดทราบถึง<br />

ประวัติความเปนมาของการแสดงและองคประกอบของโนราในประเทศไทย โดยการศึกษาจากภาค<br />

เอกสารที่เปนหลักฐานทางประวัติศาสตร<br />

และการศึกษาภาคสนามจากการสัมภาษณผูเชี่ยวชาญ<br />

ทางดานการแสดงโนรา ซึ่งผูวิจัยไดรวบรวมเรื่องราวเกี<br />

่ยวกับการแสดงโนราในประเทศไทย และ<br />

การแสดงโนราในจังหวัดชุมพรเพื่อใหผูสนใจไดเรียนรูและทําการศึกษาตอไป<br />

สวนการศึกษาในประเด็นทางดุริยางควิทยา จะไดทราบถึงวิธีการบรรเลงเครื่องดนตรี<br />

ประกอบการแสดงโนราโดยเนนการศึกษาโนราศรียาภัย ของโรงเรียนศรียาภัย จังหวัดชุมพร<br />

รวมถึงการรวบรวมบทรองโนรา ทารําโนรา และและบทเพลงที่ใชในการรําในชุดแมบท<br />

หรือที่<br />

เรียกวาเพลงครู ซึ่งประกอบดวย<br />

ครูสอน สอนรํา และประถม – พรหมสี่หนา<br />

โดยผูวิจัยไดทําการ<br />

บันทึกโนตและวิเคราะหบทเพลงดังกลาวในเชิงดุริยางควิทยา เพื่อใหผูสนใจไดเรียนรู<br />

และเขาใจ<br />

บทเพลงประกอบการแสดงโนรามากขึ้น<br />

และยังเปนการอนุรักษบทเพลงประกอบการแสดงโนรา<br />

ใหคงอยูตอไป<br />

4


ขอบเขตของการศึกษา<br />

การวิจัยนี้เปนการศึกษาเฉพาะการแสดงโนรา<br />

โรงเรียนศรียาภัย ตําบลทาตะเภา อําเภอ<br />

เมือง จังหวัดชุมพร ตั้งแตเดือนมิถุนายน<br />

พ.ศ.2547 – เดือนเมษายน พ.ศ.2549 เทานั้น<br />

และในการ<br />

วิเคราะหบทเพลง จะวิเคราะหเฉพาะบทเพลงประกอบการแสดง การรําทาครู ซึ่งประกอบดวย<br />

3<br />

ชุดการแสดง คือ ครูสอน สอนรํา และประถมพรหมสี่หนา<br />

โดยเนนที่ทํานองหลักของบทเพลง<br />

เปนสําคัญ<br />

ขอตกลงเบื้องตน<br />

1. โนรา ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 สามารถเขียนได 3 แบบ คือ<br />

โนรา มโนราห มโนหรา ซึ่งในการวิจัยครั้งนี้เลือกใชคําวา<br />

โนรา<br />

2. สัญลักษณ “ ” หมายถึง การเปาโนตตัวเดียวเสียงสั้น<br />

(Staccato) ติดตอกัน<br />

หลายๆครั้ง<br />

คอยๆเร็วขึ้นจนครบจังหวะ<br />

โดยแสดงสัญลักษณไวเหนือโนตที่ตองการ<br />

3. สัญลักษณ “ ^ ” หมายถึง การเปาโนตตัวเดียวเสียงสั้น<br />

(Staccato) ดวยเทคนิคที่<br />

เรียกวา “ตอด” โดยแสดงสัญลักษณไวเหนือโนตที่ตองการ<br />

4. สัญลักษณ “ ” หมายถึง การเปาโนตตัวเดียวเสียงสั้น<br />

(Staccato) ดวยเทคนิคที่<br />

เรียกวา “ตอด” ติดตอกันหลายๆครั้ง<br />

คอยๆเร็วขึ้นจนครบจังหวะ<br />

โดยแสดงสัญลักษณไวเหนือโนต<br />

ที่ตองการ<br />

5. เครื่องหมาย<br />

“ ” หมายถึง การเปาปครั้งเดียวใหเกิดการเลื่อนไหลของเสียงจากเสียง<br />

ต่ําขึ้นไปหาเสียงที่กําหนด<br />

ซึ่งเปนเสียงที่สูงกวาเสียงแรก<br />

1 เสียง โดยใชเครื่องหมายวางไวหนาตัว<br />

โนตที่ตองการ<br />

6. เครื่องหมาย<br />

“ ” หมายถึง การผันเสียงจากเสียงสูงลงมาสูเสียงที่ต่ํากวาแตจะกําหนด<br />

เสียงต่ําดวยโนตตัวถัดไป<br />

โดยใชเครื่องหมายวางไวหนาตัวโนตที่ตองการ<br />

5


7. สัญลักษณขีด 3 ขีดคาบทับหางของตัวโนต “ ” หมายถึง การตีกลอง/ฉิ่ง<br />

ใน<br />

ลักษณะการตีรัว<br />

นิยามศัพทเฉพาะ<br />

โนรา หมายถึง ศิลปะการแสดงพื้นบานอยางหนึ่งของภาคใต<br />

ประกอบดวย การรอง<br />

การรํา และมีวงดนตรีบรรเลงประกอบการแสดง ซึ่งมีจังหวะการรองรํา<br />

และทํานองเพลง<br />

โดยเฉพาะ มีทั้งที่เลนเปนมหรสพเพื่อความบันเทิง<br />

และการแสดงตามคติความเชื่อที่เปนพิธีกรรม<br />

โนราชุมพร หมายถึง คณะโนราในจังหวัดชุมพร<br />

โนราศรียาภัย หมายถึง คณะโนราของโรงเรียนศรียาภัย จังหวัดชุมพร<br />

เพลงครู หมายถึง เพลงที่มีทารําที่เปนระเบียบแบบแผน<br />

มีการกําหนดไวอยางชัดเจน<br />

เพลงครูเปนเพลงที่ใชในการฝกหัดรําโนรา<br />

ครูสอน หมายถึง บทเพลงและทารําที่ใชในการรําประกอบคําสอนของครูโนรา<br />

สําหรับผู<br />

เริ่มหัดรํา<br />

ซึ่งจะบอกถึงคําสอนวิชาโนรา<br />

เชน สอนใหรูจักตั้งวงแขน<br />

เยื้องขาและเทา<br />

สนใหรูจัก<br />

สวมเทริด สอนใหรูจักการนุงผาแบบโนรา<br />

ทารําในบทครูสอนนี้เปนทารําเบื้องตนที<br />

่สอนใหรูจัก<br />

การแตงกาย และทาทางประกอบการแตงกายแบบโนรา<br />

สอนรํา หมายถึง บทเพลงและทารําที่ใชในการรําขั้นพื้นฐานเลนเดียวกับครูสอน<br />

แตสอน<br />

รํา จะมีบทรําที่ยาวกวาและมีการใชทาที่ยากกวาการรําครูสอน<br />

ประถม – พรหมสี่หนา<br />

หมายถึง บทเพลงและทารําที่ถือเปนทาแมบทของโนรา<br />

บทรองประกอบทารํา หมายถึง บทที่โนราใชขับ<br />

โดยมีทารําประกอบดวย ซึ่งมีบท<br />

ประกอบทาครูสอน สอนรํา และทาประถม เปนตน<br />

6


บาก หมายถึง วิธีการตีกลองที่เปนอาณัตสัญญาณหมายรูในหมูนักแสดงและนักดนตรีเพื่อ<br />

การเปลี่ยนทํานองเพลงหรือเปลี่ยนทารํา<br />

ตอด หมายถึง การหยุดเสียงป<br />

โดยใชลิ้น<br />

7


บทที่<br />

2<br />

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ<br />

การศึกษาวิจัยเรื่อง<br />

“โนราชุมพร: กรณีศึกษาการแสดงโนราของโรงเรียนศรียาภัย จังหวัด<br />

ชุมพร” ไดศึกษาเอกสารใน 4 หัวขอ คือ<br />

1. เอกสารเกี่ยวกับสภาพทางภูมิศาสตร<br />

สังคมและวัฒนธรรมตาง ๆ ในจังหวัดชุมพร<br />

2. เอกสารเกี่ยวกับโรงเรียนศรียาภัย<br />

และศูนยการเรียนรูภูมิปญญาทองถิ่น<br />

จังหวัดชุมพร<br />

3. เอกสารเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีที่ใชในการศึกษา<br />

4. งานวิจัยที่เกี่ยวของกับโนราและการแสดงโนรา<br />

เอกสารเกี่ยวกับสภาพทางภูมิศาสตร<br />

สังคมและวัฒนธรรมตาง ๆ ในจังหวัดชุมพร<br />

1. สภาพภูมิศาสตร<br />

1.1 ที่ตั้งของจังหวัดชุมพร<br />

จังหวัดชุมพรเปนจังหวัดที่อยูเหนือสุดของภาคใต<br />

บริเวณคอคอดกระ ระหวางละติจูดที่<br />

10 องศา 29 ลิปดาเหนือ ลองติจูด 99 องศา 11 ลิปดาตะวันออก หางจากกรุงเทพมหานคร ตาม<br />

ระยะทางหลวงแผนดินหมายเลข 4 (เพชรเกษม) ประมาณ 498 กิโลเมตร และทางรถไฟสายใต<br />

ประมาณ 476 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดตอกับจังหวัดใกลเคียง ดังตอไปนี้<br />

ทิศเหนือ ติดตอกับอําเภอบางสะพานนอย จังหวัดประจวบคีรีขันธ และสหภาพพมา<br />

ทิศใต ติดตอกับอําเภอทาชนะจังหวัดสุราษฎรธานี<br />

ทิศตะวันออก ติดตอกับทะเลอาวไทย หรือทะเลจีนใต<br />

ทิศตะวันตก ติดตอกับจังหวัดระนอง และสหภาพพมา


ภาพที่<br />

1 แผนที่จังหวัดชุมพร<br />

ที่มา:<br />

การทองเที่ยวแหงประเทศไทย<br />

(2548)<br />

9


ภาพที่<br />

2 แผนที่โรงเรียนศรียาภัยและแผนที่ตัวเมืองจังหวัดชุมพร<br />

ที่มา:<br />

สํานักงานจังหวัดชุมพร (2546)<br />

รร.ศรียาภัย


1.2 ขนาดและรูปราง<br />

จังหวัดชุมพรมีลักษณะพื้นที่แคบยาวคลายรูปสี่เหลี่ยมผืนผา<br />

มีความยาวตามแนว<br />

ชายฝงทะเลประมาณ<br />

222 กิโลเมตร มีความกวางประมาณ 36 กิโลเมตร มีเนื้อที่<br />

ประมาณ 3.75 ลาน<br />

ไร หรือประมาณ 6009.008 ตารางกิโลเมตร<br />

1.3 ลักษณะภูมิประเทศ<br />

ลักษณะภูมิประเทศของจังหวัดชุมพร ทิศตะวันตก มีเทือกเขาตะนาวศรีและเทือกเขา<br />

ภูเก็ต เปนแนวกั้นเขตแดนระหวางประเทศไทยกับประเทศสหภาพพมา<br />

จึงมีลักษณะเปนพื้นที่ราบ<br />

สูงลาดเทจากทิศตะวันตกสูพื้นที่ต่ําทางทิศตะวันออก<br />

ประกอบดวยภูเขาและปาไม ซึ่งเปน<br />

แหลงกําเนิดของตนน้ําลําธารที่สําคัญสายสั้น<br />

ๆ หลายสาย ไหลลงสูพื้นที่ต่ําทางทิศตะวันออก<br />

เชน<br />

แมน้ําทาตะเภา,<br />

แมน้ําหลังสวน<br />

และแมน้ําสวี<br />

เปนตน<br />

สวนบริเวณตอนกลางของจังหวัด มีลักษณะเปนที่ราบลูกคลื่น<br />

และที่ราบลุมแมน้ํา<br />

มีความอุดมสมบูรณสูงเหมาะแกการเพาะปลูก มีเนื้อที่ประมาณ<br />

1 ใน 4 ของพื้นที่จังหวัด<br />

และดาน<br />

ทิศตะวันออก มีลักษณะเปนที่ราบตามแนวชายฝงทะเลอาวไทย<br />

ชายหาด มีลักษณะคอนขางเรียบ<br />

หาดทรายกวาง มีความโคงเวานอย สวยงามมาก จึงเปนสถานที ่ทองเที่ยวที่สําคัญของจังหวัด<br />

1.4 ลักษณะภูมิอากาศ<br />

จังหวัดชุมพรตั้งอยูบนแหลมมลายู<br />

ซึ่งอยูระหวางทะเลอันดามันกับทะเลอาวไทย<br />

หรือ<br />

ทะเลจีนใต จึงไดรับอิทธิพลของมรสุมทั้ง<br />

2 ฤดู คือ ตั้งแตเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม<br />

และ<br />

มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ตั้งแตเดือนตุลาคมถึงเดือนกุมภาพันธ<br />

ดวยเหตุนี้<br />

จังหวัดชุมพรจึงไดรับ<br />

ปริมาณน้ําฝนมากทั้ง<br />

2 ฤดู โดยเฉพาะมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือนั้นเปนชวงที่รับฝนมากที<br />

่สุด<br />

เพราะอิทธิพลจากหยอมความกดอากาศต่ําและพายุหมุนเขตรอน<br />

ทําใหมีฝนตกเปนบริเวณกวาง<br />

ดวยอิทธิพลของทั้ง<br />

2 ลมมรสุมนี้<br />

ทําใหลักษณะภูมิอากาศของจังหวัดชุมพรเปนแบบ<br />

มรสุมรอนชื้น<br />

จึงสามารถแบงฤดูกาลในรอบปได 2 ฤดู คือ<br />

11


1.4.1. ฤดูฝน เริ่มตั้งแตเดือนพฤษภาคม<br />

ถึง เดือนธันวาคม เปนชวงที่ลมมรสุม<br />

ตะวันตกเฉียงใต พัดพาเอาฝนจากมหาสมุทรอินเดีย และมรสุมตัวนออกเฉียงเหนือพัดพาเอาฝนจาก<br />

ทะเลจีนใตเขาสูจังหวัดชุมพร<br />

ทําใหเปนชวงฝนตกนานถึง 8 เดือน<br />

1.4.2. ฤดูรอน ตั้งแตเดือนกุมภาพันธ<br />

ถึง เดือนเมษายน เปนชวงที่มรสุมตะวันออก<br />

เฉียง เหนือ พัดออนกําลังลง อากาศจะรอนขึ้นเรื่อย<br />

ๆ จนรอนที่สุดในเดือนเมษายน<br />

แตอุณหภูมิยัง<br />

ต่ํากวาภาคอื่น<br />

ๆ เนื่องจากไดรับอิทธิพลของลมทะเล<br />

2. ประชากร 1 / กลุมชาติพันธุ<br />

จังหวัดชุมพรมีประชากร ประมาณ 452,319 คน เปนเพศชาย 227,814 คน และเพศหญิง<br />

224,505 คน ความหนาแนนของประชากรโดยเฉลี่ย<br />

75.273 คนตอตารางกิโลเมตร อําเภอที่มีความ<br />

หนาแนนมากที่สุด<br />

คือ อําเภอเมือง มีประชากรโดยเฉลี่ย<br />

207.73 คน ตอตาราง กิโลเมตร และอําเภอ<br />

พะโตะ เปนอําเภอที่มีจํานวนประชากรหนาแนนนอยที่สุด<br />

คือ ประชากรโดยเฉลี่ย<br />

19.24 คน ตอ<br />

ตารางกิโลเมตร<br />

ประชากรสวนใหญนับถือศาสนาพุทธ คิดเปนรอยละ 97.20 รองลงมาไดแก ศาสนา<br />

อิสลาม รอยละ 1.86 ศาสนาคริสต รอยละ 0.47 และศาสนาอื่น<br />

ๆ อาทิ ศาสนาพราหมณ ฮินดู ซิกซ<br />

ฯลฯ รอยละ 0.47 ตามลําดับ<br />

ประชากรในจังหวัดชุมพรสวนใหญเปนชนพื้นเมืองเดิม<br />

มีนิสัยออนโยน รักถิ่นฐาน<br />

บานเรือน รักความสงบ มีจิตใจโอบออมอารี และนอกจากชนพื้นเมืองเดิม<br />

ในจังหวัดชุมพรยังมีชน<br />

กลุมนอยอาศัยอยู<br />

4 กลุมดวยกัน<br />

คือ<br />

2.1 กลุมคนไทยพลัดถิ่น<br />

ชนกลุมนอยกลุมนี้เปนคนไทยโดยกําเนิด<br />

มีเชื้อชาติไทย<br />

สัญชาติไทย แตไดอพยพไป<br />

ทํามาหากินในสหภาพพมา เขตหมูบานบกเปยน<br />

ตอมาไดหนีสงครามกลับเขามาอาศัยในประเทศ<br />

ไทย ที่บริเวณหมู<br />

1 ตําบลสลุย และ หมู<br />

1, 2, 3, 4 และ หมูที่<br />

7 ตําบลสองพี่นอง<br />

อําเภอทาแซะ<br />

1<br />

ที่มา:<br />

ที่ทําการปกครองจังหวัดชุมพร<br />

พ.ศ. 2546<br />

12


จังหวัดชุมพร ชาวบานทั่วไปเรียกชนกลุมนอยนี้วา<br />

“คนลังเคี่ย”<br />

ตอมาทางราชการใหชื่อวา<br />

“คน<br />

ไทยพลัดถิ่น”<br />

2.2 กลุมลาวโซง<br />

เปนชนกลุมนอยที่อพยพมาจากจังหวัดเพชรบุรีและจังหวัดราชบุรี<br />

อาศัยอยูบริเวณ<br />

พื้นที่บานดอนรวบ<br />

หมูที่<br />

8 ตําบลบางหมาก อําเภอเมือง จังหวัดชุมพร ลาวโซงสวนใหญประกอบ<br />

อาชีพเกษตรกรรม มีวัฒนธรรมและการสืบทอดทางวัฒนธรรมของตนเองอยางตอเนื่อง<br />

เชนการ<br />

แตงกายชุดพื้นเมือง<br />

ที่เรียกวา<br />

“ชุดไทยทรงดํา” ซึ่งสวนใหญ<br />

จะใสในเทศกาลสงกรานต(เดือนหา)<br />

ในงานจะมีการฟอนรําชุดไทยทรงดํา โดยใชแคนเปนเครื่องดนตรีบรรเลงประกอบการรํา<br />

และมีการ<br />

ประกวดการแตงกายสวยงามอีกดวย<br />

ประเพณีสําคัญของกลุมลาวโซงคือ<br />

ประเพณีการแตงงาน ซึ่งจะตองจัดใหมีการไหวผี<br />

เรือน ที่เรียกวา<br />

“ประเพณีแสนเฮือน” และประเพณีงานศพซึ่งมีความแตกตางจากประเพณีไทย<br />

ทั้ง<br />

สองประเพณี และการแตงกายนั้น<br />

ถือเปนเอกลักษณของกลุมลาวโซง<br />

จังหวัดชุมพรนั่นเอง<br />

2.3 กลุมกะเหรี่ยงพุทธ<br />

เปนชนกลุมนอยที่หนีภัยจากการสูรบในสหภาพพมา<br />

เขามาอาศัยบริเวณบานปน<br />

แตก (แพรกยิงกัน) ตําบลสองพี่นอง<br />

อําเภอทาแซะ ซึ่งอยูหางจากบริเวณชายแดนไทย<br />

– พมา<br />

ประมาณ 2 กิโลเมตร<br />

2.4 กลุมกระเหรี่ยงคริสต<br />

เปนชนกลุมนอยที่อพยพมาจากสหภาพพมา<br />

มาตั้งถิ่นฐานอยูบริเวณชายแดน<br />

–<br />

พมา เขตตําบลรับรอ และตําบลสองพี่นอง<br />

อําเภอทาแซะ จังหวัดชุมพร ดวยเหตุที่ชนกลุมนี้สวน<br />

ใหญนับถือศานาคริสต ชาวบานจึงเรียกวา “กะเหรี่ยงคริสต”<br />

้<br />

3. การปกครองสวนจังหวัดชุมพร<br />

จังหวัดชุมพรแบงเขตการปกครองเปน 8 อําเภอ 66 ตําบล 683 หมูบาน<br />

ไดดังนี<br />

- อําเภอเมืองชุมพร 17 ตําบล 161 หมูบาน<br />

- อําเภอหลังสวน 13 ตําบล 143 หมูบาน<br />

- อําเภอสวี 11 ตําบล 101 หมูบาน<br />

13


4. เอกลักษณของจังหวัดชุมพร<br />

- อําเภอทาแซะ 10 ตําบล 98 หมูบาน<br />

- อําเภอปะทิว 3 ตําบล 66 หมูบาน<br />

- อําเภอทุงตะโก<br />

4 ตําบล 42 หมูบาน<br />

- อําเภอละแม 4 ตําบล 40 หมูบาน<br />

- อําเภอพะโตะ 4 ตําบล 32 หมูบาน<br />

4.1 ดวงตราประจําจังหวัดชุมพร<br />

ภาพที่<br />

3 ภาพดวงตราประจําจังหวัดชุมพร<br />

ที่มา:<br />

สํานักงานจังหวัดชุมพร (2546)<br />

ความหมายของภาพ คือ คนยืนหมายถึง เทวดาที่ประทานพรใหแกชาวเมืองชุมพร<br />

และกองทัพที่ยกออกไปทําศึก<br />

ตนไมทั้งสองขางหมายถึง<br />

ตนมะเดื่อ<br />

ซึ่งในพื้นที่ของจังหวัดชุมพร<br />

มีตนไมชนิดนี้อยูมาก<br />

และภาพคายและหอรบหมายถึง จังหวัดที่เคยเปนที่ชุมนุมบรรดานักรบ<br />

ซึ่ง<br />

นัดใหมาพรอมกัน ณ ที่แหงนี้<br />

กอนที่จะเดินทัพออกไปสูรบกับขาศึก<br />

ทั้งนี้ก็เพราะชุมพรเปนเมือง<br />

หนาดานมาตั้งแตโบราณ<br />

คําขวัญประจําจังหวัดชุมพร คือ “ประตูภาคใต ไหวเสด็จในกรมฯ ชมไรกาแฟ แล<br />

หาดทรายรี ดีกลวยเล็บมือ ขึ้นชื่อรังนก”<br />

14


4.2 ภาษาถิ่นชุมพร<br />

ภาษาถิ่นชุมพร<br />

เปนภูมิปญญาในดานการคิดคนภาษาพื่อการสื่อสาร<br />

ซึ่งใชมาตั้งแต<br />

โบราณกาล เปนภาษาที่สั้น<br />

กระชับ มีการตัดพยางค ทําใหคํานั้นสั้นลง<br />

และมีสําเนียงทองถิ่น<br />

เนื่องจากจังหวัดชุมพรมีอาณาเขตติดตอกับภาคกลาง<br />

ภาษาถิ่นของชุมพรจึงเปนภาษาที่<br />

มีการผสมกลมกลืนกันระหวางภาษาภาคกลางและภาษาภาคใต ทําใหภาษาชุมพรพูดงาย ฟงงาย<br />

และดวยเหตุที่จังหวัดชุมพรนั้นติดตอกับภาคกลางนั้นและสําเนียงผสมกับภาคกลาง<br />

ทําใหมีผูกลาว<br />

วา “คนชุมพรลิ้นออน”<br />

ซึ่งหมายถึง<br />

ความสามารถที่จะพูดสําเนียงของจังหวัดอื่นไดใกลเคียงกับ<br />

เจาของภาษามากจนไมสามารถแยกไดเลย<br />

ตารางที่<br />

1 ตัวอยางเปรียบเทียบภาษาภาคกลาง (ภาษากรุงเทพฯ) กับภาษาชุมพร<br />

่<br />

้<br />

ภาษาภาคกลาง ภาษาถิ่นชุมพร<br />

กลองขาว<br />

กุบขาว<br />

ที่ตักน้ํา<br />

กวักน้ํา<br />

ขนมใสไส ขนมซอนลูก<br />

ขนมตม<br />

หนมโค<br />

ฟกเขียว<br />

ขี้พรา<br />

ยุงขาว<br />

คุกขาว<br />

โรคน้ํากัดเทา<br />

เปนขนหนอน<br />

พระจันทร<br />

พระเข<br />

มันสําปะหลัง มันโหรง<br />

มันเทศ<br />

มันลา<br />

กระถิน<br />

สะตอเบา<br />

สะตอ<br />

สะตอหนัก<br />

วุนเสน<br />

เสนตั้งหุน<br />

แมงหวี<br />

แมงหมี<br />

ผีเสื้อ<br />

แมงพี<br />

15


4.3 วรรณกรรมพื้นบานชุมพร<br />

วรรณกรรมเปนสื่อที่มนุษยใหถายทอดอารมณ<br />

ความรูสึก<br />

และจินตนาการที่สรางสรรค<br />

เปนเรื่องราว<br />

โดยอาศัยการบอกเลาเปนวรรณกรรมแบบมุขปาฐะ หรือแบบบันทึกเปนลายลักษณ<br />

อักษร วรรณกรรมยังสะทอนใหเห็นถึงมุมมองและทัศนคติที่ผูแตงมีตอสังคมที่ตนอยูดวยเชนกัน<br />

โดยปรากฏเดนชัดในวรรณกรรมทองถิ่น<br />

ที่แสดงถึงภูมิปญญาในการใชภาษาใหเกิดความรู<br />

ความ<br />

เพลิดเพลินในทองถิ่นนั่นเอง<br />

เอกลักษณของวรรณกรรมทองถิ่น<br />

คือ การบอกเลาถึงเรื่องราวการดําเนินชีวิตของคน<br />

ในทองถิ่น<br />

ที่กลาวรวมถึงภาษา<br />

ศาสนา ความเชื่อ<br />

การทํามาหากิน รวมทั้งแนวคิดของคนในยุคสมัย<br />

นั้น<br />

ๆ เอาไว ซึ่งวรรณกรรมทองถิ่นถูกสรางขึ้นมาเพื่อรับใชคนในแตละยุคสมัยซึ่งคุณคาและ<br />

ความหมายยอมเปลี่ยนแปลงไปตามสังคมนั้น<br />

ๆ ดวย<br />

วรรณกรรมทองถิ่นมีภาษาถิ่นเปนองคประกอบสําคัญ<br />

เพื่อใหสมาชิกในสังคมสามารถ<br />

เขาใจตรงกัน ไมตองเสียเวลาตีความถอยคํา หรือสํานวนที่นํามาใชในวรรณกรรมนั้น<br />

ๆ ซึ่งจะนิยม<br />

ใชคําถิ่นกลาง<br />

ๆ เขาใจงาย มักแทรกคําคม สุภาษิต และอุทาหรณไวไดอยางกลมกลืน มีการ<br />

สอดแทรกบทตลกไว ความหมายมักเปนไปในทางสองแงสองงาม ปลอยใหผูฟง<br />

หรือผูอานตีความ<br />

เอาเอง จัดวาเปนกลวิธีที่ดึงดูดความสนใจอีกอยางหนึ่ง<br />

ชาวชุมพรนําภาษาและวรรณกรรมใชมาใหเกิดประโยชนในการสืบทอดวัฒนธรรม<br />

และในการอบรมสั่งสอน<br />

โดยสอดแทรกไวในสื่อประเภทตาง<br />

ๆ มากมาย โดยวรรณกรรมทองถิ่น<br />

ชุมพรสามารถแบงออกไดเปน 3 แบบ คือ<br />

4.3.1. วรรณกรรมมุขปาฐะ เปนวรรณกรรมที่สืบทอดโดยการเลาสืบตอกันมา<br />

ไมได<br />

มีการบันทึกเปนลายลักษณอักษร ไดแก<br />

ก. ปริศนาคําทาย เชน อะไรเอย “ถอดพลกแดงแจมองแลรูวง” คําตอบ<br />

“มะขาม” และ อะไรเอย “ขางใตรน ขางบนกด พอถึงกําหนดเอามือคลําแล” คําตอบ “คนสุม<br />

ปลา”เปนตน<br />

16


ข. ตํานานบานรับรอ อยูในอําเภอทาแซะ<br />

จังหวัดชุมพร มีเรื่องเลาวา<br />

ไดมี<br />

ทหารพมาเขามา เมื่อตอนเกิดศึกสงครามระหวางไทยกับพมา<br />

เพื่อตองการเขาในวัด<br />

ๆ หนึ่ง<br />

ชื่อวัด<br />

ถ้ําเทพเจริญ<br />

ถ้ํานี้อยูในเขตตําบลทาขามใกล<br />

ๆ กันกับตําบลรับรอ ภายในถ้ํานี้มีสิ่งสําคัญและสิ่ง<br />

มหัศจรรยคือ มีพระพุทธรูป เขาเรียกวา พระปูหลักเมือง<br />

พมาไดขุดหาทองใตฐานพระ บังเอิญ<br />

ดวยเหตุใด ไมทราบทหารพมาที่มากับกองทัพไดเจ็บไขไดปวยตายไปมาก<br />

ตอจากนั้นทหารพมาก็<br />

เดินทางมารอทัพที่เขาใกลบานรับรอและไดใชใบลังตังชางที่มีพิษทําใหคันมาปูนอน<br />

เมื่อคันทหาร<br />

พมาก็ใชน้ําลางทําใหคันมากยิ่งขึ้น<br />

จึงคิดวาคนไทยมีอะไรสักอยางที่ศักดิ์สิทธิ์ที่นากลัวมาก<br />

พมาที่<br />

เขามานี้<br />

มาทางปากน้ําชุมพรมารอทัพอยูที่หมูบานนี้<br />

จึงเรียกวา บานรอทัพ หรือทัพรอ ตอมาจึง<br />

เรียกเพี้ยนเปน<br />

“บานรับรอ” มาจนทุกวันนี้<br />

ค. นิทาน เรื่องเกลือจิ้มเกลือ<br />

ครั้งหนึ่งมีชายคนหนึ่งมีลูกสาวคนเดียวที่มี<br />

ความสวยงามมาก ทําใหหนุมทั้งใกลและไกลมากมายพามาสูขอ<br />

แตแกไมรูจะใหใครดี<br />

เพราะ<br />

ใหกับคนใดคนหนึ่งไปก็กลัวจะถูกหลายคนตอวา<br />

แกจึงคิดอุบายโดยบอกวา ถาใครลงไปนอนแช<br />

น้ําในแมน้ําไดตลอดทั้งคืน<br />

แกจะยกลูกสาวให มีชายหนุมคนหนึ่งอาสาลงไปนอน<br />

แตเขาบอกให<br />

กอไฟไวที่บนเขาที่หางออกไป<br />

ทั้งสองฝายก็ตกลงกันดวยดี<br />

ชายคนนั้นลงไปนอนแชน้ําในแมน้ํา<br />

ไดที่ตลอดทั้งคืน<br />

ฝายพอของหญิงสาวเห็นจะเสียทีตองยกลูกสาวใหกับชายหนุมแลวก็บอกวา<br />

ที่<br />

ชายหนุมลงไปนอนแชน้ํานั้นจะหนาวไดอยางไร<br />

ก็อาศัยแสงไฟที่เห็นบนภูเขาโนนที่ทําใหไม<br />

หนาว ที่แกพูดนั้นพูดไปโดยไมรูวาลูกสาวรักใครอยูกับหนุมคนนั้นแลว<br />

พอถึงเวลากินขาว ลูก<br />

สาวก็เอเกลือแกงกองไวขางลางแลววางถวยแกงทับไวขางบน แตในถวยแกงไมใสเกลือเลย พอพอ<br />

กินแกงเห็นวาจืดก็ถามลูกสาววา ทําไมลูกไมใสเกลือในแกง ลูกสาวก็บอกใหพอยกถวยแกงดู จะ<br />

เห็นเกลืออยูขางใต<br />

พอดาวาแกงประสาอะไรเอาเกลือไวใตถวยมันจะเค็มไดอยางไร ลูกสาวดทีก็<br />

ตอบวา แลวไฟที่อยูบนเขาพอวาอุนถึงคนที่อยูในน้ําได<br />

แลวทําไมเกลือที่อยูใตถวยแกงจะทําให<br />

เค็มถึงกันไมได พอก็รูวาลูกสาวกับชายคนนั้นรักกัน<br />

ก็เลยยอมยกลูกสาวใหแตงงานกัน<br />

4.3.2. วรรณกรรมลายลักษณอักษร มี 2 ลักษณะ ไดแก<br />

ก. ลักษณะลายลักษณอักษรที่มีจารึกลงในแผนศิลา<br />

เชน จารึกที่ถ้ําเขาเงิน<br />

เปนอักษร จปร. ไขวกับศักราชที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวฯ<br />

ประพาสทางชลมารค<br />

ถึงถ้ําเขาเงิน<br />

ตําบลทามะพลา อําเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร<br />

17


ข. ตํารา คือ การบันทึกเรื่องราวลงในสมุดไทย<br />

หรือที่เรียกเปนภาษาถิ่นวา<br />

“สมุด”หรือ “บุด” ที่พบในจังหวัดชุมพร<br />

มีทั้ง<br />

“บุดดํา และ บุดขาว” แตที่พบมากที่สุด<br />

คือ บุดขาว<br />

ชาวชุมพรดั้งเดิมมีความเชื่อวาหนังสือ<br />

หรือ บุด เปนของสูง และมีคา จึงจัดเก็บไวบนหิ้งบูชา<br />

หาม<br />

เปดอานเลน จะเปดอานไดก็เฉพาะผูมีวิชาความรูเทานั้น<br />

รูปแบบของการแตงตํารา นิยมแตงดวย<br />

รอยกรอง แตก็มีบางสวนที่เปนรอยแกว<br />

เชน ตํารายา และตําราตาง ๆ มีเนื้อหา<br />

ดังนี้<br />

- ตํารายา พบมากที่สุด<br />

มีทั้งยาเด็ก<br />

ยาผูใหญ<br />

ยาตอกระดูก หมองู ฯลฯ<br />

- ตําราสิทธิโชค ฤกษยาม หาของหาย ฯลฯ<br />

- กฎหมายตาง ๆ<br />

- พิธีกรรมตาง ๆ เชน วิธีปลูกเรือน ไหวพระภูมิ ฯลฯ<br />

- คําสอนตาง ๆ<br />

- ตําราจับชาง และรักษาชาง ไหวคอก ฯลฯ<br />

ภาพที่<br />

4 หนังสือบุดขาว<br />

ที่มา:<br />

สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต เลมที่<br />

17 (2542: 8333)<br />

18


ภาพที่<br />

5 หนังสือบุดดํา<br />

ที่มา:<br />

สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต เลมที่<br />

17 (2542: 8334)<br />

ภาพที่<br />

6 หนังสือบุดขาวตําราดูลักษณะและอาการของโรค<br />

ที่มา:<br />

สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต เลมที่<br />

17 (2542: 8336)<br />

4.4.3 วรรณกรรมอื่น<br />

ๆ วรรณกรรมลายลักษณของจังหวัดชุมพรที่เปนนิทาน<br />

นิยาย ซึ่งเทาที่พบในปจจุบัน<br />

ไดแกเรื่อง<br />

ไชยเชษฐ นับเปนมรดกทางวัฒนธรรมที่มีคาอีกชิ้นหนึ่ง<br />

ทั้งนี้เพราะทําใหทราบเรื่องราววิถีชีวิต<br />

คานิยม คุณธรรม จริยธรรม สํานวนภาษา รูปแบบคํา<br />

ประพันธ และความไพเราะของบทรอยกรอง และในเรื่องไชยเชษฐ<br />

มีขอความตอนหนึ่งกลาวถึงใน<br />

เรื่อง<br />

เครื่องดนตรี<br />

และการละเลนสมัยโบราณของจังหวัดชุมพร ตัวอยางเชน<br />

19


ใหประโคมเครงครื้นฉาฉาน<br />

ดนตรีมะมี่ไพรสน<br />

แตรสังขกังวาน<br />

เปาปตีฆองอลวน<br />

มหรสพครื้นเครง<br />

อื้อในไพรสน<br />

โขนระบําเปนเพลง<br />

โมงครุมก็ทุมกลองชัย<br />

โตเตนเลนเยง<br />

5. ขนบธรรมเนียมของชาวชุมพร<br />

ประเพณีทองถิ่นของจังหวัดชุมพร<br />

เปนสิ่งที่นาสนใจและนาศึกษา<br />

เพราะมีลักษณะเดนเปน<br />

ของตนเอง และปฏิบัติกันมานานจนกลายเปนแบบอยางความคิด หรือการกระทําที่ไดยึดถือสืบตอ<br />

กันมา และยังคงมีอิทธิพลอยูในสังคมปจจุบัน<br />

โดยเฉพาะขนบธรรมเนียมประเพณีที่เปนสวนหนึ่ง<br />

ของวิถีการดําเนินชีวิตของคนในทองถิ่น<br />

เชน การแตงกาย การกินอยู<br />

กิริยา มารยาท ซึ่งสิ่งเหลานี<br />

้<br />

แสดงถึงวิถีชีวิต ความเปนอยูของคนชุมพรในอดีตไดอยางชัดเจน<br />

ซึ่งในปจจุบันก็ไดมีการ<br />

เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา<br />

ตามสภาพเศรษฐกิจนั้นดวย<br />

5.1. การแตงกาย เมื่อประมาณ<br />

ปพ.ศ. 2475 ชาวชุมพรแตงกายตามแบบโบราณที่ยึดถือกัน<br />

มาทั้งหญิงและชาย<br />

กลาวคือ<br />

ผูหญิง<br />

จะนุงโจงกระเบน<br />

ผาดอก หมสไบเฉียง ผูสูงอายุนิยมสวมเสื้อคอกระเชา<br />

เสื้อกั๊ก<br />

บาเล็ก ๆ ถาไปงานพิธีหรือไปวัดจะสวมเสื้อมีแขน<br />

ผาพาดบา ไวผมยาวเกลาผมมวย สับหวีโคง หิ้ว<br />

กระเชาหมาก ตอมาในสมัย จอมพลแปลก พิบูลสงคราม ไดประกาศเปนรัฐนิยม กําหนดใหผูหญิง<br />

นุงผาถุงแทนโจงกระเบน<br />

แตในปจจุบันนิยมนุงกางเกงและกระโปรงแบบสากลมากขึ้น<br />

ผูชาย<br />

ถาเปนเจาขุนมูลนาย จะนุงผาโจงกระเบน<br />

สวนมากนิยมผามวง สวมเสื้อ<br />

ราชปะแตน สวมถุงนองรองเทา สวนคนที่อาศัยตามบานชนบท<br />

และมีฐานะ เวลาออกงานจะนุงผา<br />

โจงกระเบนก็มี สวนมากนิยมผาทอดวยมือ สวมเสื้อคอกลม<br />

เสื้อกุยเฮง<br />

(ลักษณะเสื้อคอกลม<br />

แขน<br />

สั้น<br />

ติดกระดุมหนา และมีกระเปาดานลาง 2 ขาง) ผาขาวมาคาดเอว ชาวบานทั่วไป<br />

จะนุงกางเกงขา<br />

สั้น<br />

กางเกงขากวย หรือกางเกงแพรแบบคนจีน รัดเข็มขัด โดยเข็มขัดก็แบงตามฐานะ คือ ถาฐานะดี<br />

20


มาก ก็เข็มขัดทองคํา รองลงมาคือ เข็มขัดนาก และเงินตามลําดับ หรือใชเกร็ดกระดองเตากระนํามา<br />

ประกอบทองคํา นาก หรือเงินมาทําเข็มขัดเปนตน<br />

สวนทรงผมนั้น<br />

นิยมไวทรงดอกกระทุมหรือตัดใหขาง<br />

ๆ ศีรษะสั้นเกรียนแตดานบน<br />

ยาว หวีแสกกลาง แตในปจจุบันก็นิยมแตงกายและไวทรงผมตามแบบสากลนิยมทั่วไป<br />

5.2 การกินอยู<br />

การจัดอาหารการกินนิยมจัดเปนสํารับใสถาดหรือใสกระเทาะ (คลายถาด<br />

ทําดวยไม) นิยมนั่งรับประทานบนพื้น<br />

ลอมเปนวงรอบสํารับ ผูชายจะนั่งขัดสมาธิ<br />

ผูหญิงและเด็ก<br />

จะนั่งพับเพียบ<br />

ผูสูงอายะมักนั่งชันเขาขางหนึ่ง<br />

อาหารโดยทั่วไปมักตักใสถวยรวมอยูในถาด<br />

หรือกระเทาะ สวนขาวใสจานหรือโคม<br />

(ถวย) หยิบจับอาหารและขาวดวยมือ แตในปจจุบัน ทุกบานสวนใหญจะจัดอาหารตั้งบนโตะ<br />

นั่ง<br />

ทานบนเกาอี้<br />

และใชชอนสอมตักอาหารแทนมือ แตสวนที่กับพื้นและลอมวงกินอาหารรอบสํารับ<br />

นั้น<br />

ยังสามารถพบเห็นไดตามชนบท หรือบางบานในเมืองเทานั้น<br />

อาหารคาวหวานที่นาสนใจในจังหวัดชุมพร<br />

ไดแก น้ําพริกระกํา<br />

ขนมจาก ผักเหลียง<br />

กลวยเล็บมือนาง และสับปะรดสวี สิ่งเหลานี้เปนผลิตผลที่มีมากในจังหวัดชุมพรนั่นเอง<br />

5.3 กิริยามารยาท โดยทั่วไปลักษณะของคนชุมพร<br />

เปนคนสุภาพออนนอม กิริยามารยาท<br />

เรียบรอย ผูนอยใหเกียรติผูใหญ<br />

เคารพนบนอบ ตามแบบฉบับของคนไทยทั่วไป<br />

ลักษณะเดนประการหนึ่ง<br />

คือประเพณีการแนะนําตัวของชาวชุมพรคือ เมื่อจะแนะนํา<br />

ใคร ตองบอกถึงปู<br />

ยา ตา ยาย ดวย เปนการลําดับความเปนมาในครอบครัวอยางชัดเจน<br />

ลักษณะนิสัยโดยทั่วไปของคนชุมพร<br />

ชาวชุมพรยึดมั่นในศีลธรรมอันดีสืบทอดมาจาก<br />

บรรพบุรุษ ความสัมพันธระหวางกลุมชนเปนลักษณะสังคมชนบท<br />

กลาวคือ มีการคบหาสมาคมกัน<br />

อยางใกลชิดในหมูญาติมิตร<br />

21


6. ประเพณีพื้นบานชุมพร<br />

ประเพณีสําคัญของชาวชุมพร หากจัดเปนกลุม<br />

ถือตามวิถีชีวิตในแตละรอบป นับตั้งแตการ<br />

ทํานาซึ่งถือเปนเรื่องของการทํามาหากิน<br />

การระลึกถึงบรรพชน และการรื่นเริงหลังเสร็จสิ้นฤดูเก็บ<br />

เกี่ยว<br />

และการทํานุบํารุงสืบทอดศาสนาเปนตน โดยแบงเปนแตละลักษณะประเพณีดังนี้<br />

6.1 ประเพณีเกี่ยวกับชีวิต<br />

มีดังนี้<br />

คือ<br />

6.1.1 ประเพณีการทํานา ซึ่งประกอบดวย<br />

พิธีไหวผีคอก หรือเรียกอีกอยางวา ทําขวัญ<br />

คอก พิธีปกยันตขาว พิธีรวบขาว พิธีทําขวัญขาวหรือเชิญขวัญขาว และพิธีตักขาว<br />

พิธีตาง ๆ เหลานี้แสดงถึงขั้นตอนและเทคนิคในการทํานาหาเลี้ยงชีพ<br />

มี<br />

กฏเกณฑที่แนนอน<br />

ไดปฏิบัติเพื่อเปนสิริมงคล<br />

ไดผลผลิตมากขึ้นเพียงพอแกการยังชีพ<br />

และถือเปน<br />

ประเพณีโบราณที่เครงครัดมาก<br />

ปจจุบันยังมีผูนิยมบางแตไมเครงครัด<br />

บางแหงถือเฉพาะบางอยาง<br />

บางแหงก็ไมถือเลย แตในบางทองที่เชนที่<br />

อําเภอทาแซะยังมีผูนิยมถือประเพณีนี้กันมาก<br />

6.1.2 ประเพณีวันตรุษสงกรานต ซึ่งจัดขึ้นในเดือนหาตรงกับเดือนเมษายน<br />

ถือเปน<br />

วันขึ้นปใหมเดิมของทย<br />

มีประเพณีและการละเลนตง ๆ ในวันตรุษสงกรานตเพื่อสรางความ<br />

สนุกสนานรื่นเริง<br />

ในชวงวันตรุษสงกรานตของชาวจังหวัดชุมพร จะมีการมัดครก มัดสาก และ<br />

เครื่องเครื่องใชอื่น<br />

ๆ เชน มีด จอบ เขาดวยกัน เพราะมีความเชื่อวาเครื่องมือเหลานี้เปนสิ่งสําคัญ<br />

ในการดํารงชีวิต จึงไดผูกรวมกันไวในครกแลวนําไปผูกติดกับเสาบาน เพื่อมิใหกระจัดกระจาย<br />

อีกทั้งนําขาวปลาอาหาร<br />

เครื่องดื่มและขนมตาง<br />

ๆ ใสไวในครกดวย วางทิ้งไวอยางนั้นเปนเวลา<br />

3<br />

วัน หามหยิบออกเด็ดขาด ถาไมเชื่อและทําตาม<br />

นําเครื่องมือตาง<br />

ๆ ไปใชในชวงวันตรุษสงกรานตนี้<br />

ปู<br />

ยา ตา ยาย จะสาผแชง เครื่องมือตาง<br />

ๆ อาจพลั้งถูกมือและเทาไดรับบาดเจ็บไดนั่นเอง<br />

6.2 ประเพณีทางพุทธศาสนา ประเพณีสําคัญในจังหวัดชุมพร ไดแก ประเพณีการบวช<br />

การแหเทียนพรรษา การทําสลากภัต การตักบาตรเทโว ประเพณีทําพุมหรือผาปา<br />

ประเพณีการชัก<br />

พระ และประเพณีการทําขาวเวียน<br />

6.3 งานพิธีหรืองานเทศกาลประจําทองถิ่น<br />

นอกพิธีตาง ๆ ที่ชาวชุมพรจัดขึ้นจนเปน<br />

22


ประเพณีแลว ปจจุบันยังไดมีการจัดพิธีการของจังหวัดและจัดเปนประจําทุกป จนเปนงานประเพณี<br />

ของจังหวัด คือ<br />

6.3.1 พิธีวางพวงมาลาอนุสาวรียยุวชนทหาร จัดขึ้นที่อนุสาวรียยุวชนทหารที่สะพาน<br />

ทานางสังข ตําบลทายาง อําเภอเมือง จังหวัดชุมพร ซึ่งเปนอนุสาวรียแหงวีรกรรมของมหาร<br />

ตํารวจและยุวชนทหาร เมื่อวันที่<br />

8 ธันวาคม พ.ศ.2484 ในชวงสงครามโลกครั้งที่<br />

2 ทางจังหวัดได<br />

ประกอบพิธีวางพวงมาลาเพื่อระลึกถึงวีรกรรมของผูกลาหาญและเสียสละเปนประจําทุกป<br />

6.3.2 พิธีวางพวงมาลา พระรูปพลเรือเอก พระเจาบรมวงศเธอ กรมหลวงชุมพร<br />

เขตอุดมศักดิ์<br />

จัดขึ้นเพื่อนอมรําลึกถึงพระองคทานเปนประจําทุกป<br />

ในวันที่<br />

19 พฤษภาคม ซึ่งตรง<br />

กับวันคลายวันสิ้นพระชนมของพระองค<br />

ณ พระตําหนัก บริเวณหาดทรายรี ตําบลหาดทรายรี อํา<br />

เมือง จังหวัดชุมพร<br />

6.3.3 งานเทิดพระเกียรติพลเรือเอก พระเจาบรมวงศเธอ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดม<br />

ศักดิ์<br />

จัดขึ้นเปนงานประจําปของจังหวัดชุมพร<br />

ระหวางวันที่<br />

19 – 27 ธันวาคมของทุกป เพื่อเทริด<br />

พระเกียรติพลเรือเอก พระเจาบรมวงศเธอ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์<br />

และจัดเปนงานกาชาด<br />

ประจําปดวย ในงานดังกลาวมีพิธีบวงสรวงวิญญาณของเสด็จในกรมฯ เนื่องในวันคลายวันประสูติ<br />

ของพระองค ในวันที่<br />

19 ธันวาคม จัดใหมีนิทรรศการ และการออกรานของทั้งภาครัฐและเอกชน<br />

อีกดวย<br />

6.3.4 งานวันผลไมหลังสวน จัดขึ้นเปนประจําทุกป<br />

ระหวางวันที่<br />

12 – 18 สิงหาคม<br />

ซึ่งเปนชวงฤดูกาลที่มีผลไมมาก<br />

อันไดแก เงาะ ทุเรียน มังคุด และอื่น<br />

ๆ ที่ปลูกในจังหวัดชุมพร<br />

23


เอกสารเกี่ยวกับโรงเรียนศรียาภัย<br />

และศูนยการเรียนรูภูมิปญญาทองถิ่น<br />

จังหวัดชุมพร<br />

ประวัติโรงเรียนศรียาภัย จังหวัดชุมพร<br />

เมื่อ<br />

พ.ศ. 2440 พระครูจุฬามณี (ฤกษ) วัดสุบรรณนิมิต เปนเจาคณะชุมพรทานพิจารณาเห็น<br />

วา ศิษยวัดซึ่งมีจํานวนมากไมมีที่เรียนหนังสือ<br />

ตองนั่งเรียนตามโคนตนจันทรบาง<br />

ในโรงทิม (ที่ตั้ง<br />

ศพ พระเพชร กําแหงสงคราม(ยัง) บาง จึงไดสรางโรงเรียนขึ้นหลังหนึ่งเรียกวา<br />

โรงเรียน วัด<br />

สุบรรณนิมิต สอนระดับ ประถมศึกษา ประมาณ พ.ศ. 2456 จัดสอนระดับมัธยมศึกษาปที่<br />

1 – 3 เปน<br />

โรงเรียน ประจํา จังหวัดชุมพร และใหโรงเรียนวัดทาตะเภาเหนือจัดสอนชั้นเตรียมประถม<br />

และ<br />

ประถมปที่<br />

1 นักเรียนที่จบชั้นประถมปที่<br />

1 ที่วัดทาตะเภาเหนือแลว<br />

มาเรียนตอชั้นประถมปที่<br />

2 – 3<br />

และมัธยมศึกษาปที่<br />

1–3 ที่<br />

โรงเรียนวัดสุบรรณนิมิต ป พ. ศ. 2460 คุณชื่น<br />

ศรียาภัย คหปตานี ชาวไช<br />

ยา ไดบริจาคเงิน สราง อาคารเรียนขึ้นหลังหนึ่ง<br />

ที่วัด<br />

ทาตะเภา เหนือ กระทรวงศึกษาธิการใหชื่อวา<br />

โรงเรียนศรียาภัย ยายนักเรียน จากโรงเรียนวัดสุบรรณนิมิต ไปเรียนที่โรงเรียนศรียาภัย<br />

เมื่อวันที่<br />

4<br />

ตุลาคม 2461 มีฐานะเปนโรงเรียน ประจําจังหวัด สอนระดับ มัธยมศึกษาเพียงอยางเดียว ชั้น<br />

มัธยมศึกษาในครั้งนั้น<br />

แบงออกเปน 2 ตอน คือ ม. 1–4 เปนมัธยมตอนตน ม. 5–6 เปนมัธยม<br />

ตอนกลาง และ ม. 7–8 เปนมัธยมตอนปลาย<br />

ในป พ.ศ. 2465 มณฑลสุราษฎรธานี มีตราสั่งมาใหโรงเรียนประจําจังหวัดชุมพรศรียาภัย<br />

เปด<br />

สอนถึง ชั้นมัธยมศึกษาปที่<br />

5 และ 6 เนื่องจากจํานวนนักเรียนเพิ่ม<br />

มากขึ้นทุกป<br />

โรงเรียนศรียาภัยมี<br />

หองเรียนไมพอ ป พ.ศ. 2479 กระทรวงศึกษาธิการ อนุมัติเงินใหจัดสรางโรงเรียนประจําจังหวัด<br />

ชุมพร ในบริเวณที่อยูปจจุบัน<br />

สรางแลวเสร็จและยายนักเรียนชั้นม.<br />

1–3 มาเรียนที่อาคารใหม<br />

ใชชื่อ<br />

โรงเรียนศรียาภัย ตามเดิม เมื่อวันที่<br />

17 พฤษภาคม 2480 สวนนักเรียนชั้นม.<br />

4–6 ใหเรียนที่ศรียาภัย<br />

หลังเดิม ที่วัดทาตะเภาเหนือ<br />

ตอมากระทรวงศึกษาธิการจัดสรรเงินมาตอเติมอาคารครบเต็มรูป และ<br />

ยายนักเรียน ชั้น<br />

ม. 4–6 มาเรียนรวมกับ ม. 1– 3 เมื่อวันที่<br />

1 มกราคม 2484และไดกอสรางตอเติมอีก<br />

ใหเพียงพอ กับนักเรียน ที่เพิ่มมากขึ้นทุกป<br />

โรงเรียนใหมนี้ใชชื่อวา<br />

โรงเรียนประจําจังหวัดชุมพร<br />

ศรียาภัย บาง โรงเรียนชุมพร ศรียาภัย บาง ครั้งหลังสุดใชชื่อวา<br />

โรงเรียนศรียาภัย สวนอาคารเรียน<br />

เดิม ที่วัดทาตะเภาเหนือ<br />

นั้นทางวัด<br />

ใชเปนโรงเรียนราษฎรอยูพักหนึ่ง<br />

แลวรื้อถอนไปเพราะเกาและ<br />

ชํารุดมาก<br />

24


ป พ.ศ. 2518 กรมสามัญศึกษาจัดโรงเรียนนี้เขาอยูในโครงการปรับปรุงโรงเรียนมัธยมศึกษา<br />

สวนภูมิภาค (คมภ. 1 รุน<br />

2 ) ไดรับเงินคาสิ่งกอสราง<br />

14 ลานบาทเศษ ไดสรางตึกเรียน โรงฝกงาน<br />

และไดรับ อุปกรณ การสอนวิชาอาชีพ ตามแบบของโรงเรียนมัธยมแบบประสมในตางประเทศ<br />

สรางเสร็จเต็มรูปเมื่อพ.ศ.<br />

2520 อาคารไมซึ่งกอสรางมาตั้งแต<br />

พ.ศ. 2479 ไดรื้อถอนไปเมื่อ<br />

พ.ศ.<br />

2519 จากนั้นในป<br />

พ.ศ. 2526 ไดรับงบประมาณใหสรางหอประชุม 1 หลัง เปนเงิน 2 ลานบาท<br />

พ.ศ. 2530 ไดรับงบประมาณสรางอาคารเรียน 4 ชั้น<br />

1 หลัง พ.ศ. 2533 ไดรับงบประมาณใหสราง<br />

หอประชุม 2 ชั้น<br />

อีก 1 หลัง เปนเงิน 5.7 ลานบาท และในปพ.ศ. 2536 ไดรับงบประมาณใหสราง<br />

อาคารเรียนแบบพิเศษ 4 ชั้น<br />

1 หลัง เปนเงิน 12.5 ลานบาท<br />

ปจจุบันโรงเรียนศรียาภัย เปดทําการสอนในระดับมัธยมศึกษาตอนตน และมัธยมศึกษาตอน<br />

ปลาย ในปการศึกษา 2548 มีนักเรียนทั้งหมด<br />

2,914 คน ครูอาจารย 144 คน นักการภารโรง 8 คน<br />

ดานอาคารสถานที่<br />

มีอาคารเรียนถาวร 5 หลัง หอประชุม 2 หลัง โรงฝกงาน 3 หลัง และอาคาร<br />

ชั่วคราว<br />

1 หลัง นับตั้งแตเริ่มเปนโรงเรียนวัดสุบรรณนิมิต<br />

เมื่อ<br />

พ.ศ. 2440 มาจนถึงปจจุบัน โรงเรียน<br />

ศรียาภัย มีอายุถึง 108 ป<br />

โรงเรียนศรียาภัย จังหวัดชุมพร มีปรัชญาประจําโรงเรียน คือ “ วิชาเดน เนนคุณธรรม<br />

กิจกรรมเลิศ เชิดชูสถาบัน” คติพจนประจําโรงเรียน คือ “นสิยา โลกวฑฒฺโน อยาพึงเปนคนรก<br />

โลก” และสีประจําโรงเรียน คือ สีเหลือง และสีแดง<br />

ภาพที่<br />

7 โรงเรียนศรียาภัย จังหวัดชุมพร<br />

25


ภาพที่<br />

8 ภายในโรงเรียนศรียาภัย จังหวัดชุมพร<br />

ศูนยการเรียนรูภูมิปญญาทองถิ่น<br />

จังหวัดชุมพร<br />

ภาพที่<br />

9 อาคารศูนยการเรียนรูภูมิปญญาทองถิ่น<br />

จังหวัดชุมพร<br />

เอกสารเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีที่ใชในการศึกษา<br />

1. แนวคิดและทฤษฎีการศึกษาทางมานุษยดุริยางควิทยา (Ethnomusicology)<br />

ปญญา (2546) ไดอธิบายความหมายของมานุษยดุริยางควิทยา(Ethnomusicology) วา<br />

Ethnomusicology ประกอบดวยคําสองคําคือ ethno กับคําวา musicology (music+logos)<br />

ความรูเรื่องดนตรี<br />

หมายถึง การศึกษาดนตรีของผูคน<br />

ซึ่งจะเปนดนตรีของใครก็ได<br />

ที่ไหนก็<br />

ได แตตองไมใชดนตรีของชาวตะวันตกและไมใชดนตรีแบบฉบับของตะวันตก เปนศัพทที่<br />

26


บัญญัติขึ้นโดย<br />

แจป คุนสท (Kunst,Jaap) นักกฎหมายและนักไวโอลินชาวเนเธอรแลนด<br />

สวนคําวา “มานุษยดุริยางควิทยา” เปนคําสมาสและสนธิประสมกัน เกิดจากคําในภาษา<br />

สันสกฤต 4 คํา คือ มานุษย + ดุริยะ + องคะ + วิทยา คําวา “มานุษย” หมายถึง การ<br />

เกี่ยวของกับมนุษย<br />

ตรงกับภาษาบาลีวา มานุส คําวา “ดุริยะ” ตรงกับภาษาบาลีวา ตันตริ<br />

หรือดนตรี นําไปสนธิกับคําวา “องคะ” หรือ “องค” ที่แปลวาสวนหรือตอน<br />

สระอะเมื่อ<br />

สนธิกับสระอะดวยกัน ตามหลักใหยืดเสียงออกไปเปนอา จึงไดคําวาดุริยางค นําไปสมาส<br />

กับคําวา “วิทยา” รวมเปน “มานุษยดุริยางควิทยา” แปลรวมความหมายวา “ความรูที่<br />

เกี่ยวของกับดนตรีของมนุษย”<br />

การศึกษาในแนวทางมานุษยดุริยางควิทยาจึงหมายถึง ความรู วิชาการ หรือการศึกษา<br />

หาความรูดานดนตรีในแงวัฒนธรรมของมนุษย<br />

คือ ศึกษาตัวดนตรีในแงของดุริยางควิทยา<br />

(Musicology) และศึกษาบทบาทหนาที่ของดนตรีในสังคม<br />

เชน เหตุผลในการที่มนุษย<br />

ประดิษฐคิดคนสรางดนตรีของตน คุณลักษณะเฉพาะของดนตรี การใชดนตรีในสังคม<br />

ความหมายของดนตรีที่มีตอผูคนในสังคมนั้น<br />

ๆ ความดํารงอยู<br />

ความเปลี่ยนแปลง<br />

และ<br />

ความเสื่อมสลายของดนตรีในสังคม<br />

วิชามานุษยดุริยางควิทยามีแนวทางและระเบียบวิธีการศึกษาที่เปนเอกลักษณ<br />

ซึ่งเปน<br />

ระเบียบวิธีที่เกิดจากการประสมประสานสาขาวิชาตาง<br />

ๆ เขาดวยกัน ดังที่<br />

ปญญา (2546: 13) ได<br />

อธิบายเกี่ยวกับดนตรีชาติพันธุวิทยาหรือมานุษยดุริยางควิทยาไววา<br />

ดนตรีชาติพันธุวิทยา<br />

เปนการศึกษาแบบสหวิทยาการ โดยการนําสวนที่สําคัญของ<br />

ศาสตรตาง ๆ มาประยุกตใช ดังนี้<br />

1. ดุริยางควิทยา ความรูเรื่องดนตรีอันเปนสากล<br />

ดนตรีในสวนที่เปนเอกลักษณ<br />

ของตนเอง ทั้งทฤษฎีและปฏิบัติ<br />

2. ดนตรีของโลก ความรูเรื่องดนตรีในสวนตาง<br />

ๆ ของโลก ทั้งตัวดนตรีและใน<br />

สวนที่เกี่ยวของกับศิลปวัฒนธรรมทองถิ่น<br />

27


3. ปรัชญา ความจริง ความเชื่อ<br />

แนวคิดและพฤติกรรมของมนุษยในการ<br />

สรางสรรค การใชงานและการเปลี่ยนแปลงของดนตรีในสังคม<br />

4. มานุษยวิทยา ทฤษฎีและหลักวิชาการทางมานุษยวิทยา ชาติพันธุและ<br />

วัฒนธรรมของมนุษย ฯลฯ<br />

5. สังคมวิทยา หลักวิชาวิทยาศาสตรสังคม ครอบครัว ชนชั้น<br />

ระบบสังคมและ<br />

การเปลี่ยนแปลงทางสังคม<br />

ฯลฯ<br />

6. การวิจัย หลักและวิธีการวิจัย การวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ<br />

7. เทคโนโลยี การใชเครื่องมือเพื่อการบันทึกภาพ<br />

บันทึกเสียง คอมพิวเตอรและ<br />

การตัดตอภาพและเสียง ฯลฯ<br />

8. สื่อสารมวลชน<br />

การนําเสนอผลงานผานสื่อโทรทัศน<br />

วิทยุ และสิ่งตีพิมพ<br />

หลักการเขียนบทความ บทวิทยุ บทโทรทัศน การทําสารคดี ฯลฯ<br />

9. วิชาวาทการ หลักการและเทคนิคการพูดแบบตาง ๆ การจัดสัมมนา ฯลฯ<br />

อาจกลาวโดยสรุปไดวา มานุษยดุริยางควิทยา (Ethnomusicology) หมายถึง การศึกษา<br />

ดนตรีและวัฒนธรรมของมนุษย โดยศึกษาตัวดนตรีในเชิงดนตรีวิทยา (Musicology) และศึกษา<br />

บทบาทหนาที่ของดนตรีในสังคม<br />

ในเชิงมานุษยวิทยาและสังคมวิทยา นั่นก็คือ<br />

การศึกษา<br />

วิเคราะหดนตรีอันเปนผลิตผลทางวัฒนธรรมของมนุษย การรวบรวมขอมูลทางดนตรีที่มี<br />

ความสัมพันธกับพฤติกรรมของมนุษย วิธีการที่มนุษยดํารงชีวิตรวมกันในสังคม<br />

รวมถึงกิจกรรม<br />

และการสรางสรรครวมกัน ตลอดจนความสัมพันธทางดนตรีกับวัฒนธรรมอื่น<br />

ๆ วิธีการศึกษาดาน<br />

มานุษยดุริยางควิทยาเนนการศึกษาภาคสนามเปนสําคัญ โดยเปนการศึกษาที่ไมตายตัวและไมมีวัน<br />

จบสิ้น<br />

เนื่องจากดนตรีมีการเปลี่ยนแปลงตามสภาพสังคมและวัฒนธรรมอยูเสมอ<br />

การศึกษาภาคสนามถือเปนหัวใจหลักของการศึกษาทางมานุษยดุริยางควิทยา มีลักษณะ<br />

เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ เปนการแสวงหาความรูจากการศึกษาพฤติกรรมและผลิตกรรมของมนุษย<br />

28


การพิจารณาปรากฏการณสังคมจากสภาพแวดลอมตามความเปนจริง ใชวิธีการทางวิทยาศาสตร มี<br />

การทํางานเปนระบบ ในการศึกษาภาคสนามนั้นจะตองมีการวางแผนที่ดี<br />

ตองสอดคลองในดาน<br />

ขอบเขตการศึกษา ระยะเวลาและปจจัยตาง ๆ โดยสิ่งที่จําเปนในการศึกษาภาคสนามนั้นจะตอง<br />

เรียนรูเทคนิควิธีการเก็บขอมูล<br />

เทคนิคในการใชเครื่องมือ<br />

จะตองฝกฝนใหเกิดความชํานาญ<br />

คลองแคลว เตรียมพรอมและหาวิธีจัดการกับปญหาตาง ๆ ที่อาจเกิดขึ้น<br />

เมื่อปฏิบัติการภาคสนามเสร็จสิ้น<br />

ขั้นตอไป<br />

คือ การนําขอมูลที่ไดจากการปฏิบัติงาน<br />

ภาคสนามมาจําแนก แยกแยะ จัดระบบ จัดประเภทของขอมูลตามลําดับกอนหลัง มีการวิเคราะห<br />

ขอมูลอยางละเอียดรอบคอบวาครอบคลุมเนื้อหาและวัตถุประสงคมากนอยเพียงใด<br />

สิ่งสําคัญใน<br />

การศึกษาทางดานมานุษยดุริยางควิทยาอีกอยางหนึ่งก็คือการถอดโนตเพลง<br />

(Transcription) และ<br />

ขั้นตอนสุดทาย<br />

คือ การนําเสนอผลงานวิจัยเพื่อประโยชนทางการศึกษาหรือเพื่อการนําไปใช<br />

ตอไป<br />

2. ทฤษฎีเกี่ยวกับการวิเคราะหดนตรี<br />

การวิเคราะหดนตรีมีแนวทางการวิเคราะหหบายแบบไดแก วิเคราะหเพื่ออธิบายใหผูฟง<br />

หรือผูอานดนตรีเขาใจลักษณะของดนตรี<br />

วิเคราะหความหมายของดนตรี และวิเคราะหวิเคราะห<br />

ในเชิงดุริยางควิทยา<br />

สําหรับการวิเคราะหเชิงดุริยางควิทยา (Musicology) ปญญา (2546) ไดกลาวถึง การศึกษา<br />

ตามแนวทางการศึกษาดนตรีอยางเปนระบบ (Systematic Guidelines for Study of Music) โดย<br />

ระบุถึงสิ่งที่จําเปนตองวิเคราะหไวดังนี้<br />

2.1 การศึกษาสื่อสรางเสียง<br />

(Medium) คือ การศึกษาแหลงหรือตนกําเนิดของเสียงนั้น<br />

ๆ<br />

โดยศึกษาประเภทของเสียง โดยศึกษาจากเสียงรอง (Voice) ศึกษาเครื่องดนตรี<br />

(Instruments) และ<br />

ศึกษาเสียงรองและเสียงเครื่องดนตรีประกอบกัน<br />

จากนั้นจึงชนิดของเสียง<br />

และปริมาณของเสียง<br />

นั้น<br />

ๆ ตามลําดับ<br />

2.2 การศึกษาทวงทํานอง (Melody) คือ การจัดลําดับของเสียงสูงต่ํา<br />

ประกอบดวย<br />

การศึกษาเรื่องตาง<br />

ๆ ดังตอไปนี้<br />

29


ทบ octave<br />

2.2.1 ระบบเสียง (Tuning sestem) คือ การจัดระบบ ระยะขั้นคูเสียง<br />

ในหนึ่งชวง<br />

2.2.2 มาตราเสียงหรือ บันไดเสียง (Scales) คือการจัดลําดับของเสียงที่ใชในบท<br />

เพลงแตละเพลง<br />

2.2.3 กลุมเสียง<br />

(Mode) หรือมาตราเสียงเฉพาะ คือ การเลือกใชกลุมเสียงในมาตรา<br />

เสียงตางๆ ที่ใชเปนพื้นฐานของบทเพลงบทหนึ่ง<br />

ๆ<br />

2.2.4 ขั้นคูเสียง<br />

(Intervals) คือ ระยะหางระหวางความสูงต่ําของเสียงสองเสียงใน<br />

บทเพลงหนึ่ง<br />

หรือทอนหนึ่ง<br />

บทเพลง<br />

2.2.5 ชวงเสียง (Ranges) คือ ความกวางของระดับเสียงต่ําสุดถึงสูงสุดที่ใชใน<br />

2.2.6 รูปลักษณของทวงทํานอง (Melodic contour) ไดแกทํานองแบบตาง ๆ คือ<br />

- แบบตอเนื่องเชื่อมโยงกัน<br />

(Conjunct) คือ ทวงทํานองที่มีความตอเนื่อง<br />

เชื่อมโยงกันหรือเปนการบรรเลงตอเนื่องกันไป<br />

- แบบไมเชื่อมโยงกัน<br />

(Disjunct) คือ ทวงทํานองที่ไมตอเนื่องเชื่อมโยงกัน<br />

หรือมีการเวนชองวางระหวางวลี ทําใหทํานองไมตอเนื่องกัน<br />

ต่ําสลับกันไป<br />

- แบบขึ้น<br />

ๆ ลง ๆ (Undulating) คือ ทวงทํานองที ่ขึ้น<br />

ๆ ลง ๆ หรือ มีเสียงสูง<br />

- แบบสูงขึ้นเรื่อย<br />

ๆ (Ascending) คือ ทวงทํานองที่สูงขึ้นเรื่อย<br />

ๆ<br />

- แบบต่ําลงเรื่อย<br />

ๆ (Descending) คือ ทวงทํานองที่ต่ําลงเรื่อย<br />

ๆ<br />

30


- แบบสม่ําเสมอ<br />

(Terraced) คือ ทวงทํานองที่<br />

สม่ําเสมอไมคอยเปลี่ยนระดับ<br />

เสียง จะเปนทวงทํานองที่สั้นก็ไดยาวก็ได<br />

2.2.7 โครงสรางของวลี (Phrase Structure) คือ การพิจารณาลักษณะของบทเพลง<br />

ตามแนวนอนวามีลักษณะเปนอยางไร<br />

2.2.8 การประดับตกแตงทํานอง (Ornamentation) คือ รายละเอียดที่แสดงความ<br />

งดงามของบทเพลง<br />

2.2.9 เนื้อรองและการเอื้อน<br />

(Syllabic text setting or melismatic text setting) คือ<br />

การศึกษาลักษณะของเนื้อรอง<br />

โครงสราง ความหมาย ความสัมพันธกับทํานองเพลงและจังหวะ<br />

เปนตน<br />

2.3 การศึกษาในเรื่องจังหวะ<br />

(Rhythm) คือ การจัดองครวมของเสียงที่สัมพันธกับเวลา<br />

เรื่องที่ตองศึกษาไดแก<br />

หนัก / เบา<br />

2.3.1 การตกจังหวะ (Beat & accent) คือ การเคาะจังหวะ และการเนนจังหวะ<br />

2.3.2 การลักจังหวะ (Syncopation) คือ การตกจังหวะกอนหรือหลังจังหวะหลัก<br />

(หรือตกที่จังหวะยก)<br />

2.3.3 อัตราจังหวะ (Meter) คือ การจัดจังหวะภายในหนึ่งหองเพลง<br />

measure ใน<br />

แตละวลี จังหวะหนัก – เบา ( ฉิ่ง<br />

– ฉับ ) ไดแก<br />

- จังหวะอิสระ (Parlando – rubato) คือจังหวะที่ยืดหยุนมาก<br />

ไมแนนอน<br />

คลายกับการพูด<br />

- จังหวะตายตัว (Tempo guisto) คือ อัตราจังหวะสองชั้น<br />

หรือสามชั้น<br />

31


- จังหวะสม่ําเสมอ<br />

(Isomatric) คือ ทํานองเพลงในจํานวนหองเทากัน มี<br />

จังหวะที่เทากัน<br />

บรรเลงซ้ํา<br />

ๆ กันตั้งแตตนจนจบเพลง<br />

- จังหวะไมสม่ําเสมอ<br />

(Asymmetrical isometric) คือทํานองในจํานวนหอง<br />

ที่เทากันแตละจังหวะไมเทากัน<br />

5/4 , 2/3 บรรเลงซ้ํา<br />

ๆ กันตั้งแตตนจนจบเพลง<br />

- จังหวะประสม (Heterophonic) คือทํานองเพลงที่แตละทอนมีการ<br />

เปลี่ยนแปลงจังหวะบอย<br />

ๆ เชน 5/4 บาง 3/4 บาง และ 2/8 บาง<br />

- จังหวะหลากหลาย (Polymetric) คือบทเพลงเดียวกันที่มีหลายแนว<br />

แตละ<br />

แนวมีจังหวะตางกัน<br />

2.4 การศึกษาความเร็ว (Tempo) คือ ความสัมพันธระหวางจํานวนตัวโนตกับชวงเวลา<br />

ตัวโนตยิ่งมากยิ่งเร็ว<br />

2.5 การศึกษาผิวพรรณ (Texture) คือ การประสานเสียง การประสานทํานอง<br />

ความสัมพันธระหวางทํานองแตละแนว<br />

ทบก็ตาม<br />

2.5.1 ทํานองเดี่ยว<br />

(Monophony) คือ เพลงที่มีทํานองเดียว<br />

แมวาจะอยูคนละชวง<br />

2.5.2 ทํานองประสม (Polyphony) คือ มีทํานองหลาย ๆ ทํานองบรรเลงไปพรอม<br />

กัน ในจังหวะเดียวกัน สามารถจําแนกได 3 แบบคือ<br />

- Homophony (Harmony) คือ มีทํานองสองทํานองหรือมากกวาที่มีลีลาใน<br />

จังหวะเดียวกัน และมีลักษณธการจัดองคประกอบของทวงทํานองในแนวนอน เชน ทํานองหลัก<br />

กับแนวประสานเสียง เปนตน<br />

- Couterpoint (Disphony) คือบทเพลงที<br />

่มีสองแนวทํานองหรือมากกวา แตละ<br />

ทํานองเปนอิสระตอกัน และไมจําเปนตองเปนจังหวะเดียวกัน ก็ได<br />

32


- Drone Harmony คือ ทํานองเพลงที่ใชเสียงประสานเพียงเสียง<br />

เดียว ซึ่งดัง<br />

อยูตลอดเวลา<br />

เชน เสียงเสพของแคนลายตาง ๆ หรือ เพลงจากปสก็อตซ<br />

เปนตน<br />

2.5.3 ทํานองหลากหลาย (Heterophony) คือ บทเพลงที่มีทวงทํานองตาง<br />

ๆกันแต<br />

ละทํานองขึ้นอยูกับทํานองหลักเพียงทํานองเดียว<br />

บางทีก็ใชคา stratified เชน ดนตรีกาเมลันของ<br />

อินโดนีเซีย แตดนตรีไทยเปนแบบการประสานสํานวนทํานอง idiomatic heterophony<br />

2.6 การศึกษารูปแบบ (Form) คือ การจัดองคกรของบทเพลงโดยจัดเปนทอน เปนตอน<br />

แตละทอนมีองคประกอบเฉพาะ มีแบบตาง ๆ ตอไปนี้<br />

2.6.1 Iterative คือ บทเพลงที่มีทํานองสั้น<br />

ๆ ทํานองเดียว บรรเลงซ้ํา<br />

ๆ กัน ซึ่ง<br />

อาจจะมีความแตกตางกันบาง หรือไมมีเลยก็ได เชน A-A-A-A-A<br />

2.6.2 Binary คือ บทเพลงสองทอน เชน A-B<br />

2.6.3 Reverting คือ บทเพลงที่มีรูปแบบดังกลาวมาแลวขางตน<br />

ใชทํานองเดียวกัน<br />

แตมีเนื้อรอง<br />

ตาง ๆ กัน เปนประเภทหลายเนื้อทํานองเดียว<br />

2.6.4 Strophic คือ บทเพลงที่มีรูปแบบดังกลาวมาแลวขางตน<br />

ใชทํานองเดียวกัน แต<br />

มีเนื้อรองตางกัน<br />

เปนประเภทหลายเนื้อทํานองเดียว<br />

2.6.5 Progessive คือ บทเพลงที่มีทํานองใหมๆเพิ่มขึ้นทุกทอนโดยไมยอนทํานอง<br />

เดิม เชน A-B-C-D-E-F<br />

ไปเรื่อย<br />

ๆ<br />

2.6.6 Theme & Variation คือ บทเพลงที่ใชทํานองหลักโดยมีการแปรทํานองนั้น<br />

2.7 การศึกษาสุมเสียง<br />

(Timbre) หรือคุณลักษณะของเสียง (Tone Color) คือ คุณภาพของ<br />

เสียงดนตรี หรือเสียงรองที่มีลักษณะเฉพาะของตัวเอง<br />

หรือเสียงที่ประสมประสานกัน<br />

33


2.8 การศึกษาความดัง (Dynamic) คือ ความดัง – เบา ของเสียงดนตรี หมายรวมทั้งกรณีที่<br />

คอย ๆ เบาลง decrescendo และคอย ๆ ดังขึ้น<br />

crescendo ดวย<br />

2.9 ดนตรีลักษณะพิเศษ (Extra – musical) หมายถึงความสัมพันธระหวางเสียง<br />

(บทเพลง) กับสิ่งที่ไมใชดนตรี<br />

เชน บทกลอน ภาพเขียน เปนตน<br />

3. แนวคิดและทฤษฎีทางคติชนวิทยา<br />

3.1 ความหมายและแนวทางในการศึกษาเชิงคติชนวิทยา<br />

สิริวรรณ (ม.ป.ป: 7 – 9) ใหความหมายของคติชนวิทยาวา<br />

คติชนวิทยา ปนวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับวิถีชีวิตและวัฒนธรรมแขนงตาง<br />

ๆ ของมนุษยเพื่อจะ<br />

ไดรูจักและเขาในทัศนะคติ<br />

คานิยม ตลอดจนชีวิตความเปนอยูของกลุมชนในแงมุมตาง<br />

ๆ<br />

ซึ่งโดยรูปศัพทแลว<br />

คติ หมายถึง การดําเนิน วิธี แบบอยาง ลักษณะ<br />

ชน หมายถึง คนในกลุมหนึ่ง<br />

หรือในชาติหนึ่ง<br />

วิทยา หมายถึง ความรู<br />

คําวา คติชนวิทยา มาจากคําภาษาอังกฤษวา “Folklore” ซึ่งเกิดจากการรวมคําสองคํา<br />

เขาดวยกัน คือ<br />

Folk หมายถึง กลุมชนที่มีลักษณะรวมกันอยางนอย<br />

1 ลักษณะ เชน ภาษา ศาสนา<br />

ลักษณะอาชีพ เชื้อชาติ<br />

เปนตน และสิ่งที่สําคัญคือ<br />

กลุมชนนั<br />

้นตองมีวัฒนธรรมเปนของ<br />

ตนเอง<br />

Lore หมายถึง ความรูที่ไดจากการเรียนรูหรือประสบการณ<br />

โดยสืบทอดมาตาม<br />

ประเพณี<br />

คําวา “Folklore” จึงหมายถึง ความรูของกลุมชนที่มีลักษณะรวมกันที่ถายทอดตอกันมาได<br />

และยังมีนักคติชนวิทยา (Folklorist ) ใหขอคิดเกี่ยวกับความหมายตาง<br />

ๆ ของคํานี้<br />

ไวดังนี้คือ<br />

34


สิริวรรณ (ม.ป.ป. อางถึง Thompson, n.d.) ซึ่งไดอธิบายวา<br />

“คติชนวิทยา คือ สิ่งที่ถายทอด<br />

กันมาจากคนหนึ่ง<br />

ไปสูอีกคนหนึ่งโดยการจดจํา<br />

และปฏิบัติมากกวาการจดบันทึก”<br />

สิริวรรณ (ม.ป.ป. อางถึง Barbeau, n.d.) ซึ่งไดใหความเห็นไววา<br />

เพลงกลอมเด็ก<br />

ปริศนาคําทาย คําคม บทกลอนสั้น<br />

ๆ หรือสุภาษิต พังเพย นิทานคติ นิทานเทพนิยาย เพลง<br />

ชาวบาน การเตนรํา เกมตางๆ วิธีการเย็บปกถักรอย การปนดาย<br />

ทอผา สานหรือรอยดอกไม<br />

การทําขนม การประกอบอาหารตาง ๆ และสิ่งอื่นๆ<br />

ที่บรรพบุรุษไดฝกในเรื่องอาชีพ<br />

การ<br />

อานเวลา (จากดวงอาทิตย) การสังเกตดวงจันทร ทิศทางลม การพยากรณอากาศ การสังเกต<br />

ธรรมชาติ ชางไม ชางแกะสลัก ชางฝมือ ชางสรางรถ ตอเรือ ฝกฝนการใชเครื่องมือ<br />

และ<br />

การถายทอดวิธีการตางๆ ใหกับคนรุนหลัง<br />

ซึ่งทั้งหมดนี้เปนการใหความรูประสบการณ<br />

ชี้ใหเกิดไหวพริบ<br />

ชวยใหเกิดทักษะ โดยบอกกลาวหรือแสดงใหดู สืบทอดจากคนรุนเกาสู<br />

คนรุนใหมหลายชั่วอายุคน<br />

โดยมิไดจดบันทึก พิมพเปนหนังสือ หรือมีครูสอนเปน<br />

โรงเรียนแตอยางใด<br />

กุหลาบ (2528 อางถึง Taylor, n.d.) ซึ่งไดชี้แจงวา<br />

“คติชนวิทยา หมายถึง วิชาที่ศึกษาถึงสิ่ง<br />

ตาง ๆ ซึ่งถายทอดโดยทางประเพณีจากชั่วคนหนึ่งไปยังอีกชั่วคนหนึ่ง<br />

โดยไมมีคําอธิบายชัดเจนถึง<br />

ผูเริ่มประดิษฐหรือแตงขึ้น”<br />

กุหลาบ (2528 อางถึง Leach, n.d.) ซึ่ง<br />

ใหคําจํากัดความไววา “คติชนเปนศัพทที่ใชหมายถึง<br />

ขนบธรรมเนียมประเพณี ความเชื่อ<br />

ประเพณีปรัมปรา นิทาน การทําพิธีทางไสยศาสตร สุภาษิต<br />

เพลง ฯลฯ โดยสรุป คติชน คือ ความรูของชนกลุมใดกลุมหนึ่งซึ่งรูเรื่องตาง<br />

ๆ เหมือนกัน และไดสั่ง<br />

สมเพิ่มพูนสืบทอดกันมานาน”<br />

ธนะรัชต ( 2543: 6 - 7) ไดอธิบาย ขอบเขตและความหมายของคติชนวิทยาสามารถสรุป<br />

ไดเปนประเด็นไดดังนี้<br />

คือ<br />

1. เปนเรื่องที่ตามปกติไมรูถึงแหลงที่มา<br />

คือผูที่เปนตนกําเนิด<br />

2. เปนมรดกทางวัฒนธรรมที่รับชวงตอ<br />

ๆ กันมาจากคนรุนกอน<br />

สูคนรุนหลังหลาย<br />

ๆ<br />

ชั่วคน<br />

ถือเปนแบบแผนใหคนรุนหลังปฏิบัติตอ<br />

ๆ กันมา หรือเชื่อกันอยางนี้สืบมา<br />

3. แตเดิมนั้นเนนหนักอยูที่การถายทอดดวยคําพูด<br />

การบอกเลาในภายหลังมีการจด<br />

35


บันทึก และวิธีการศึกษาเก็บขอมูลไดขยายขอบเขตไปถึงขอมูลที่บันทึกไว<br />

และการแสดง<br />

ทาทางประกอบ<br />

กระบวนการถายทอด แตเดิมคติชนวิทยามักถายทอดดวยปาก (มุขปาฐะ) หรือการ<br />

แสดงออกเพื่อใหเลียนแบบได<br />

อันเปนวิธีดั้งเดิมตามธรรมชาติของมนุษย<br />

การขาดตอนทาง<br />

คติชนและทางวัฒนธรรมนั้น<br />

ก็เนื่องมาจากการขาดตอนการถายทอด<br />

แมในปจจุบันนี้<br />

เมื่อ<br />

การสื่อสารดวยการใชวัสดุอุปกรณตาง<br />

ๆ เจริญมากขึ้น<br />

แตการถายทอดดวยปากและวิธีการ<br />

ปฏิบัติ ก็ยังมีความสําคัญอยูเปนอันมากในวงการคติชนวิทยา<br />

3.2 องคประกอบของคติชน<br />

กุหลาบ (2528: 6 – 9) กลาววา คติชนมีองคประกอบที่สําคัญหลายประการ<br />

สามารถสรุปได<br />

ดังนี้<br />

คือ<br />

3.2.1 กลุมชน<br />

ตามความหมายในทางคติชนวิทยา หมายถึง บุคคลหลายคนมีคติของ<br />

วิถีชีวิตรวมกัน มีผลผลิตทางวัฒนธรรมเปนสมบัติของกลุมรวมกัน<br />

3.2.2 แหลง หมายถึง พื้นที่อันเปนที่พํานักของกลุมชน<br />

นักคติชนวิทยายอมสนใจใน<br />

พื้นที่ตาง<br />

ๆ ซึ่งมีกลุมชนที่มีคติชนรวมกัน<br />

แหลงอาจเปนพื้นที่ขนาดใหญหรือเล็กก็ได<br />

และแหลง<br />

เหลานี้เปนที่ซึ่งนักวิชาการหรือผูศึกษาออกไปเก็บรวมรวบขอมูลคติชนตาง<br />

ๆ<br />

3.2.3 ตัวบท คือ เนื้อหาหรือวิธีกรแสดงออกของคติชน<br />

ประกอบดวยลีลา ทวงทํานอง<br />

กลวิธีในการแสดงออก ตลอดจนบริบทแวดลอมอื่น<br />

ๆ<br />

3.2.4 บทบาทและหนาที่ของคติชนในสังคมหนึ่ง<br />

ๆ คติชนยอมมีหนาที่หรือบทบาท<br />

อยางใดอยางหนึ่งในสังคมเสมอ<br />

นักคติชนวิทยาจึงสนใจศึกษาคติชนที่มีอยูในสังคมหนึ่ง<br />

ๆ วามี<br />

ความหมาย ความสัมพันธ และหนาที่อยางไรในสังคมนั้นดวย<br />

3.2.5 กระบวนการถายทอด นักคติชนวิทยาสนใจเปนพิเศษในกระบวนการถายทอด<br />

ประเภทวิธีการถายทอดดวยปาก (มุขปาฐะ) หรือการแสดงออกเพื่อใหเลียนแบบอันเปนวิธีดั้งเดิม<br />

36


ตามธรรมชาติในชีวิตมนุษย แมในปจจุบันเมื่อการสื่อสารดวยการใชวัสดุอุปกรณตางๆ<br />

เจริญมาก<br />

ขึ้น<br />

แตการถายทอดในลักษณะนี้<br />

ก็ยังมีความหมายสําคัญอยูเปนอันมากในวงการศึกษาคติชนวิทยา<br />

3.3 ประเภทของคติชน<br />

สิริวรรณ (ม.ป.ป: 12) อธิบายวา โดยทั่วไปการจําแนกขอมูลทางคติชนวิทยา<br />

จัดไว<br />

3 ประเภทคือ<br />

3.3.1 ประเภทมุขปาฐะ ไดแก เพลง นิทาน ปริศนาคําทาย ภาษิต ความเชื่อ<br />

ภาษา<br />

ถิ่นและคํากลาวตาง<br />

ๆ<br />

3.3.2 ประเภทอมุขปาฐะ ไดแก<br />

ก. ศิลปะพื้นบาน<br />

คือ สิ่งประดิษฐ<br />

และการประดิษฐสิ่งของใหใชประโยชน<br />

ไดและสวยงาม ไดแกเครื่องแตงกาย<br />

การแตงกาย ผา เครื่องใชในครัวเรือน<br />

พาหนะพื้นบาน<br />

วัตถุ<br />

เพื่อการบุญในศาสนาและความเชื่อ<br />

เครื่องดนตรี<br />

เครื่องประกอบการสรางอาคารและสถานที่<br />

เครื่องใชในการรบและการตอสูปองกันตัว<br />

และการปรุงอาหารประจําเทศกาล<br />

ข. สถาปตยกรรมพื้นบาน<br />

ค. หัตถกรรมพื้นบาน<br />

ใชคนแสดง<br />

พื้นบาน<br />

3.3.3 ประเภทผสม ไดแก<br />

ก. การแสดงพื้นบาน<br />

ไดแกระบําพื้นบาน<br />

ละครพื้นบาน<br />

และการละเลนที่ไม<br />

ข. การละเลนพื้นบาน<br />

ไดแกการละเลนของเด็กที่มีเพลงประกอบ<br />

และกีฬา<br />

ค. ประเพณีและพิธีกรรม<br />

3.4 วิธีวิทยาในการวิเคราะหตํานาน – นิทานพื้นบานโดยใชทฤษฎีคติชนวิทยา<br />

ศิราพร (2548) ไดกลาวถึงทฤษฎีคติชนวิทยา ในเชิงการศึกษาวิธีวิทยาในการวิเคราะห<br />

ตํานาน – นิทานพื้นบาน<br />

ไววา<br />

37


จัดอยูในประเภทการศึกษาเรื่องคติชนกับสังคม<br />

: ทฤษฎีบทบาทหนาที่นิยมของคติชน<br />

วิทยาในสังคม ซึ่งวิธีการวิเคราะหนิทานและตํานานพื้นบานโดยทั่วไปจะเนนการวิธีการ<br />

วิเคราะหตัวบท (Text) แตสําหรับการศึกษาเรื่องที่เกี่ยวของกับโนราชุมพรนั้น<br />

จะนําเสนอ<br />

ขอมูลทางคติชนในบริบท (Context) ทางสังคม โดยจะวิเคราะหใหเห็นบทบาทหนาที่ของ<br />

คติชนประเภทตาง ๆ ที่ดํารงอยูในสังคม<br />

โดยจะใชทฤษฎีที่เรียกวา<br />

“ทฤษฎีบทบาทหนาที่<br />

นิยม (Functionalism)”<br />

ทฤษฎีบทบาทหนาที่นิยมมองวา<br />

วัฒนธรรมสวนตาง ๆ ในสังคมมีหนาที่ตอบสนองความ<br />

ตองการของมนุษยทั้งทางดานปจจัยพื้นฐาน<br />

ดานความมั่นคงทางสังคม<br />

และความมั่นคง<br />

ทางจิตใจ วัฒนธรรมในสวนที่เปนคติชน<br />

ไมวาจะเปนเรื่องเลาประเภทตาง<br />

ๆ เพลง<br />

การละเลน การแสดง ความเชื่อ<br />

พิธีกรรม ลวนมีหนาที่ตอบสนองความตองการของมนุษย<br />

ทางดานจิตใจและชวยสรางความเขมแข็ง ความมั่นคงทางวัฒนธรรมในแตละสังคมนั้น<br />

ดวย<br />

สรุปไดวา ทฤษฎีบทบาทหนาที่นิยมถือวาองคประกอบตาง<br />

ๆ ในวัฒนธรรม ไมวาจะเปน<br />

ระบบความเชื่อและศาสนา<br />

ระบบครอบครัว ระบบการปกครอง ระบบการศึกษา ระบบ<br />

นันทนาการ ระบบตาง ๆ นั้นเปนกลไกทางสังคมหรือวัฒนธรรมที่ตางก็มีหนาที่ของตน<br />

เปรียบได<br />

กับอวัยวะตาง ๆ ในรางกายของคนเรา ที่ลวนมีหนาที่ตางกัน<br />

ทําใหรางกายดํารงอยูได<br />

หากอวัยวะใด<br />

ในรางกายไมสามารถทําหนาที่ไดก็จะมีผลกระทบตอความแข็งแรงของรางกาย<br />

ระบบตาง ๆ ใน<br />

วัฒนธรรมก็เชนกัน เพราะเมื่อวัฒนธรรมมีความสมบูรณ<br />

สังคมนั้นก็จะดํารงอยูและดําเนินไปได<br />

อยางดี<br />

งานวิจัยที่เกี่ยวของกับโนราและการแสดงโนรา<br />

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของการศึกษาวิจัยเรื่อง<br />

โนราชุมพร: กรณีศึกษาการแสดงโนรา<br />

ของโรงเรียนศรียาภัย จังหวัดชุมพร มีดังนี้<br />

ธีรชัย (2542) ไดทําการวิจัยเรื่อง<br />

นัยทางสังคมของพิธีโนราโรงครู: กรณีศึกษา<br />

บานบอแดง มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาบทบาทและอิทธิพลของพิธีโนราโรงครูที่มีตอสังคมและผูคน<br />

บานบอแดงและ ภาพสะทอนทางสังคมวัฒนธรรมจากพิธีกรรมโนราโรงครู โดยใชวิธีการศึกษา<br />

38


แบบการสังเกตแบบ มีสวนรวม (participant observation) และการสัมภาษณแบบเจาะลึก (intensive<br />

interview) ผลจากการวิจัย พบวา โนราโรงครูเปนพิธีกรรมที่สงเสริมระบบความเชื่อเรื่อง<br />

ตายาย ซึ่ง<br />

เปนการนับถือบรรพบุรุษของชาวถิ่นใต<br />

สะทอนใหเห็นสภาพสังคมถิ่นใตวาเปนสังคม<br />

ที่เปนสวน<br />

หนึ่งสวนเดียวกับธรรมชาติ<br />

นับถือผีบรรพบุรุษ (ancestor worship) โดยมี เพศหญิงเปนศูนยกลาง<br />

(matrifocality) เปนสังคมอิสระหางไกลจากกลไกของรัฐและการปกครอง จึงหยิบจับปรับใชทุก<br />

อยางที่ผานเขามาในทางทองถิ่นนิยม<br />

(localization) พิธีกรรมโนราโรงครูสามารถรักษาหมูพวก<br />

ทามกลางสภาพแวดลอมทางธรรมชาติที่เอื้อตอ<br />

การเขามาของผูคนตางวัฒนธรรม<br />

เพื่อยึดโยงให<br />

ผูคนสามารถปกปองตนเองจากสภาพแวดลอมทาง<br />

สังคมที่ปกครองตนเองโดยระบบ<br />

ยานเครือเชื้อ<br />

วงค คือใหปจเจกชนอยูติดกับครอบครัว<br />

แลวใหครอบครัวผูกติดกับ ตายาย อันเปนเครือขายทาง<br />

สายเลือดที่สืบเนื่องกันได<br />

โดย ความสืบเนื่องในเชิงนามธรรมใหตายายของแตละสายเชื่อมโยง<br />

ตอเนื่องกันในทางอุดมคติของ<br />

วัฒนธรรมโนราในนามของ ตายายโนรา ดังนั้นผูคนในวัฒนธรรม<br />

โนราจึงถือวาเปนพวกเดียวกัน หมดในทางอุดมคติ<br />

ธีรวัตน (2537) ไดทําวิจัยเรื่องพรานโนรา<br />

มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความเปนมา<br />

บทบาท<br />

ทารํา และหนาพรานโนราตัวพราน เปนตัวละครสําคัญของการแสดงโนราใน 4 จังหวัดภาคใต คือ<br />

นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา และตรัง ผลการศึกษาได จากการสัมภาษณ และการสังเกตการ<br />

สาธิตของศิลปนพรานอาวุโส ซึ่งเปนที่<br />

ยอมรับนับถือกันโดยทั่วไป<br />

ผลการศึกษาวิจัยไดขอสรุปวา<br />

พรานเปนตัวละครที่คงจะเกิดขึ้นและ<br />

พัฒนามาพรอมกับการแสดงโนรา ตัวพรานมีทั้งพรานชาย<br />

และหญิง การรํา ของตัวพรานแบงได 2 ลักษณะคือ ทาเฉพาะ และทาประกอบการแสดง ทา<br />

เฉพาะที่สําคัญ<br />

ไดแก โผล ทองโรง ยายพราน นาคสองมือ ไหวพราน ถวายบังคับ รําชัดมวงและชี้<br />

นิ้วผี<br />

สวนทาประกอบการแสดง คือ กิริยาทาทาง เพื่อใหดูเปนตัวแสดงตาง<br />

ๆ เชน เปนผูหญิง<br />

หรือ<br />

เปนสัตวตาง ๆ โดยใช รางกายและอุปกรณการแสดง หนาพรานมี 2 แบบคือ หนาพรานชายและ<br />

หนาพรานหญิง หนาพราน ชายเปนสีแดงสวนหนาพรานหญิงเปนสีขาวหรือสีเนื้อ<br />

ตัวพรานผูชาย<br />

ทํา หนาที่หลายบทบาท<br />

อาทิ ตัวบอกเรื่อง<br />

ตัวตลก และ ตัวแสดงตาง ๆ เมื่อมี<br />

การเลนเปนเรื่อง<br />

สวนตัวพรานหญิงทําหนาที่เปนตัวแสดงประกอบหญิงตาง<br />

ๆ เทานั้น<br />

การแตงกายของพรานชายมี 2<br />

แบบคือ แบบนุงผาโจงกระเบน<br />

และ แบบมุงผาลอยชาย<br />

สวนการแตงกายของพรานหญิงก็มี 2 แบบ<br />

คือ แบบสวมเสื้อ<br />

และแบบผาหออก จากการวิจัยภาคสนามตลอดระยะเวลา 2 มี ไมพบการแสดง<br />

ของตัว พรานแบบดังกลาวเลยทําใหคาดวาการแสดงของพรานโนราอาจสาบสูญ<br />

39


นิธิมา (2544) ทําการวิจัยเรื่องการปรับตัวของสื่อพื้นบานโนรา<br />

เพื่อศึกษาการปรับรูปแบบ<br />

และเนื้อหาของสื่อพื้นบานโนรา<br />

และเพื่อศึกษา<br />

ผลของการปรับตัวของสื่อพื้นบานโนราในปจจุบัน<br />

ซึ่งเปนการวิจัยเชิงคุณภาพ<br />

โดยใช วิธีการสัมภาษณเชิงลึกนายโรงโนรา จํานวน 9 คน นางรําจํานวน<br />

9 คน นักวิชาการทองถิ่น<br />

จํานวน 3 คน ซึ่งอยูในเขตจังหวัดนครศรีธรรมราช<br />

สงขลา และพัทลุง<br />

รวมทั้งการสังเกต<br />

แบบมีสวนรวม และการสังเกตแบบไมมีสวนรวม ผลจากการวิจัยครั้งนี้พบวา<br />

การแสดงโนราในปจจุบันมี 2 ประเภท คือ โนราโรงครู และโนราแสดง ในปจจุบันโนราแสดงเปน<br />

โนราที่มีการปรับตัว<br />

โดยปรับเปน โนราโบราณ โนราสมัยใหม และโนราประยุกต เหตุปจจัยที่ทํา<br />

ใหโนราแสดงมีการปรับตัว ไดแก การเขามาของสื่อสมัยใหม<br />

ความนิยมของคนดู และรายไดของ<br />

โนรา การปรับตัวของสื่อพื้นบาน<br />

โนราในปจจุบันเปนวัฒนธรรมแบบที่เกิดขึ้นใหม<br />

จากการ<br />

ผสมผสานวัฒนธรรมของการแสดงโนรา ที่ตกคางจากอดีตและวัฒนธรรมหลัก<br />

ไดแก การแสดง<br />

ละครแบบสมัยใหม และการแสดงดนตรี ลูกทุง<br />

ในสวนการปรับรูปแบบของการแสดงเปนการ<br />

ตัดทิ้ง<br />

และลดทอน วัฒนธรรมของการแสดง โนรา รวมทั้งแทนที่<br />

และตอเติมดวยวัฒนธรรมหลัก<br />

ในสวนการปรับเนื้อหาพบวา<br />

มีการปรับ เนื้อหาในดานบทกลอน<br />

ที่เปนกําพรัดและมุตโต<br />

โดยการ<br />

ตัดทิ้งเนื้อหาเดิม<br />

นําเนื้อหาที่<br />

เกี่ยวกับเหตุการณปจจุบันมาแทนที่<br />

เนื้อหาของการแสดงเรื่อง<br />

เปนการ<br />

นําเสนอดวย เนื้อหาแบบละครสมัยใหม<br />

และการนําเนื้อหาการแสดงเรื่องแบบโบราณกลับมาใช<br />

นอกจากนั้น<br />

ยังพบวา สื่อพื้นบานโนราในปจจุบันมีบทบาทในการใหการศึกษา<br />

แจงขาวสาร ให<br />

ความ บันเทิง และวิพากษวิจารณสังคม ผลของการปรับตัวของโนราแสดงแตละลักษณะในปจจุบัน<br />

มีความแตกตาง 4 ประการ ในเรื่อง<br />

กลุมเปาหมาย<br />

ปฏิสัมพันธระหวางคนดูตางกัน ความลึกซึ้งใน<br />

การสั่งสอน<br />

และคุณคาทางนาฏลักษณในแบบโนรา ผูวิจัยพบวา<br />

แมโนราโบราณ โนราสมัยใหม<br />

และโนราประยุกตมีการปรับตัวในดาน รูปแบบและเนื้อหา<br />

แตอยางไรก็ตามโนราเหลานี้ก็ยังคง<br />

องคประกอบหลักของการแสดงโนรา ไดแก การรอง การรํา และการทําบท อันเปนเอกลักษณของ<br />

การแสดงโนราเอาไว เพื่อ<br />

มุงสื่อสารจากโนราไปยังคนดู<br />

โนราในปจจุบันยังคงปรับตัวและอยูรอด<br />

ไดในสังคมไทย เนื่องจากความเชื่อเกี่ยวกับครูหมอโนรา<br />

และความเชื่อเกี่ยวกับพิธีกรรมโนราโรง<br />

ครู ซึ่งเปนกลไกสําคัญในการสืบทอดการแสดงโนราสูลูกหลานรุนตอๆ<br />

ไป<br />

สมโภชน (2537) ไดทําการวิจัยเรื่องการศึกษาเปรียบเทียบทารําโนราของครูโนรา<br />

5 ทาน มี<br />

วัตถุประสงคที่จะศึกษาทารําของการแสดงโนรา<br />

ทางภาคใต โดยใชกระบวนการวิเคราะหเชิง<br />

เปรียบเทียบวาทารําโนรา ของครูโนรา 5 ทาน ที่มีอายุตั้งแต<br />

60 ปขึ้นไป<br />

มีความรูความสามารถเปน<br />

ที่<br />

รูจักกันแพรหลาย<br />

และมีลูกศิษยที่จะสืบทอดทารําโนรา<br />

และไมไดรําโนราเปน อาชีพแลว วิธีการ<br />

วิจัย ใชการสัมภาษณทางลึกและการสังเกตุการรําโนรา ของครูทั้ง<br />

5 ทาน แลวนํามาเปรียบเทียบทา<br />

40


รําเพื่อหาความเหมือนและความ<br />

แตกตางในการรําโนรา 3 เพลงที่เปนพื้นฐานในการรําโนรา<br />

คือ<br />

เพลงครู เพลงครูสอนและเพลงสอนรํา ประกอบกับประสบการณของผูวิจัยซึ่งมีเชื้อ<br />

สายทางโนรา<br />

และไดรับการฝกหัดโนราโดยตรง ผลการวิจัยพบวา ทารําของครูทั้ง<br />

5 ทานในเพลงครู จะมีการ<br />

เรียงลําดับทาและเรียกชื่อทารําเหมือนกัน<br />

1 ทา คือทาเทพนม นอกจากนั้นจะ<br />

เรียงลําดับทาและทา<br />

รําแตกตางกันทุกทาทั้ง<br />

5 ทานในเพลงครูสอน และ เพลงสอนรํา การเรียงลําดับทารําและทารําของ<br />

ครูทั้ง<br />

5 ทานเหมือนกัน และ ลักษณะทารําก็จะคลายกันเปนสวนมาก แมวาการศึกษาจะเห็นความ<br />

แตกตางในการเรียงลําดับทาและทารํา แต โครงสรางพื้นฐานของการรําโนราที่เรียกวา<br />

โสฬส คือ<br />

ตําแหนงของใบหนา อก หลัง กน และเขา เหมือนกัน สาเหตุที่ครูทั้ง<br />

5 มีโสฬสเหมือนกันแตมี<br />

ความแตกตางในกระบวนรําบางประการ นาจะเกิดจากตางครูตางแยกกันสืบ ทอดสกุลยอยของ<br />

โนรา ความหลากหลายในกระบวนการรําโนรา แสดงใหเห็น วาการรําโนราเปนวัฒนธรรมทาง<br />

นาฏศิลปที่ร่ํารวยและรุงเรืองที่สุดชนิดหนึ่ง<br />

และยังมีเรื่องราวอีกเปนอันมากในนาฏศิลปโนราที่ควร<br />

ไดรับการศึกษาตอไป<br />

สุพัฒน (2539) ไดทําการวิจัยเรื่องรําเฆี่ยนพราย-เหยียบลูกมะนาว<br />

มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษา<br />

รูปแบบ ขั้นตอน<br />

การรํา บทบาท และความเชื ่อ วิธีวิจัยใชการศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวของ<br />

การ<br />

สัมภาษณนายโรงโนรา ผูทรงคุณวุฒิดานโนรา<br />

และจาก ประสบการณ ของผูวิจัยในการเรียนรู<br />

การดู<br />

และการฝก ปฏิบัติดวยตนเอง มีวิทยากรเปนนายโรงโนรา 5 ทาน ตามความ อาวุโส คือ พรอม จาวัง<br />

เลื่อน<br />

ละอองแกว ยก ชูบัว (ศิลปนแหงชาติ) ครื้น<br />

สงวนทอง กลิ่น<br />

พานุรัตน ทั้งนี้<br />

เลือกจากผูที่เปน<br />

หัวหนาคณะโนรา สามารถสาธิตการรําได ดวยตนเอง ผานการประกอบพิธีกรรมครอบเทริด ผูกผา<br />

ใหญ อยางถูกตอง อายุ 60 ป ขึ้นไป<br />

และมีชื่อเสียงเปนที่<br />

รูจักและยอมรับกันโดยทั่วไป<br />

จากนั้นนํา<br />

ความรูมาจัดโครงสราง<br />

เปรียบเทียบเพื่อตรวจสอบความถูกตองและศึกษาสามัญลักษณะ<br />

การรํา<br />

เฆี่ยนพราย-เหยียบลูกมะนาว<br />

เปนการรําโนราที่<br />

เกี่ยวของกับการทําคุณไสย<br />

การรําชุดนี้ตองแสดง<br />

โดยนายโรง โนรา และแสดงเฉพาะในการประชันโรงเทานั้น<br />

การรําเริ่มดวย<br />

รําเฆี่ยนพรายและจบ<br />

ดวยรําเหยียบลูกมะนาว ในการรํานี้มี<br />

หมดกบโรงเปนผูชวยดานพิธีกรรม<br />

ผลการศึกษาพบวา การรํา<br />

เฆี่ยนพราย-เหยียบลูกมะนาว<br />

อาจแบงออกไดเปน 8 ขั้นตอน<br />

คือ พิธีกรรมกอนรํา การรําอวด<br />

ความสามารถเฉพาะตัว การเรียกจิตวิญญาณของฝายตรงขาม การรําเขาหาตัวพราย การเฆี่ยนตัว<br />

พราย การรําเขาหาลูกมะนาว การเหยียบลูกมะนาว และทําพิธีปลงอนิจจัง จากการเปรียบเทียบ การ<br />

รําของนายโรงโนราทั้ง<br />

5 ทาน พบวา มี 2 แนว แนวที่<br />

1 คือ มีการรําอวดความสามารถเฉพาะตัว<br />

ในชวงตนของกระบวนรํา เฆี่ยนพราย<br />

หลังจากนั้นเปนการรําพรอมกับการบริกรรมคาถา<br />

จนจบ<br />

กระบวนรํา แนวที่<br />

2 คือการรําอวดความสามารถเฉพาะตัวสลับ กับการรําพรอมบริกรรมคาถาไป<br />

41


โดยตลอด สําหรับความเชื่อที่<br />

สอดแทรกอยูในการรํานี้พบวา<br />

มีความเชื่อทางไสยศาสตรที่<br />

ดัดแปลง<br />

มาจากคติในศาสนาพุทธ ฮินดู มุสลิม และการนับถือผี การแตงกายของนายโรงโนราในการรํานี้<br />

เหมือนเครื่องแตงกาย<br />

ของนายโรงโนราทั่วไป<br />

แตโพกผายันตแทนการสวมเทริด สวนหมอ กบโรง<br />

แตงกายแบบพื้นบานธรรมดา<br />

ปจจุบันการรําเฆี่ยนพราย-เหยียบลูกมะนาวหาดูไดยากมาก<br />

เนื่องจาก<br />

โนราประชันโรงที่สมบูรณแบบไมคอยมีจัดเหมือน<br />

ในอดีต ดังนั้นควรมีการศึกษา<br />

การบันทึก และ<br />

การสืบทอดการรํา อันศักดิ์สิทธิ์นี้ไวเปนสมบัติของโนราสืบไป<br />

อรวรรณ (2542) ไดทําวิจัยเรื่องโนราผูหญิงมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาเรื่องประวัติและ<br />

พัฒนาการ การรํา ประสมทาและชีวประวัติของโนราผูหญิง<br />

วิธีวิจัยใชการศึกษาจากเอกสารที่<br />

เกี่ยวของ<br />

การสัมภาษณ นายโรงโนรา ผูทรงคุณวุฒิดานโนรา<br />

การสังเกตและการสาธิตการรําของ<br />

นายโรงโนราผูหญิง<br />

คือ โนราถวิลหรือนางถวิล จําปาทอง ผลการศึกษาสรุปไดวา โนราผูหญิงเปน<br />

กลุมนักแสดงที่เพิ่งเกิดขึ้นเมื่อประมาณ<br />

70 ปที่ผานมา<br />

การมีปรากฎของโนราผูหญิงมีผลตอการ<br />

พัฒนาการแสดงโนราตามลําดับดังนี้<br />

ป พ.ศ.2482 พัฒนาการ แสดงโนราเปนแบบเลนกลอนสด<br />

หรือ มุตโต ป พ.ศ.2484 เปนโนราแบบแสดงเรื่องหรือเลนนิยาย<br />

ป พ.ศ.2500 เปนโนราแบบ<br />

“สมัยใหม” และป พ.ศ.2507 พัฒนาฟนฟูการแสดงโนราแบบโบราณใน<br />

สถาบันการศึกษา<br />

กระบวนรําประสมทาของนายโรงโนราผูหญิงพบวามี<br />

2 ลักษณะ คือ กระบวนรําประสมทาที่<br />

ประกอบดวยทารํา 58 ทา และกระบวนรําประสมทาที่ประกอบดวยทารํา<br />

42 ทา มีรูปแบบกระบวน<br />

รํา 10 ขั้นตอน<br />

คือ 1. รําออกจากฉาก 2. รําเทิงตุง<br />

3. รําแมทา 4. รํานาดชา 5. รําจับระบํา 6. รํา<br />

เพลงครู 7. รํานาดเร็ว 8. รําเพลงทับ 9. รําทองโรง 10. รําเคลามือนั่งพนัก<br />

กลวิธี นําเสนอรูปแบบ<br />

กระบวนรําคือ 1. ปฏิบัติทารําเรียงตามลําดับขั้นตอน<br />

2. การเรียงลําดับทารํา ประกอบ ดวยทานั่งรํา<br />

ยืนรํา และทาเคลื่อนที่<br />

3. การเลือกใชทารําตองมีความสมดุลยและเหมาะสมกับสรีระ รางกาย<br />

แนวคิดการรําประสมทาคือ 1. กระบวนรําตองปฏิบัติตามแบบโบราณ 2. ยึดทารําของครูโนรา เปน<br />

หลัก 3. มีการปรับเปลี่ยนกระบวนทารําใหสอดคลองกับเวลา<br />

โอกาส และความพรอมของผูชมและ<br />

ผูรํา<br />

4. เลือกปฏิบัติทายากไปหาทางาย โนราผูหญิงที่มีชื่อเสียงและมีประสบการณการแสดงมา<br />

ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบันมีปรากฎอยู<br />

ในจังหวัดนครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา ระนอง ตรัง กระบี่<br />

และสุราษฎรธานี มีสาเหตุการฝกรํา โนราแตกตางกันคือ 1. อยูในแวดวงโนรา<br />

2. ถูกครูหมอโนรา<br />

3. มีใจรักในศิลปะการรําโนรา 4. ความตองการของบิดา-มารดา ปจจุบันความสนใจในการฝกรํา<br />

โนราของผูหญิงลดลง<br />

42


ในงานวิจัยครั้ง<br />

ผูวิจัยไดทําการศึกษาการวิจัยเชิงคุณภาพแบบดนตรีชาติพันธุวิทยา<br />

โดยเนน<br />

ศึกษาความสัมพันธระหวางดนตรีกับมนุษย ซึ่งมีเนื้อหาในการศึกษาดานมุมมองตางๆ<br />

ดังที่ผูวิจัยได<br />

คนควาเอกสารงานวิจัยและศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวของ<br />

ดังไดกลาวไวขางตนแลว เพื่อเปนแนวทาง<br />

การศึกษาทําการวิจัยในเรื่อง<br />

“โนราชุมพร: กรณีศึกษาการแสดงโนราของโรงเรียนศรียาภัย จังหวัด<br />

ชุมพร” กอนที่ผูวิจัยจะลงพื้นที่ภาคสนามเพื่อเก็บขอมูลในลําดับตอไป<br />

43


บทที่<br />

3<br />

วิธีการดําเนินการวิจัย<br />

การศึกษาเรื่อง<br />

โนราชุมพร: กรณีศึกษา การแสดงโนราของโรงเรียนศรียาภัย จ.ชุมพร ใช<br />

ระเบียบวิธีวิจัยทางมานุษยดุริยางควิทยา (Ethnomusicology Research) โดยการรวบรวมขอมูลจาก<br />

เอกสาร ตําราตาง ๆ และการเก็บรวบรวมขอมูลภาคสนาม (Field work) การตรวจสอบขอมูล การ<br />

วิเคราะหเปรียบเทียบ การบันทึกโนตเพลง สรุปผลและการนําเสนอผลงานวิจัย ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้<br />

ขั้นเตรียมการ<br />

ขั้นเตรียมการคือ<br />

ขั้นตอนในการหาขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับเรื่องราว<br />

สถานที่<br />

และ<br />

สภาพการณตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับโนราชุมพร<br />

โดยการสํารวจเบื้องตนในหัวขอตาง<br />

ๆ ดังนี้<br />

การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ<br />

ผูวิจัยไดทําการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของจากเอกสาร<br />

ตําราตาง ๆ ใน<br />

หัวขอและประเด็นที่สัมพันธกันกับแนวความคิดของเรื่องที่จะศึกษา<br />

ไดแกประวัติศาสตรความ<br />

เปนมาของโนรา พิธีกรรมความเชื่อเกี่ยวกับโนรา<br />

ทาทางการรําโนรา และศึกษาเครื่องดนตรีที่ใช<br />

บรรเลงเพลงประกอบการแสดงโนรา รวมถึงบทบาทหนาที่และความสําคัญของโนราที่มีตอคนใน<br />

จังหวัดชุมพรดวย<br />

กลุมบุคคลขอมูล<br />

ในการศึกษาวิจัยเรื่องโนราชุมพร:<br />

กรณีศึกษา การแสดงโนราของโรงเรียนศรียาภัย<br />

จังหวัดชุมพร กลุมบุคคลขอมูล<br />

คือ กลุมนักดนตรีและนักแสดงโนราของโรงเรียนศรียาภัย<br />

จังหวัดชุมพร ดังตอไปนี้


1. อาจารยและผูควบคุมคณะโนรา<br />

ไดแกอาจารยนิยม บํารุงเสนา อาจารยโรงเรียนศรียาภัย<br />

จังหวัดชุมพร<br />

ภาพที่<br />

10 อาจารยนิยม บํารุงเสนา<br />

หมายเหตุ: บันทึกภาพเมื่อวันที่<br />

25 พฤษภาคม พ.ศ. 2548<br />

2. นักแสดงโนราโรงเรียนศรียาภัย ไดแก<br />

2.1 นายกฤษฎา วิสัยรัตน<br />

ภาพที่<br />

11 นายกฤษฎา วิสัยรัตน<br />

หมายเหตุ: บันทึกภาพเมื่อวันที่<br />

15 เมษายน พ.ศ. 2548<br />

45


2.2 นายธีรยุทธ บํารุงพล<br />

ภาพที่<br />

12 นายธีรยุทธ บํารุงพล<br />

หมายเหตุ: บันทึกภาพเมื่อวันที่<br />

15 เมษายน พ.ศ. 2548<br />

2.3 นายมนัสพล ยอยถึง<br />

ภาพที่<br />

13 นายมนัสพล ยอยถึง<br />

หมายเหตุ: บันทึกภาพเมื่อวันที่<br />

15 เมษายน พ.ศ. 2548<br />

46


2.4 นายปรัชญา หีตนาคาม<br />

ภาพที่<br />

14 นายปรัชญา หีตนาคราม<br />

หมายเหตุ: บันทึกภาพเมื่อวันที่<br />

15 เมษายน พ.ศ. 2548<br />

2.5 นางสาวศิริพร โจมฤทธิ์<br />

ภาพที่<br />

15 นางสาวศิริพร โจมฤทธิ์<br />

หมายเหตุ: บันทึกภาพเมื่อวันที่<br />

15 เมษายน พ.ศ. 2548<br />

47


2.6 นางสาวรุงรวี<br />

กลอมมิตร<br />

ภาพที่<br />

16 นางสาวรุงรวี<br />

กลอมมิตร<br />

หมายเหตุ: บันทึกภาพเมื่อวันที่<br />

15 เมษายน พ.ศ. 2548<br />

2.7 นางสาวกมลรัตน มลธุรัช<br />

ภาพที่<br />

17 นางสาวกมลรัตน มลธุรัช<br />

หมายเหตุ: บันทึกภาพเมื่อวันที่<br />

21 พฤษภาคม พ.ศ. 2547<br />

48


2.8 นางสาวณัฐชนันท ไกรวิลาศ<br />

ภาพที่<br />

18 นางสาวณัฐชนันท ไกรวิลาศ<br />

หมายเหตุ: บันทึกภาพเมื่อวันที่<br />

15 เมษายน พ.ศ. 2548<br />

2.9 นางสาวอรนิภา ปลอดดวน<br />

ภาพที่<br />

19 นางสาวอรนิภา ปลอดดวน<br />

หมายเหตุ: บันทึกภาพเมื่อวันที่<br />

15 เมษายน พ.ศ. 2548<br />

49


2.10 นางสาวพวงสนธิ์<br />

จิตประสงค<br />

ภาพที่<br />

20 นางสาวพวงสนธิ์<br />

จิตประสงค<br />

หมายเหตุ: บันทึกภาพเมื่อวันที่<br />

15 เมษายน พ.ศ. 2548<br />

2.11 นางสาวปรียาภรณ วงศวรชาติ<br />

ภาพที่<br />

21 นางสาวปรียาภรณ วงศวรชาติ<br />

หมายเหตุ: บันทึกภาพเมื่อวันที่<br />

15 เมษายน พ.ศ. 2548<br />

50


2.12 นางสาวชฎาพร โตสถาน<br />

ภาพที่<br />

22 นางสาวชฎาพร โตสถาน<br />

หมายเหตุ: บันทึกภาพเมื่อวันที่<br />

15 เมษายน พ.ศ. 2548<br />

2.13 นางสาวนิศาชล ชูสังกิจ<br />

ภาพที่<br />

23 นางสาวนิศาชล ชูสังกิจ<br />

หมายเหตุ: บันทึกภาพเมื่อวันที่<br />

15 เมษายน พ.ศ. 2548<br />

51


2.14 นายภคธร ธรรมรัต<br />

ภาพที่<br />

24 นายภคธร ธรรมรัต<br />

หมายเหตุ: บันทึกภาพเมื่อวันที่<br />

15 เมษายน พ.ศ. 2548<br />

2.15 นายวีระศักดิ์<br />

เชิงค<br />

ภาพที่<br />

25 นายวีระศักดิ์<br />

เชิงค<br />

หมายเหตุ: บันทึกภาพเมื่อวันที่<br />

24 ตุลาคม พ.ศ. 2549<br />

52


2.16 เด็กชายจิรวัฒน รัตนโสภา<br />

ภาพที่<br />

26 เด็กชายจิรวัฒน รัตนโสภา<br />

หมายเหตุ: บันทึกภาพเมื่อวันที่<br />

14 เมษายน พ.ศ. 2548<br />

3. นักดนตรีในคณะโนราโรงเรียนศรียาภัย ไดแก<br />

3.1 นายชัยณรงค พุมพะเนิน<br />

ภาพที่<br />

27 นายชัยณรงค พุมพะเนิน<br />

หมายเหตุ: บันทึกภาพเมื่อวันที่<br />

15 เมษายน พ.ศ. 2548<br />

53


3.2 เด็กหญิงอุมาภรณ วงศวรชาติ<br />

ภาพที่<br />

28 เด็กหญิงอุมาภรณ วงศวรชาติ<br />

หมายเหตุ: บันทึกภาพเมื่อวันที่<br />

14 เมษายน พ.ศ. 2548<br />

3.3 นางสาวชลลดา จรูญรักษ<br />

ภาพที่<br />

29 นางสาวชลลดา จรูญรักษ<br />

หมายเหตุ: บันทึกภาพเมื่อวันที่<br />

22 พฤษภาคม พ.ศ. 2548<br />

54


3.4 นายวาสุรัตน เต็มสังข<br />

ภาพที่<br />

30 นายวาสุรัตน เต็มสังข<br />

หมายเหตุ: บันทึกภาพเมื่อวันที่<br />

21 พฤษภาคม พ.ศ. 2548<br />

การเลือกพื้นที่ภาคสนาม<br />

ในการศึกษาโนราชุมพร พื้นที่ในการเก็บขอมูลคือ<br />

โรงเรียนศรียาภัย อําเภอเมือง<br />

จังหวัดชุมพร ซึ่งเปนสถานที่ตั้งของศูนยการเรียนรูภูมิปญญาทองถิ่นชุมพร<br />

ซึ่งมีการเรียนการสอน<br />

โนราชุมพรใหแกนักเรียนในโรงเรียน<br />

ขั้นดําเนินการ<br />

ขั้นตอนนี้เปนขั้นตอนของการเก็บขอมูลภาคสนาม<br />

(Field work) ซึ่งเปนสวนสําคัญที่สุด<br />

ในการวิจัยครั้งนี้และเปนหัวใจหลักของการวิจัยทางมานุษยดุริยางควิทยา<br />

(Ethnomusicological<br />

Research) ลักษณะสําคัญของการวิจัยวิจัยทางมานุษยดุริยางควิทยา คือ เปนการแสวงหาความรู<br />

จากการศึกษาพฤติกรรมและผลิตกรรมของมนุษย การพิจารณาปรากฏการณสังคมจากสภาพ<br />

แวดลอมตามความเปนจริง ใชวิธีการทางวิทยาศาสตร มีการทํางานเปนระบบ โดยใชหลักในการ<br />

เก็บขอมูลดังนี้<br />

55


การสังเกต (Observation)<br />

การสังเกต คือ การเฝาดูอยางเปนระบบ ในการวิจัยครั้งนี้<br />

ผูวิจัยเลือกใชวิธีการสังเกต<br />

แบบมีสวนรวม (Participant Observation) เปนการสังเกตที่ผูวิจัยเขาไปมีสวนรวมในคณะโนรา<br />

โรงเรียนศรียาภัย โดยมีบทบาทเปนผูเขารวมสังเกตแบบสมบูรณแบบ<br />

(Complete participant)<br />

กลาวคือ การเขาไปมีสวนรวมกับคณะการแสดง เพื่อจะไดเรียนรูถึงความหมาย<br />

บทเพลง<br />

พิธีกรรม สังคม วัฒนธรรม ประเพณี ในวิถีชีวิตที่แทจริงของชาวคณะโนรา<br />

โรงเรียนศรียาภัย<br />

การสัมภาษณ (Interview)<br />

การสัมภาษณ คือ การสนทนาอยางมีจุดมุงหมาย<br />

เพื่อรวบรวมขอมูล<br />

มี 2 ประเภท<br />

ไดแก การสัมภาษณแบบเปนทางการ (Formal interview) เปนการสัมภาษณที่มีการเตรียมคําถาม<br />

ไวลวงหนา ทั้งคําถามแบบเจาะจงและคําถามแบบปลายเปด<br />

เปนกึ่งการวิจัยเชิงปริมาณ<br />

การ<br />

สัมภาษณอีกประเภทหนึ่ง<br />

คือ การสัมภาษณแบบไมเปนทางการ (Informal interview) เปนการ<br />

สัมภาษณที่เหมาะสําหรับการวิจัยทางมานุษยดุริยางควิทยา<br />

เนื่องจากเปนการสัมภาษณที่ตองใช<br />

ควบคูกับการสังเกตแบบมีสวนรวม<br />

การสัมภาษณแบบไมเปนทางการคือเทคนิคในการคนหา<br />

คําตอบที่แทจริง<br />

(Probe)<br />

งานวิจัยครั้งนี้<br />

ผูวิจัยจึงเลือกใชการสัมภาษณแบบไมเปนทางการเพื่อใหเหมาะสมกับ<br />

วิธีการสังเกตที่เลือกใชในการศึกษา<br />

การใชเครื่องมือเก็บขอมูลภาคสนาม<br />

การเก็บรวบรวมขอมูลภาคสนามในการวิจัยทางมานุษยดุริยางควิทยา มีความ<br />

จําเปนตองใชเครื่องมือและอุปกรณดานโสตทัศนศึกษาชวยเก็บขอมูล<br />

เพื่อใหไดขอมูลที่ไดจากการ<br />

สังเกตและการสัมภาษณมีความสมบูรณ เครื่องมือที่ใชในการเก็บขอมูลภาคสนามในครั้งนี้<br />

มีดังนี้<br />

1. เครื่องมือที่ใชในการบันทึกขอมูล<br />

ใชสําหรับบันทึกขอมูลที่ไดจากการสังเกต<br />

การ<br />

สัมภาษณ บันทึกเหตุการณที่เกิดขึ้นและ<br />

การ Sketch รายละเอียดตาง ๆ ที่เครื่องบันทึกภาพ<br />

56


ไมสามารถบันทึกได เปนตน เครื่องมือที่ใชในการบันทึกขอมูล<br />

ไดแก บันทึกสนาม แบบบันทึก<br />

ขอมูลนักดนตรี แบบบันทึกลักษณะทางกายภาพของเครื่องดนตรี<br />

และแบบบันทึกโนตเพลง<br />

2. เครื่องมือเก็บขอมูลประเภทเสียง<br />

ใชบันทึกขอมูล 2 ประเภท คือ บันทึก<br />

การสัมภาษณบุคคล หรือขอมูลที่ตองการบันทึกอยางละเอียดมากกวาการจดบันทึก<br />

และบันทึก<br />

เนื้อหา<br />

บันทึกแนวทํานอง ระบบเสียงของเครื่องดนตรีที่ใชประกอบการแสดงโนรา<br />

ไดแก<br />

- เครื่องบันทึกเสียงพกพาขนาดเล็ก<br />

(Mini Cassette recorder)<br />

- แถบบันทึกเสียงคาสเสท (Cassette) แบบ Normal<br />

- ไมโครโฟนแบบไดนามิก (Dynamic)<br />

- คอมพิวเตอรแบบพกพา<br />

3. เครื่องมือเก็บขอมูลดวยภาพ<br />

ใชบันทึกภาพตาง ๆ เชน บันทึกการแสดงโนราในโอกาส<br />

ตาง ๆ บันทึกภาพกลุมบุคคลขอมูล<br />

บันทึกเครื่องดนตรีที่ใชประกอบการแสดงโนราชุมพร<br />

เปน<br />

ตน เครื่องมือเก็บขอมูลดวยภาพ<br />

ไดแก<br />

- ภาพนิ่ง<br />

ใชกลองบันทึกภาพเลนสเดี่ยวสะทอนภาพ<br />

(SLR Camera) และกลอง<br />

ดิจิตอล (Digital Camera)<br />

- ภาพเคลื่อนไหว<br />

ใชกลองถายภาพวีดีทัศนดิจิตอล 8 มิลลิเมตร (8 MM. -Digital<br />

Television Camera)<br />

ขั้นวิเคราะหขอมูล<br />

เมื่อเสร็จภารกิจจากการศึกษาภาคสนามแลว<br />

ขั้นตอไป<br />

คือ การนําขอมูลที่ไดมานั้น<br />

จําแนก แยกแยะ จัดระบบ จัดประเภทของขอมูลตามลําดับกอนหลัง แลวตรวจสอบขอมูลเพื่อ<br />

ปองกันความผิดพลาด หลังจากนั้นจึงวิเคราะหขอมูลอยางละเอียดรอบคอบ<br />

วาครอบคลุมเนื้อหา<br />

และวัตถุประสงคมากนอยเพียงใด<br />

การวิเคราะหขอมูลในการศึกษาเรื่องโนราชุมพร:<br />

กรณีศึกษา การแสดงโนราของโรงเรียน<br />

ศรียาภัย จังหวัดชุมพร ขอมูลหลักในการวิเคราะหคือ ขอมูลจากภาคเอกสาร และขอมูลทางดาน<br />

ดนตรี โดยเฉพาะขอมูลทางดนตรีนั้น<br />

จะตองถอดเสียงดนตรีใหเปนโนตเพลง(Transcriptions)<br />

แลวจึงนํามาวิเคราะหตามทฤษฎีทางมานุษยดุริยางวิทยา<br />

57


ขั้นนําเสนอผลการศึกษาวิจัย<br />

การนําเสนอผลงานวิจัยในครั้งนี้<br />

ใชวิธีการเขียนแบบพรรณนาและชาติพันธุวรรณลักษณ<br />

(Ethnographic) คือการถายทอดดนตรีที่อยูในรูปของเสียง<br />

ลงเปนลายลักษณเพื่อใหสามารถรับรู<br />

และเขาใจไดมากยิ่งขึ้น<br />

โดยนําเสนอผลจากการศึกษาในรูปแบบของรายงานการวิจัยและภาพยนตร<br />

สารคดี เรื่อง<br />

“โนราศรียาภัย โรงเรียนศรียาภัย จังหวัดชุมพร” จํานวน 1 เรื่อง<br />

ในการนําเสนอใน<br />

รูปแบบของรายงานการวิจัยแบงเปน 7 บท คือ<br />

บทที่<br />

1 บทนํา<br />

บทที่<br />

2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ<br />

บทที่<br />

3 วิธีการดําเนินการวิจัย<br />

บทที่<br />

4 ประวัติความเปนมา พิธีกรรมและความเชื่อของโนรา<br />

บทที่<br />

5 โนราศรียาภัย<br />

บทที่<br />

6 การวิเคราะหบทเพลงประกอบการแสดงโนรา ของโนราโรงเรียนศรียาภัย<br />

บทที่<br />

7 สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ<br />

เวลาที่ใชในการวิจัย<br />

เวลาที่ใชในการวิจัย<br />

เรื่อง<br />

“โนราชุมพร: กรณีศึกษา การแสดงโนราของโรงเรียนศรียาภัย<br />

จังหวัดชุมพร ” คือ มิถุนายน 2547 - มกราคม 2550<br />

งบประมาณเพื่อการวิจัย<br />

รายละเอียดเหตุผลประกอบการตั้งงบประมาณเพื่อการวิจัย<br />

เรื่อง<br />

โนราชุมพร: กรณีศึกษา<br />

การแสดงโนราของโรงเรียนศรียาภัย จังหวัดชุมพร มีดังนี้<br />

1. ทุนที<br />

่ไดรับจากบัณฑิตวิทยาลัย 15,000 บาท<br />

2. ทุนสวนตัว 50,000 บาท<br />

58


บทที่<br />

4<br />

ประวัติความเปนมา พิธีกรรมและความเชื่อของโนรา<br />

ประวัติความเปนมาของโนรา จากตํานานและนิทานพื้นบาน<br />

การศึกษาเรื่องราวทางประวัติความเปนมาของโนราจากตํานานและนิทานพื้นบานตางๆ<br />

ผูวิจัยไดศึกษาจากเอกสารตาง<br />

ๆ ซึ่งพบตํานานและนิทานพื้นบานที่เกี่ยวของกับโนรามากมาย<br />

โดย<br />

ผูวิจัยขอสรุปสาระสําคัญของตํานานและนิทานพื้นบานโนรา<br />

เพื่อความเขาใจงายดังนี้<br />

ตํานานที่<br />

1<br />

สรุปความจาก หนังสือมโนรานิบาตร ฉบับวัดมัชฌิมาวาส จังหวัดสงขลา โดย สุธิวงศ<br />

(ม.ป.ป.) ไดความจากคําบอกเลาของโนราวัด จันทรเรือง เลาวา<br />

มีเมืองหนึ่งชื่อ<br />

เมืองปญจา เจาเมืองชื่อมัทศิลป<br />

มีชายาชื่อ<br />

กุญเกสี มีโอรสชื่อ<br />

เจา<br />

สืบสาย แลวจึงใหโอรสครองเมืองสืบตอไป แลวจึงแตงตั้งใหเปนเจาพระยาสายฟาฟาด<br />

เจาพระยาสายฟาฟาด มีชายาชื่อ<br />

ศรีดอกไม และมีพี่เลี้ยง<br />

6 คน ชื่อ<br />

นายทอง, นายเหม,<br />

นายบุษป, นายวงศ, นายตั้น<br />

และนายทัน เมื่อทาวมัทศิลปไดมอบราชสมบัติใหโอรสแลว<br />

ก็ไดยก<br />

พี่เลี้ยงทั้ง<br />

6 คนใหไดดีดวย โดยแตงตั้งใหนายทองเปนทหารเอกฝายขวา<br />

ตั้งเปนพระยาหงสทอง<br />

นายเหมเปนทหารเอกฝายซาย ตั้งเปนพระยาหงสเหมราช<br />

นายบุษปเปนปลัดฝายขวา ตั้งเปนขุน<br />

พิจิตรบุษบา นายวงศเปนปลัดฝายขวา ตั้งเปนพระยาไกรยวงศา<br />

นายตั้นใหเปนขุนคลัง<br />

ตั้งเปน<br />

พระยาหริตันปญญา สวนนายทันใหเปนใหญฝายปกครอง ตั้งใหเปนพระยาโกนทันราชา<br />

ตอมาเจาพระยาสายฟาฟาดและนางศรีดอกไมมีธิดาชื่อ<br />

นวลสําลี หาพี่เลี้ยงมาใหรักษา<br />

นางนวลสําลี 4 คน ชื่อ<br />

แมแขนออน, แมเภา, แมเมาคลื่น<br />

และแมยอดตอง เมื ่อนางนวลสําลี<br />

เจริญวัยจนควรมีคูแลว<br />

พระอินทรเกิดมองไปยังเมืองสกุลชุมพู เห็นวาในงานฉลองใด ๆ ก็ตามมี<br />

การละเลนแตเพียง 2 อยางคือ หัวลานชนกัน และนมยานตีเกง พระอินทรจึงคิดจะใหมีนักรําแบบ<br />

ใหมขึ้นในสกุลชุมพู<br />

จึงสั่งใหเทพบุตรที่ถึงคราวจุติ<br />

ไปเกิดในทองนางนวลสําลี แตนางยังไมมี


สวามี จึงดลใหนางอยากกินดอกอุบลชาติ เมื่อนางกินแลวก็เกิดปฏิสนธิขึ้นในครรภ<br />

ตั้งแต<br />

เทพบุตรมาปฏิสนธิแลวแมนางจึงรักแตสนุกสนาน ดานรองรําทําเพลงมีรื่นเริงที่ไหนไปที่นั่น<br />

ยิ่ง<br />

ทองแกมากเทาไหรความตองการสนุกก็ทวีขึ้นตามตัว<br />

จนเจาพระยาสายฟาฟาดตองหามปราม<br />

เพราะกลัวจะทําเสื่อมศักดิ์ศรีชาติกษัตริย<br />

แตพอลับหลังนางยิ่งสนุกยิ่งขึ้น<br />

จนเปนเหตุใหเจาพระยา<br />

สายฟาฟาดคิดเนรเทศ โดยสั่งใหจับนางลอยแพไปเสียจากเมือง<br />

ใหทําแพกวาง 9 ยาว 11 ให<br />

ชาวเมืองไปลากแพลงลอยทะเล ชาวเมืองไปแตแกลงทําเปนลากไมไหว จึงใหวัว 6 ตัวมาลาก วัวก็<br />

ลากไมไหว ใหชาง 12 เชือกมาลาก จึงสามารถลากไปได แลวใหจับนางนวลสําลีกับพี่เลี้ยงลอยแพ<br />

ไปเสีย พระยาหงสทองและพระยาเหมราชเห็นเชนนั้น<br />

ก็วิตกวาแมแตธิดาของเจาพระยาสายฟา<br />

ฟาดเองกระทําผิดเพียงเทานี้ใหทําโทษถึงลอยแพ<br />

ถาเปนตนทําผิดก็ตองถึงประหารชีวิต ทั้งสองจึง<br />

หนีออกจากเมืองไปเสีย<br />

ตอนนางนวลสําลีถูกลอยแพไปนั้น<br />

นางไดคร่ําครวญ<br />

เรียกวาคํา “กาศ 1 ” มีถอยคําดังนี้<br />

“ น 2 แลวและรื่น<br />

จะไหวนางธรณีผึงแผน<br />

เอาหลังมาตั้งเปนแทน<br />

รองบาทมนุษยทั้งหลาย<br />

ชั้นกรวดและดินดํา<br />

ถัดมาชะนําลองอองทราย<br />

นาคเจาเลาและโนสาย 3 ขานใหโนเนโนใน 4<br />

ชาตองทํานองเสมือนวัวชักไถ เพลงครวญคิดมาทรหวนหัวใจ 5<br />

เพลงเสมือนไมลืมใน 6 ลูกไปไมลืมแมนา<br />

รวยรวยยังหอมแปงทา หอมรสแมถาสงกลิ่นแมมาแตไรไร<br />

หอมมาสาแค ครั้นเหลียวไปแลหอมไกล<br />

หอมฟุงสุราลัย<br />

ใครเขาไปในแพแมนา<br />

1<br />

“กาศ” หมายถึง คํารองประกาศ และคํากาศบทนี้<br />

โนราทั่วไปนํามารองเปนบทเชิญครูกอนออกรํา<br />

ทุกครั้ง<br />

(สุธิวงศ, ม.ป.ป.: 378)<br />

2<br />

น ยอมาจาก นโม หมายถึง นมัสการ หรือคําไวผูมีพระคุณ<br />

3<br />

โนสาย บางแหงเปน ฦๅสาย หมายถึง พระราชา<br />

4<br />

โนเนโนใน หมายถึง ครูบาอาจารยทั้งหลาย<br />

5<br />

ทรหวนหัวใจ หมายถึง ปนปวนหัวใจ<br />

ดวยความอาลัยรัก<br />

6<br />

ไมลืมใน หมายถึง ไมลืมชีวิตในวังที่เคยผานมา<br />

ไมลืมญาติมิตรทุกคน<br />

60


ลมใดพัดแลวตั้งเมฆขึ้นมา<br />

ลมวาวดารา 7 พัดโตโดยลมหวันออก<br />

ลูกซักใบแลน สูงไดแตเทียมลูกรอก<br />

บายหัวใหแพออก ไวทาแกลมหลาตัน 8<br />

ลูกชักใบแลนกลางคืน มาเปนกลางวัน<br />

ไกลตลิ่งไกลฝง<br />

เอาเกาะกะชังเปนเรือน<br />

เพื่อนบานนับป<br />

แมนวลสําลีนับเดือน 9<br />

เอาเกาะกะชังเปนเรือน เปนแทนที่นอนนองนา”<br />

หลังจากถูกลอยแพออกจากเมือง แพของนางนวลสําลีลอยมาติดที่เกาะกะชัง<br />

และนางก็<br />

คลอดบุตรที่เกาะนี้เอง<br />

ใหชื่อวา<br />

“อจิตกุมาร” เมื่อเริ่มพูดได<br />

กุมารานอยก็เริ่มหัดเตน<br />

หัดรํา โดยมี<br />

นางนวลสําลีคอยปรบมือใหจังหวะ เมื่อหัดรําจากแมจนเกิดความชํานาญ<br />

ก็เริ่มหัดดวยตัวเอง<br />

เมื่อ<br />

หัดรําเอง ก็ไมสามารถมองห็นวาทารํานั้นสวยงามออนชอยหรือไม<br />

อจิตกุมารจึงไปหัดรําที่ริมน้ํา<br />

เพื่อจะไดดูเงาในน้ํา<br />

จนสามารถดัดแปลงทารําจนเปนทาแมบทได 12 ทา จากที่ริมน้ํานั้นเอง<br />

ดวย<br />

เหตุนั้นอจิตกุมารจึงยกเอาแมคงคา<br />

(แมน้ํา)<br />

เปนครู 10 ที่ทําใหมีทารําที่สวยงามเกิดขึ้น<br />

เมื่อมีชาวเรือเดินทางคาขายผานเกาะกะชัง<br />

ไดทราบขาววาที่เกาะมีการรํา<br />

ก็แวะชม จนเปน<br />

ที่กลาวขานถึงความงดงามออนชอยของการรําแบบใหมนี้<br />

ขาวเรื่องการรําแบบใหมของอจิตกุมารก็<br />

รูถึงเมืองปญจา<br />

เจาพระยาสายฟาฟาดจึงสั่งใหคนมารับอจิตกุมารไปรําใหตนและชาวบานในเมือง<br />

ไดดู อจิตกุมาร นางนวลสําลีและพี่เลี้ยงจึงเดินทางมาเมืองปญจาตามคําเชิญของเจาพระยาสายฟา<br />

ฟาด เรือที่เดินทางมาจากเกาะกะชังถึงเมืองปญจา<br />

ในวันพุธ 11 เวลาบาย เมื่อลงเรือแลว<br />

อจิตกุมารก็<br />

เริ่มทําการรําทันที<br />

ชาวบานเห็นก็ชอบและหลงไหลการรํานั้น<br />

เนื่องดวยการรําของอจิตรกุมารนั้น<br />

ออนชอยสวยงาม และเปนการรําแบบใหม<br />

7<br />

ดารา ในบทไหวครู โนราบางโรงใช “อุตรา” ซึ่งนาจะถูกตองกวา<br />

หมายถึง ลมที่พัดมาทางทิศ<br />

เหนือ<br />

8<br />

ลมหลาตัน หมายถึง ลมสลาตัน<br />

9<br />

เพื่อนบานนับป<br />

มานวลสําสีนับเดือน เหตุที่นางตองนับเดือนเพราะนางกําลังตั้งครรภอยู<br />

10<br />

ในการไหวครูโนรา จึงมีการเอยถึงแมคงคาดวยเสมอ<br />

11<br />

ดวยเหตุนี้เองที่โนราถือกันเปนประเพณีสืบตอกันมาวา<br />

การรําโรงครู รําแกบน การเชิญครูโนรา<br />

มาแกบนตองเริ่มในวันพุธ<br />

ภาษาโนราเรียก วันนี้วา<br />

“วันเขาโรงครู”<br />

61


ตอมานางนวลสําลีและพี่เลี้ยงไดเลาใหอจิตรกุมารทราบวา<br />

แทจริงแลวเมืองปญจานี้คือ<br />

เมืองของพระเจาตา ซึ่งก็คือ<br />

เจาพระยาสายฟาฟาดนั้นเอง<br />

เมื่อทราบเรื่องดังนั้น<br />

อจิตกุมารจึงขอเขา<br />

เฝาพระเจาตาของตน เพื่อถามเรื่องที่ขับไลมารดาของตนออกนอกวังไป<br />

วาชาวเมืองชอบใจหรือไม<br />

พอใจ เจาพระยาสายฟาฟาดก็ตอบวา ไททราบ แตคิดวาชาวบานนาจะไมพอใจ เพราะจาก<br />

เหตุการณที่พระยาหงสทอง<br />

และพระยาหงสเหมราชหนีไป ก็คงเพรราะโกรธเคืองเรื่องนี้อยาง<br />

แนนอน อจิตกุมารจึงถามตอวา ถาพระยาสองคนที่หนีไป<br />

กลับมา จะชุบเลี้ยงตอไปหรือไม<br />

ก็ไดรับ<br />

คําตอบวา จะชุบเลี้ยงตอไป<br />

อจิตกุมารจึงทําพิธีเชิญพระยาทั้งสองใหกลับมา<br />

เรียกพิธีนั้นวา<br />

“โรง<br />

ครู 12 ” ตั้งเครื่องที่<br />

12 มีหมากพลู หัวหมู ขนมเปนตน จากนั้นก็เชิญครูเกา<br />

ๆ ผูเฒาผูแก<br />

ใหมาดู<br />

การรําถวายของอจิตกุมาร และใหกินเครื่องที่นํามาบูชา<br />

ในการเชิญครูนั้น<br />

ก็ไดเชิญพระยาทั้ง<br />

6 ซึ่ง<br />

เปนพี่เลี้ยงเดิมมาและใหกินเครื่องบูชาที่ศาลดวย<br />

ทุกคนที่ไดเห็นการรายรําของอจิตกุมารก็ตางพอใจหลงไหล<br />

และตางนึกเสียดายที่เครื่อง<br />

แตงกายเปนผาเกา ๆ ขาด ๆ ไมสวยงาม จึงมีผูนําผาที่จัดไวเปนเครื่องบูชามาใหอจิตกุมารเปลี่ยน<br />

แทน หลังจากเปลี่ยนผาแลวความสวยงามก็ยิ่งทวีมากขึ้น<br />

เจาพระยาสายฟาฟาดก็ยังถอดเครื้องทรง<br />

กษัตริยที่ทรงอยู<br />

รวมถึงมงกุฏยกใหแกอจิตกุมารดวย 13 เมื่อเจาพระยาสายฟาฟาดเห็นอจิตกุมาร<br />

สวมเครืองทรงแลวก็พอใจอยางมาก จึงตั้งเปนหลักวา<br />

ตอไปใครจะเชิญโนราไปรําที่ใด<br />

ตองปฏิบัต<br />

ใหถูกตองตามประเพณี คือใหมีขันหมากมารับ และใหปลูกโรงรํา มีความกวาง 9 ยาว 11 14 และให<br />

โรงรําเปนเขตกรรมสิทธิ์ของคณะผูรํา<br />

ใครจะบุกรุกเขาไปในโรงรําไมได เมื่ออจิตกุมาร<br />

รําใหดู<br />

ติดตอไปกันไป 3 วัน 3 คืนแลว พอถึงวันศุกร 15 จึงใหครูทั้งหมดกลับจากการชมการรํานั้น<br />

หลัง<br />

เสร็จพิธีตาง ๆ แลวเจาพระยาสายฟาฟาดก็ไดเปลี่ยนชื่อนางนวลสําลี<br />

เปน “แมศรีมาลา 16 ” และ<br />

้ ถือเปนประเพณีของโนราสืบมา ซึ่งเรียกกันวา<br />

โนราเชิญครู ผูวิจัยสันนิษฐานวาคือ<br />

พิธีโนราโรงครูในปจจุบัน<br />

13<br />

จากสาเหตุขางตน ปจจุบันโนราจึงไดแตงกายโดยสวมผายก ไมสวมเสื้อชั้นนอก<br />

มีถุงเทายาว มี<br />

เครื่องทรงอยางกษัตริย<br />

และมีเทริดสวมเปนมงกุฏนั่นเอง<br />

14<br />

ความยาวของโรงรําเทากับ แพที่ลอยนางนวลสําลีเมื่อครั้งถูกลอยแพออกนอกเมือง<br />

15<br />

โนราจึง ถือวาวันศุกรเปนวันสงครู และถือเปนประเพณีที่สืบตอกันมา<br />

16<br />

ในคํากาศครูของโนรา จึงมีประกาศหรือกาศเชิญครูที่วา<br />

“แมศรีมาลา เปนครูตน”<br />

12 พิธีโรงครูนี<br />

62


เปลี่ยนอจิตกุมาร<br />

ใหเปน”เทพสิงสอน 17 ” นอกจากชุดกษัตรยที่เปนเจาพระยาสายฟาฟาดได<br />

พระราชทานศรและขรรคใหเปนเครื่องมือดวย<br />

เมื่อเทพสิงสอนเดินทางไปรําตามที่ตาง<br />

ๆ พระยาทั้งสี่ก็ขอตามไปดวย<br />

โดยพระยาพิจิต<br />

บุษบาและพยะยาไกลวงศาแสดงเปนตัวตลกซึ่งจะสวมหนากาก<br />

18 จึงเรียกวา “พราน” และเรียกตอ<br />

กันมาวา “ขุนพราน พระยาพราน” ครั้นแสดงไปเรื่อย<br />

ๆ เทพสิงสอนก็ขอหยุดพักบาง แตชาวบาน<br />

ไมยอม พระยาโกนทันราชา จึงแสดงการโถมน้ําใหดูแทนไปพลางกอน<br />

จึงไดรับชื่อวา<br />

“พระยาโถม<br />

น้ํา”<br />

สวนพระยาหริตันปญญาแสดงการลุยไฟ ชาวบานจึงเรียกวา “พระยาลุยไฟ” 19<br />

ตอมากลาวถึงเมืองปญจา มีเจาเมืองชื่อทาวแสงอาทิตย<br />

ชายาชื่อกฤษณา<br />

โอรสชื่อศรีสุธน<br />

ซึ่งมีพระชายาชื่อ<br />

นางกาหนมและมีพราน 1 คนที่คอยรับใชชื่อ<br />

บุญสิทธิ์<br />

พรานตองออกลาเนื้อมา<br />

สงทุก 7 วัน ครั้งหนึ่งพรานหาเนื้อไมได<br />

กลับไปพบ นาง 7 คนมาอาบน้ําในสระอโนตัด<br />

20 แทน เมื่อ<br />

ไมมีเนื้อกลับไปจึงคิดจะจับนาง<br />

7 คนนั้นมาถวายแทนสัก<br />

1 คน<br />

นาง 7 คนนั้น<br />

เปนลูกสาวของทาวทุมพร ซึ่งเดิมเปนนายชางในเมืองปญจา<br />

ซึ่งไดรับคําสั่ง<br />

จากทาวแสงอาทิตยใหสรางปราสาทใหสวยที่สุด<br />

เมืองปราสาทเสร็จก็สวยงามยิ่งนัก<br />

แตทาว<br />

แสงอาทิตยกลัววาตอไปทาวทุมพรจะไปสรางปราสาทที่สวยกวาใหผูอื่นจึงคิดฆา<br />

ทาวทุมพรจึงหนี<br />

ออกนอกเมืองไปอยุเมืองไกรลาศ<br />

ทาวทุมพรมีเมียชื่อ<br />

นางเกษณี มีลูกสาว 7 คน ชื่อ<br />

จันทสุหรี ศรี<br />

สุรัต พิม พัด รัชตา วิมมาลาและโนรา จากนั้นทาวทุมพรก็ทําปกและหางใหลูกใชบินไปอาบน้ําที่<br />

สระอโนตัด นางเหลานั้นจึงมีปกและหางนั่นเอง<br />

เมื่อพรานเห็นนางมีปกและหาง<br />

จึงมาขโมยปกและหางเพื่อไมใหบินหนีไปได<br />

แลวไป<br />

ขอรองใหพระยานาคมาชวยจับ เพราะพระยานาคเคยถูกครุฑเฉี่ยว<br />

แลวพรานเคยชวยชีวิตไว<br />

17<br />

เทพสิงสอน หมายถึง การที่เทพยดาลงมาสิงสู<br />

และสั่งสอนวิชารองรําทําเพลงให<br />

18<br />

หนากาก หมายถึง หนาพราน<br />

19<br />

ดวยเหตุนี้<br />

คําประกาศเชิญครูของโนรา จึงตองเอยชื่อขุนพราน<br />

พระยาพราน พระยาโถมน้ําและ<br />

พระยาลุยไฟดวย<br />

20<br />

ผูวิจัยสันนิษฐานวาคือ<br />

สระน้ํา<br />

63


พระยานาคจึงยอมมาชวยจับนางโนราให พรานไดนําไปถวายพระศรีสุธน ซึ่งก็พอใจรับเปนชายา<br />

อีกคนหนึ่งดวย<br />

ในขณะเดียวกันเมืองพระยาจันทรก็ยกทัพมาตีเมืองปญจา พระศรีรสุธนตองออกไปทําศึก<br />

นางกาหนมชายาองคแรกจึงวางแผนกําจัดนางโนรา จึงไปจางใหโหรมาทํานายวา ถาไมฆานาง<br />

โนรา พระศรีสุธนจะไมไดกลับมาที่เมือง<br />

โหรวาตองใหเอาตัวนางโนราไปเผาไฟ นางโนราจึงคิด<br />

หนีโดยขอปกและหางเพื่อขอรําใหแมครั้งสุดทายกอนตาย<br />

และขอใหเปดจาก 7 ตับ เพื่อรําถวาย<br />

เทวดาดวย จากนั้นนางก็เริ่มรํา<br />

ทุกคนตางเพลิดเพลินกับการรําของนาง จนไมทันสังเกตวานางบิน<br />

หนีไปแลว นางโนราหนีกลับเมืองไกรลาศไดสําเร็จ จากนั้นพระสุธนก็ตามไปรับนางกลับมาอยูที่<br />

เมืองตามเดิม 21<br />

ตอมาพรานบุญไดพบกับเทพสิงสอนและพระยาที่เที่ยวรําตามที่ตาง<br />

ๆ จึงขอสมัครเปน<br />

พรานดวย โดยไดรับชื่อวา<br />

“พรานบุญ”<br />

เมื่อเทพสิงสอนอายุครบ<br />

25 ป เจาพระยาสายฟาฟาดก็จะบวชให ในพิธีบวชก็มีพิธีตัดจุก<br />

โหญโต ในงานนั้นพรานบุญจึงนําเรื่องนางโนรามาเลาและดัดแปลงเลนเปนเรื่องราวเลนในงาน<br />

นั้นเอง<br />

เรียกวาการเลนคลองหงส 22<br />

ตํานานที่<br />

2<br />

สรุปความจาก ตํานานและความเปนมาของโนหราหรือโนรา ของ วิเชียร (2523) ไดความ<br />

จากคําบอกเลาของขุนอุปภัมปนรากร กลาวไววา<br />

พระยาสายฟาฟาดเปนกษัตริยครองเมืองๆหนึ่ง<br />

มีมเหสีทรงพระนามวาพระนางศรีมาลา ทั้ง<br />

สองพระองคมีบุตรดวยกันองคหนึ่งทรงพระนามวา<br />

นวลทองสําลี วันหนึ่งหลังจากนางนวลทอง<br />

สําลีตื่นจากบรรทมและ<br />

ยังไมทันที่จะชําระพระพักตรก็ไดไปยืนระลึกถึงใน<br />

สุบินนิมิตที่ไดมีมา<br />

21<br />

ความตอนหลังตอจากนี้<br />

คลายกับที่ปรากฎในนิทานสํานวนอื่น<br />

ๆ<br />

22<br />

คลองหงส คือ การเลนในเรื่องราวตอนที่<br />

พรานบุญจับนางโนรา เพื่อไปถวายพระศรีสุธน<br />

ซึ่งจะ<br />

นิยมเลนในนพิธีโกนจุกนั่นเอง<br />

64


และพระนางก็สามารถจําไดจนหมดสิ้น<br />

จากการทรงยืนนิ่งอยูเชนนั้น<br />

ทําใหพวกสาวใชสงสัยและ<br />

ถามพระนางวา เพราะเหตุอันใดพระนางจึงไมทรงชําระพระพักตร ทั้งๆที่ตื่นบรรทมแลว<br />

พระนาง<br />

ตรัสวา เมื่อคืนนี้ฝนแปลกมาก<br />

ฝนแปลกอยางที่ไมเคยฝนมากอนเลย<br />

แลวพระนางก็ทรงเลาความฝน<br />

นั้นใหพวกสนมฟงวามีเทพธิดามารายรําใหดู<br />

การรายรํานั้น<br />

มีทั้งหมด<br />

12 ทา เปนทารําที่สวยงามมากนาชม<br />

มีเครื่องประโคมดนตรี<br />

คือ<br />

กลอง ทับ โหมง ฉิ่ง<br />

ป<br />

และ แตร การประโคมดนตรีลงกับทารําเปนจังหวะ และบัดนี้พระนางก็ยังจํา<br />

ทาตางๆเหลานั้นได<br />

แลวพระนางนวลทองสําลีก็ทรงรายรําตามแบบที่ในฝนนั้นทันทีเปนที่ชอบใจ<br />

ของพวกสาวใชเปนอยางยิ่ง<br />

และพระนางก็ไดสั่งใหสาวใชทําเครื่องประโคมตามที่เห็นในฝนนั้น<br />

การประโคมก็ทําตามจังหวะการรําเหมือนในฝนทุกอยาง พระนางไดฝกสอนใหพวกสาวใชไดราย<br />

รําเพื่อเปนคูรํากับพระนาง<br />

จากนั้นมีการประโคมเครื่องดนตรีและรายรําเปนที่ครื้นเครงในปราสาท<br />

ของพระนางเปนประจําทุกวัน<br />

อยูมาวันหนึ่งพระนางอยากเสวยเกสรดอกบัวที่ในสระหนาพระราชวัง<br />

จึงรับสั่งใหนาง<br />

สนมไปหักเอามาให เมื่อพระนางไดดอกบัวแลวก็ไดเสวยดอกบัวนั้นจนหมด<br />

กาลตอมาพระนางก็<br />

ทรงครรภ แตการเลนรําโนราก็ยังคงสนุกสนานครื้นเครงกันเปนประจําทุกวันมิไดเวน<br />

อยูมาวัน<br />

หนึ่งการเลนประโคมและความครึกครื้นนี้ทราบไปถึงพระยาสายฟาฟาด<br />

พระองคทรางสงสัยวาดวย<br />

เหตุใดที่ปราสาทของพระธิดาจึงมีการประโคมดนตรีอยูเปนประจํา<br />

พระองคจึงไดเสด็จไปทอด<br />

พระเนตรใหเห็นจริง เมื่อเสด็จไปถึงก็รับสั่งถามพระนางนวลทองสําลีวานางไปไดทารําตางๆนี้มา<br />

จากไหน ใครสอนให พระนางก็กราบบังคมทูลวา ไมมีใครสอนให เปนเทพนิมิต พระองคจึงไดรับ<br />

สั่งใหพระนางรําใหดู<br />

เสียงดนตรีก็ประโคมขึ้นพระนางออกรายรําไปตามทาที่ไดฝน<br />

ขณะที่พระนางรายรําทาตางๆอยูนั้น<br />

พระยาสายฟาฟาดทรงเห็นวาที่ครรภของพระธิดาผิด<br />

สังเกตสงสัยวาจะตั้งครรภ<br />

จึงมีรับสั่งใหหยุดรําแลวทรงถามพระนางวา<br />

นางมีครรภกับใคร รักชอบ<br />

กับใคร ใครเปนสามีของเจา ทั้งๆที่ไมมีผูชายคนใดสามารถเขามาในพระราชฐานไดเลย<br />

พระองค<br />

ทรงถามซ้ําๆ<br />

แบบนี้หลายตอหลายครั้งพระนางก็กราบทูลวา<br />

นางมิไดมีชูสูสาวกับชายใดเลย<br />

เหตุที่<br />

ทรงครรภอาจเปนเพราะเสวยดอกบัวในสระหนาพระราชวังเขาไป พระยาสายฟาฟาดไมทรงเชื่อ<br />

และวามีอยางที่ไหนกินดอกบังเขาไปมีทองขึ<br />

้นมาได เรื่องไมสมจริง<br />

และยังไดกลาวคําบริภาษ<br />

พระธิดาตางๆนานา เชนวา เปนลูกกษัตริยไมรักศักดิ์ศรี<br />

ทําใหอัปยศขายหนา นางนวลทองสําลีก็ได<br />

แตโศกเศราร่ํารอง<br />

65


จากนั้นพระยาสายฟาฟาดก็ทรงสอบสวนโดยรับสั่งใหพวกสาวใชทั้ง<br />

30 คน โดยใหเขาเฝา<br />

ทีละคนและถามวามีผูชายใดเขามาในเขตพระราชฐานนั้นบางหรือไม<br />

นางสนมกํานัลก็กราบบังคม<br />

ทูลเชนเดียวกันวา ไมมีผูชายใดเขาไปเลย<br />

และพระนางก็มิไดรักชอบกับใคร และยืนยันวาพระนาง<br />

ไดเสวยดอกบัวในสระหนาพระราชวังเขาไป พระยาสายฟาฟาดยิ่งทรงพระพิโรธหนักขึ้น<br />

ถึงกับคิด<br />

ที่จะฆาพระธิดาและสาวสนม<br />

แตเนื่องจากพระนางเปนลูกในไสจึงมิไดทรงกระทําเชนนั้น<br />

เพียง<br />

รับสั่งใหอํามาตยขาราชการทําแพ<br />

แลวก็ใหจัดเสบียงอาหารใสแพเรียบรอย เมื่อถึงเวลาก็ลอยแพ<br />

พระนางและสนมทั้ง<br />

30 ไปในทะเล ขณะที่แพลอยไปนั้นลมไดพัดแพไปติดที่เกาะกะชัง<br />

เปนอันวา<br />

พระนางและสาวใชรอดตายจากธรรมชาติดวยอํานาจบารมีของเด็กในครรภ ที่เกาะกะชังเทวดาได<br />

เนรมิตบรรณศาลาใหอยูอาศัย<br />

พวกสาวใชก็ปลูกฟกแฟงแตงกวากินกันไปตามเรื่องพอดํารงชีวิตอยู<br />

ได<br />

สวนนางนวลทองสําลีครรภก็ยิ่งแกขึ้นๆทุกวัน<br />

จนประสูติพระโอรสและใหนามวา ด.ช.<br />

นอย (ชื่อสมมุติ)<br />

พระนางและพวกสนมอยูที่นั่นจน<br />

ด.ช.นอยอายุได 10 ป ในชวงเวลานั้น<br />

ด.ช.นอย<br />

ไดหัดการรายรําโนราจนเปนที่ชํานาญดี<br />

และตอมา ด.ช.นอยก็ถามแมวาที่นี่ไมมีผูชายเลยมีแตผูหญิง<br />

คนอื่นๆนอกจากนี้ไมมี<br />

แลวแมเองแตกอนเคยอยูที่ไหน<br />

พระนางนวลทองสําลีก็เลาเรื ่องแตหนหลัง<br />

ใหฟงแตตนจนจบ ด.ช.นอยก็อยากไปเมืองของพระอัยกาจึงถามวาจะไปไดโดยวิธีใด แมจึงบอกวา<br />

เมื่อลูกอยากไปแมไมหามแตแมเองไมไปตลอดชีวิตนี้ลูกจะไปก็จงเอาผาผูกไมแลวปกยกเปนธงขึ้น<br />

เรือผานมาเขาจะแวะรับ ด.ช.นอยก็ทําตามและเรือก็ไดมารับไปทางเมืองพระอัยกา<br />

เมื่อไปถึงทาเรือซึ่งยังไกลกับพระราชวังมาก<br />

ด.ช.นอยก็ไดเที่ยวรําโนราไปเรื่อย<br />

เนื่องจาก<br />

โนราเปนของแปลกและไมเคยมีใครเคยเห็นมากอนเลย กอปรดวยการรําก็ชดชอยนาดู คนจึงไปดู<br />

กันมาก ยิ่งนานคนก็ยิ่งชวนกันไปดูมากขึ้นทุกที<br />

จนขาวนี้เลื่องลือไปถึงพระราชวัง<br />

พระยาสายฟา<br />

ฟาดทรงทราบแลวก็เรียกประชาชนมาถามวา โนราเปนอยางไร เปนคนหรือสัตว ดีมากเทียวหรือที่<br />

คนนิยมไปดูกันมาก แลวในที่สุดพระองคก็ทรงปลอมพระองคไปในกลุมชนเพื่อไปทอดพระเนตร<br />

โนรา จากการที่พระองคไดทอด<br />

พระเนตร นั้นสังเกตเห็นวา<br />

ด.ช.นอยมีหนาตาละมายคลายคลึงกับ<br />

พระธิดา ซึ่งไดลอยแพไปเมื่อ<br />

10 กวาปมาแลว จึงรับสั่งใหหา<br />

พระองคตรัสถามวา เจาเปนลูกเตา<br />

เหลาใคร ด.ช.ก็ตอบวา แมชื่อนางนวลทองสําลี<br />

สวนพอนั้นไมทราบ<br />

แมเลาวาไดตั้งครรภเพราะกิน<br />

ดอกบัวพระองคเห็นวาเรื่องราวตรงกัน<br />

จึงพา ด.ช.นอยและคณะโนราเขาไปในพระราชวัง<br />

66


ตอนนี้คนอื้อฉาววิพากษวิจารณกันตางๆนานาวา<br />

ตอไปจะไมไดดูโนราอีกแลว เพราะนาย<br />

จับไปแลว พระยาสายฟาฟาดไมทรงฟงคําวิพากษวิจารณใดๆทั้งสิ้น<br />

คงพาโนราไปพระราชวังทา<br />

เดียว (ตอนนี้พระยาสายฟาฟาดทรงทราบแลววา<br />

ด.ช.นอยคือหลาน หรือพระราชนัดดา สวน ด.ช.<br />

นอยนั้นรูมาจากแมกอนแลว<br />

เปนอันวาตางก็รูกันทั้งสองฝาย)<br />

เมื่อถึงพระราชวัง<br />

พระยาสายฟาฟาดก็<br />

ทรงถามวา แมเจาเดี๋ยวนี้อยูที่ไหน<br />

ด.ช.นอยทราบทูลวาอยูบนเกาะกะชัง<br />

เมื่อพระองคทรงทราบเชนนั้น<br />

จึงมีพระบัญชาใหอํามาตยจัดเรือไปรับ เมื่ออํามาตยไปถึง<br />

และเชิญใหพระนางเสด็จกลับพระนครตามพระบัญชา แตนางปฏิเสธวาพระราชบิดาไดตั้งใจจะ<br />

ลอยแพไปเพื่อใหตาย<br />

เหตุไฉนจึงมาเชิญตัวกลับเลา พระนางจึงสั่งกับอํามาตยวาชาตินี้จะไมขอไป<br />

เหยียบยางผืนแผนดินของพระราชบิดาอีก และจะขอตายอยูที่นี่<br />

พวกอํามาตยจึงจําตองกลับไป เมื่อ<br />

กลับมาถึงพระนครแลวก็กราบทูลเรื่องราวใหพระยาสายฟาฟาดทราบ<br />

พระยาสายฟาฟาดจึงมีพระ<br />

บัญชาใหจัดเรือไปรับอีกครั้งหนึ่งและพรอมรับสั่งวาถาเชิญเสด็จไมกลับก็ใหจับมัดมาใหได<br />

เมื่อ<br />

พวกอํามาตยกลับไปเกาะกะชังอีกและไดเชิญเสด็จแตโดยดีไมยอมกลับ พวกอํามาตยก็จับพระนาง<br />

มัดขึ้นเรือ<br />

23 แลวพามาเฝาพระราชบิดา เมื่อเรือมาถึงจะเขาปากน้ําก็มีจระเขขึ้นลอยขวางปากน้ําอยู<br />

ซึ่งจระเขสมัยกอนชุกชุมมากทุกนานน้ํา<br />

เปนที่เกรงกลัวของชาวเรือทั่วไป<br />

พวกลูกเรือก็ทําพิธีแทง<br />

จระเข 24 จนถึงแกความตายแลวเรือจึงเขาปากน้ําได<br />

เมื่อนํานางนวลทองสําลีเขาเฝาสมเด็จพระ<br />

ราชบิดาแลว พระราชบิดาไดทรงขอโทษในเรื่องที่ไดกระทําไปในอดีต<br />

ขอใหพระนางลืมเรื่องเกาๆ<br />

เสียแลวยกโทษใหพระองคดวย จากนั้นทําขวัญ<br />

และจัดใหมีมหรสพ 7 วัน 7 คืน ในการมหรสพนี้ก็<br />

ไดจัดใหมีการรําโนราดวย พระยาสายฟาฟาดไดพระราชทานเครื่องทรง<br />

ซึ่งคลายคลึงกับของ<br />

กษัตริยใหกับพระราชนัดดา เพื ่อรําทรงเครื่องในงานนี้<br />

ในการนี้พระยาสายฟาฟาดก็ไดพระราชทาน<br />

บรรดาศักดิ์ลูกของนางนวลทองสําลี<br />

(เจาชายนอย) เปน ขุนศรีศรัทธา<br />

เครื่องตนที่พระราชทานคือ<br />

เทริด กําไลแขน ปนเหนง<br />

สังวาล พาดเฉียง 2 ขาง ปกนกแอน<br />

หางหงส ฯลฯ ซึ่งลวนแตเปนเครื่องทรงของกษัตริยทั้งสิ้น<br />

จะเห็นไดวาโนราแตเดิมก็เปนเชื้อพระ<br />

วงศ ขุนศรีศรัทธาไดสอนรําโนราใหผูอื่นเปนการถายนาฏศิลปแบบโนราไปเรื่อยๆ<br />

ทั้งนี้ในพระ<br />

23<br />

ตอนนี้ในการเลนโนราในสมัยหลังจึงมีการรําเรียกวาคลองหงส<br />

คือรําเพื่อจับนางนวลทองสําลี<br />

เปนการรายรําที่นาดูมาก<br />

(วิเชียร, 2523: 77)<br />

24<br />

ผูวิจัยสันนิษฐานวา<br />

พิธีแทงจระเขในเรื่องราวตอนนี้<br />

ไดถูกนํามาเปนการรํา “แทงเข” ของโนรา<br />

คณะตง ๆ ในปจจุบัน<br />

67


บรมราชูปถัมภของสมเด็จพระอัยกาโนราจึงไดแพรหลายตอไป และตอมาหลายชั่วคนจนถึง<br />

ปจจุบัน<br />

ตํานานที่<br />

3<br />

อรุณ (2540) ไดกลาวไววา มโนหรา ไมไดมีกําเนิดมาจากชวา แตเกิดในประเทศไทยนี้<br />

เอง ซึ่งผูวิจัยขอสรุปความ<br />

ดังนี้<br />

มโนหรามีตนกําเนิดที่จังหวัดพัทลุง<br />

โดยกษัตริยหรือเจาเมืองพัทลุงในสมัยโบราณ ชื่อ<br />

ทาวโกสินทร หรือพระเจาสายฟาฟาด มีพระมเหสีชื่อ<br />

อินกรณี ครองเมืองพัทลุง ครั้งสมัยตั้งเมืองอยู<br />

ที ่เมืองเกา ซึ่งเรียกวา<br />

บางงแก (ระหวางป พ.ศ.1848 - 2051) กษัตริยพระองคนี้มีโอรสชื่อศรีสิงหร<br />

หรือเทพสิงหร เปนเจาฟาที่สนพระทัยในเรื่องการฟอนรํา<br />

ไมสนใจในงานราชการ งานเมืองเหมือน<br />

โอรสของทาวพญากษัตริยทั่วไป<br />

สรางความอับอายใหแกพระราชบิดาอยางยิ่ง<br />

ดังบทไหวครูของ<br />

โนราที่วา<br />

“ทุกเชาทุกค่ํา<br />

เที่ยวรําเที่ยวรอน<br />

บิดามารดร อาวรณอับอาย” พระราชบิดาจึงทรงลง<br />

อาญาโดยวิธีลอยแพ พรอมดวยสาวสรรกํานัลใน 12 คน ดังบทไหวครูที่วา<br />

สาวชาวชะแม พรอมสิบสองคน<br />

มาดวยหนาใย ที่ไปกลางหน<br />

บังเกิดลมฝน มืดมนเมฆัง<br />

คลื่นซัดมิ่งมิตร<br />

ไปติดเกาะสีชัง<br />

สาวนอยรอยชั่ง<br />

ฯลฯ<br />

เคืองคังบิดร<br />

จับระบํารําฟอน อยูที่ดอนเกาะใหญ<br />

ขาวโพดสาลี มีมากถมไป<br />

เทวาเทพไท ตามไปรักษา<br />

จากบทไหวครูมโนหรา ซึ่งมโนหราทุกโรงวาไวตรงกันเชนนี้<br />

ทําใหเราทราบวา บทไหวครู<br />

นี้ตองเปนที่มาหรือประวัติของมโนหราอยางแนนอน<br />

และเมื่อมีความจริงวา<br />

ทาวเทพสิงหร หรือศรี<br />

สิงหร ถูกเจาเมืองพัทลุงผูเปนพระราชบิดานําไปลอยแพ<br />

แพของทาวศรีสิงหรลอยไปติดเกาะสีชัง<br />

68


ทําใหเรานึกถึงเกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี ซึ่งสันนิษฐานตามฐานะทางภูมิศาสตรและจะเปนไปไมได<br />

เลย ชื่อนี้จะไปพองกับเกาะใกลๆ<br />

เมืองพัทลุงก็เปนได<br />

นักวิชาการผูทรงคุณความรูและสนใจประวัติความเปนมาของมโนหรา<br />

เชน คุณอดิศักดิ์<br />

ทองบุญ ไดเขียนไววา “ความจริงเกาะสีชังที่วานี้<br />

คือเกาะกะชัง อยูในทะเลสาบสงขลา<br />

เขตจังหวัด<br />

พัทลุง ถาเดินทางจากจังหวัดสงขลาไปตามทะเลสาบ เมื่อพนอําเภอปากพะยูนไปแลว<br />

ก็จะถึงเกาะ<br />

กะชัง ที่บัดนี้เรียกวาเกาะใหญ”<br />

ซึ่งก็ตรงกับบทไหรครูโบร่ําโบราณของมโนหราทุกประการ<br />

เมื่อเจาชายศรีสิงหร<br />

ราชโอรสของเจาเมืองพัทลุง เที่ยวฟอนรําจนเปนที่นิยมชื่นชมของ<br />

อาณาราษฎรทั่วไป<br />

ขาวนี้ก็รูมาถึงราชสํานักเมืองพัทลุง<br />

ดังกลอนไหวครูที่มีวา<br />

<br />

รูถึงพอคา<br />

รับพาเขาเมือง<br />

ฝายบิดามารตุ ประทานใหเครื่อง<br />

สําหรับเจาเมือง เปลื้องใหทันที<br />

ตั้งแตนั้นมา<br />

เรียกวาชาตรี<br />

ประวัติวามี เทานี้แหละหนา<br />

เมื่อพระราชบิดาไดพระราชทานเครื่องทรงสําหรับกษัตริยใหสวมใสและยังเปดโอกาสให<br />

ประชาชนไดชมการแสดงทั่วไป<br />

ทําใหมดนหราไดรับความนิยมจากประชาชนพลเมืองอยางสูงสุด<br />

ในทุกหัวเมืองปกษใต จนมีการฝกหัดฟอนรําแบบนี้แพรหลายทั่วไป<br />

ตํานานที่<br />

4<br />

สรุปความจาก หนังสือมโนรานิบาตร ฉบับวัดมัชฌิมาวาส จังหวัดสงขลา โดย สุธิวงศ<br />

(ม.ป.ป.) ไดความเรื่องนางมโนหราที่ปรากฏในรูปของนิทานชาวบานโดยนางอายเนียว<br />

นิคม เลาวา<br />

เจาเมืองไกรลาสมีลูกสาว 7 คน วันหนึ่งลงมาเห็นสระในปาหิมพานต<br />

จึงไปทําปกและหาง<br />

เพื่อใหลูกลงมาเลนน้ําไดทุกวัน<br />

วันหนึ่งมีนายพรานไปเห็นเขา<br />

จึงมาบอกพระสุธน พระสุธนจึงสั่ง<br />

ใหไปเอามาใหได วันนั้นเองที่แมของนางโนราฝนวาฟนกรามซี่สุดทายหักออกจากปาก<br />

จึงใหโหร<br />

ทํานาย โหรทํานายวา ลูกคนสุดทองจะตองจากบานจากเมือง แมเชื่อตามคําทํานายจึงนําปกและ<br />

69


หางของนางโนราไปเก็บไว เมื่อถึงเวลาที่จะลงไปเลนน้ํา<br />

พี่ของนางโนราก็บอกวาแมนําปกและ<br />

หางไปซอนไวขางที่นอนของแม<br />

และบอกวาเวลาแมนอนนั้นแมจะลืมตา<br />

ถาแมหลับตาหมายถึงแม<br />

นั้นตื่นแลว<br />

เมื่อนางโนราเห็นแมลืมตาจึงกลาที่จะเขาไปนําปกออกมาแลวลงมาเลนน้ํากับพี่<br />

ๆ<br />

ดังเดิม เมื่อนางโนรามาเลนน้ํา<br />

นายพรานก็เขามาจะจับ โดยใชนาคลงไปมัดนางโนราไว นางนอง<br />

เรียกใหพี่ชวยแตก็ชวยไมได<br />

นายพรานจึงจับนางโนราไปถวายพระสุธนได<br />

ตอมาพระสุธนตองออกไปรบกับเจาเมืองยาจันทร เพราะเจาเมืองนั้นไมยอมสงสวย<br />

ดอกไม แตพอไปถึงเจาเมืองยาจันทรยกลูกสาวให พระสุธนจึงอยูที่เมืองนั้นไมยอมกลับเมือง<br />

เมื่อพระสุธนไมอยูนั้น<br />

แมของพระสุธนไดฝนวาในเมืองมีไฟ 3 กอง จึงใหโหรทํานาย<br />

ทานโหรเห็นวาเปนการดีที่จะไดกําจัดนางโนราออกจากเมือง<br />

เพื่อใหลูกสาวของตนที่เปนสนมของ<br />

พระสนมอยูกอนนั้นไดดีกวานางโนรา<br />

จึงทํานายวาไฟสามกองนั้นคือ<br />

ไฟกินบานกินเมือง ทางแก<br />

คือตองเอานางโนราไปบูชาไฟ แมของพระสุธนจึงสั่งใหจันางโนราไปบูชาไฟเพื่อแกความฝน<br />

เมื่อ<br />

ถึงเวลาบูชาไฟ นางโนราจึงออกอุบายวาอยากรําใหกับแมของพระสุธนดูเปนครั้งสุดทาย<br />

แมก็ให<br />

รํา นางก็บอกตอวา ถานางมีปกและนางจะรําไดสวยมากกวาเดิม แมก็นําปกและหางมาให จาง<br />

โนรายังรองขอเพิ่มวา<br />

ขอใหเปดจาก 7 ตับ เพื่อใหนางไดรําถวายเทวดาดวย<br />

แมก็ยินดี ในขณะที่<br />

นางโนรากําลังรํานั่นเอง<br />

นางโนราซึ่งมีปกและหางแลวก็บินหนีกลับไปเขาไกรลาสได<br />

เวลาตอมา พระสุธนไดกลับมาจากเมืองยาจันทร ไมพบนางโนรา จึงชวนนายพรานออก<br />

ตามหา พอไปถึงกลางทางพบแมน้ําก็ใหนายพรานกลับไป<br />

ฝายพระสุธนเมื่อคิดจะขามแมน้ํา<br />

ก็มี<br />

แพลอยมา พอนั่งแพ<br />

ก็มีบันไดหอยลงมา พระสุธนก็ไตขึ้นไปก็เจอรังนก<br />

ลูกนกเห็นพระสุธนก็<br />

ใหเขามาแอบในรัง ถาอยูขางนอกถาแมมาเห็นจะเปนอันตรายได<br />

พระสุธนถามลูกนกวาแมไป<br />

ไหน ลูกนกวา แมไปกินควายเมืองไกรลาส ที่โนนมีพิธีเอาน้ํารดหัวนางโนรา<br />

เมื่อแมกลับมา<br />

ลูก<br />

นกก็ใหพระสุธนแปลงเปนตัวไร เพื่อติดตามแมไปที่เขาไกรลาส<br />

เมื่อไปถึงเขาไกรลาสพระสุธน<br />

เห็นคนมาตักน้ําไปใหนางโนรา<br />

พระสุธรจึงรายมนตร ทําใหคนที่มาตักน้ํายกกระออมน้ําขึ้น<br />

จึง<br />

ตองใหพระสุธนไปชวยยก เวลานั้นเองพระสุธนก็ถอดแหวนที่นางราเคยใหใสในกระออมน้ํานั้น<br />

ไปดวย พอถึงเวลาที่เทน้ํารดหัวนางโนรา<br />

แหวนก็เขาไปในเขาไปในมืองนางโนรา นางจึงรูวาพระ<br />

สุธนมาที่เขาไกรลาส<br />

70


แตถึงแมวาพระสุธนจะเขามาในเมืองไกรลาสไดแลวนั้น<br />

เจาเมืองไกรลาส พอของนาง<br />

โนราก็ยังไมยอมรับ แตจะยอมใหแตงงานกันผานการทดสอบตามที่ตองการเสียกอน<br />

การทดสอบอยางแรก เจาเมืองไกรลาสใหลูกสาวทั้ง<br />

7 คน เขาไปอยูในหอง<br />

และใหยื่น<br />

ออกมาแตนิ้วเพื่อใหพระสุธนทายใหถูกวา<br />

นิ้วมือนิ้วใด<br />

เปนของนางโนรา เทวดาก็ชวยโดยให<br />

แมลงวันทองไปเกาะที่นิ้วนางโนรา<br />

พระสุธนก็ทายไดถูกตอง<br />

อยางที่สอง<br />

พระสุธนตองเขาไปถางปาเพื่อทําไร<br />

โดยใหอุปกรณเปนมีดพราตะกั่วเพียง<br />

อยางเดียว แตชางก็มาชวยเดินย่ําในที่ของพระสุธนให<br />

แลวเอาไฟจุดกาปากเหล็กจุด หวานงาลงไป<br />

แลวใหเก็บงาที่หวานนั้น<br />

นกตาง ๆ ก็เขามาชวย แตก็มีนกเขาที่แอบอมงาไว<br />

จึงไมไดตามที่<br />

ตองการ พระสุธนจึงสักคอนกเขาใหคายออกมา (นกเขาจึงมีลายที่คอจนถึงทุกวันนั้น)<br />

พอเก็บงาน<br />

เสร็จก็ใหนําไปหีบน้ํามัน<br />

เมื่อหีบก็ใหเอาไปเททิ้ง<br />

เมื่อพระสุธนนําไปเทจริง<br />

ๆ เจาเมืองก็หาวา<br />

ประชด ใหไปเก็บงากลับมา แลวใหเอางาไปลางแทน ขณะเอางาไปลาง ปลาแกมช้ําก็แอบอมงาไว<br />

พระสุธนจึงตบใหปลาคายออกมา (ปลานั้นจึงไดแกมช้ํามาจนถึงวันนี้)<br />

เมื่อภาระกิจเสร็จสิ้น<br />

พระสุธนก็ยังไมผานการทดสอบจึงกลับเมืองของตน แลวมาสราง<br />

บานอยูนอกเมือง<br />

ในคืนนั้นเอง<br />

เทวดาก็พานางโนรามาหาพระสุธน แลวยังนําปราสาทมาตั้งใหที่<br />

เมืองเดิม พอเชาแมพระสุธนก็เห็นปราสาทมาตั้งนอกเมือง<br />

จึงใหพรานไปดู จึงรูวาพระสุธนและ<br />

นางโนรากลับมาแลว จากนั้นทั้งสองก็อยูที่ปราสาทนั้นอยางมีความสุข<br />

ตํานานที่<br />

5<br />

จากการศึกษาเรื่องตํานานโนรา<br />

พบวาในเพลงกลอมเด็กปกษใต มีเรื่องนางมโนหรา<br />

ปรากฏอยูในหลายบทเพลง<br />

ดังที่<br />

สุธิวงศ (ม.ป.ป.) ไดกลาวถึงไววา<br />

เพลงกลอมเด็กปกษใต กลาวถึงเรื่องนางมโนหราหลายสํานวนและหลายบท<br />

แสดงวา<br />

เรื่องนี้แพรหลายมากในปกษใต<br />

บทเพลงมีเชน<br />

๑. คือนองเหอ นองคือนางโนรา<br />

อาบน้ําในสระ<br />

เจ็ดคนพี่นอง<br />

นายพรานแลเห็น ซาบซาบมองมอง<br />

71


เจ็ดคนพี่นอง<br />

คลองเอาสุดทองเพื่อน<br />

๒. คือนองเหอ นองคือนางโนรา<br />

เจ็ดองคลงมา ลงเลนน้ํากลางสระสรง<br />

นายพรานจับไดเหอ เอาไปถวายพระองค<br />

ลงเลนน้ํากลางสระสรง<br />

หลงดวยนายพรานปา<br />

๓. ลมพัดเหอ พัดมาคึกคึก<br />

พระศรีสุธนไปรบศึก รําลึกถึงนางโนรา<br />

สนมเมียตนยอดสรอย ไมรักเทากอยเจาเกศา<br />

รักนางโนรา เปยบาวังเวงใจ<br />

๔. ฟาลั่นเหอ<br />

ลั่นมาคึกคึก<br />

พระศรีสุธนไปรบศึก รบเมืองพระยาจันทร<br />

พระยาจันทรยกโลกสาว 25 ให ตั้งชื่อเจาศรีดอกไมผูทรงธรรม<br />

บิดามารดาอยูขางหลัง ชวนนางโนราไปชาไฟ<br />

อดขาวอดน้ํา<br />

นางงามผอมไผ<br />

เอานางโนราไปชาไฟ สุกใจเมื่อภายหลัง<br />

๕. ยามเห็นเหอ แลเห็นนางโนรามันรอนไป<br />

จับปลายไทรใหญ สั่งความไวพี่ศรีสุธน<br />

เชิญอยูพอผานเกลา เมียรักจักลาทาวขึ้นเมืองบน<br />

สั่งความไวพี่ศรีสุธน<br />

ทิ้งเมียไวคนเดียว<br />

๖. นางโนราเหอ ฉายาบินหนีแมผัวไป<br />

ไปพักตนไทร สั่งความพระศรีสุธน<br />

นองอยูไมได<br />

ขอลาพี่ชายไปเมืองบน<br />

สั่งความพระศรีสุธน<br />

ทิ้งเมียไวคนเดียว<br />

25 โลกสาว หมายถึง ลูกสาว<br />

72


ตํานานที่<br />

6<br />

๗. นางโนราเหอ นางโนรา<br />

พระศรีสุธนตามมา ถึงเมืองไกรลาส<br />

ทานใชใหขุดบอ ทานใชใหหลอปราสาท<br />

เสดสาทายาด หวางจะไดครองนวลนอง<br />

จากการศึกษาเอกสารประกอบการเรียนการสอนและการเผยแพร ของศูนยการเรียนรูภูมิ<br />

ปญญาทองถิ่น<br />

จังหวัดชุมพร พบบทกลอนลักษณะกลอนเลาเรื่อง<br />

ของ นายซอน ศิวายพราหมณ<br />

ศึกษาธิการจังหวัดสุราษฎรธานี (พ.ศ. 2508) ความวา<br />

กอเกื้อกําเนิด<br />

คราเกิดชาตรี<br />

แตปางหลังยังมี เมื่อคราวครั้งตั้งดิน<br />

บิดาของเจา ชื่อทาวเทาโกสินทร<br />

มารดายุพิน ชื่อนางอินทรกรณีย<br />

ครองเมืองพัทลุง เปนกรุงธานี<br />

บุตรชายทานมี ชื่อศรีสิงหรณ<br />

ทุกเชาทุกค่ํา<br />

เที่ยวรําเที่ยวรอน<br />

บิดามารดร อาวรณอับอาย<br />

คิดอานไมถูก เพราะลูกเปนชาย<br />

หามุตรสุดสาย ไมฟงพอแม<br />

คิดอานไมถูก จึงเอาลูกลอยแพ<br />

สาวชาวชะแม พรอมสิบสองคน<br />

มาดวยหนาใย ที่ในกลางหน<br />

บังเกิดลมฝน มืดมนเมฆัง<br />

คลื่นซัดมิ่งมิตร<br />

ไปติดเกาะสีชัง<br />

สาวนอยรอยชั่ง<br />

เคืองคั่งบิดา<br />

จับระบํารํารอน ที่ดอนเกาะใหญ<br />

ขาวโพดสาลี มากมีถมไป<br />

73


หลักฐานที่<br />

1<br />

เทวาเทพไท ตามไปรักษา<br />

รูถึงพอคา<br />

รับพาเขาเมือง<br />

ฝายขางปตุรงค ประทานใหเครื่อง<br />

สําหรับเจาเมือง เปลื้องใหทันที<br />

ตั้งแตนั้นมา<br />

เรียกวาชาตรี<br />

ประวัติวามี เทานี้แหละหนา<br />

การศึกษาประวัติความเปนมาของโนรา จากหลักฐานทางประวัติศาสตร<br />

จากหนังสือบทละครครั้งกรุงเกา<br />

เรื่อง<br />

นางมโนหราและสังขทอง 26 โดย สมเด็จฯกรม<br />

พระยาดํารงราชานุภาพไดอธิบายเรื่องบทละคอนครั้งกรุงเกา<br />

(2512) ไววา<br />

... บทละคอนเรื่องนางมโนหรา<br />

ที่พิมพไวขางตนนั้นแปลกไปอีกอยางหนึ่ง<br />

ทานผูอานคงจะ<br />

สังเกตเห็นไดวาไมเปนกลอนแปดแท เชนบทละคอนสามัญแตงปนกาพยอยางที่ละคอน<br />

“โนรา” มณฑลนครศรีธรรมราช หรือที่เราเรียกกันวา<br />

ละครชาตรี รองบทอยางนี้<br />

ในขอนี้<br />

มีประหลาดอยางหนึ่งที่ชาวนครศรีธรรมราช<br />

เรียกละคอนชาตรีวา “โนรา” ถาเราจะไป<br />

เรียกวา “ละคอน” ก็ไมเขาใจ อันคําวา “โนรา” นี้<br />

คงมาจากชื่อนางมโนหราในบทละคอน<br />

เปนแนไมมีที่สงสัย<br />

เพราะวิสัยชาวลครพูด ยอมตัดตัวลหุที่อยูตนคําเสีย<br />

เชน ตะเภา พูดแต<br />

วา “เภา” สตางคพูดวา “ตางค” เปนตน อยูจนทุกวันนี้<br />

อนึ่งละคอนตัวตลกที่เลนโนราก็ยัง<br />

เรียกวา “พราน” อันเปนตัวสําคัญในเรื่องนางมโนหรา<br />

จึงเปนหลักฐานมั่นคงดังกลาวมานี้<br />

ตํานานของละคอนโนรามีในคําไหวครูของเขา วาครูเดิมชื่อขุนศรัทธา<br />

อยูในกรุงศรี<br />

อยุธยา มีความผิดตองราชทัณฑใหลอยแพไปเสียจากพระนคร แพขุนศรัทธาลอยออก<br />

ปากน้ําไปติดอยูที่เกาะสีชัง<br />

พวกชาวเรือทะเลพบ จึงรับไปสงขึ้นที่เมืองนครศรีธรรมราช<br />

ขุนศรัทธาจึงไดไปเปนครูฝกหัดโนราใหมีขึ้นที่เมืองนครเปนเดิมมา<br />

ตามตํานานวามาดังนี ้<br />

26<br />

ตีพิมพครั้งแรกเมื่อ<br />

พ.ศ. 2462 เนื่องในงานฉลองสโมสรนายทหารบก<br />

กองพลที่<br />

3 ของผู<br />

บัญชาการกองพลทหารบกที่<br />

3 พระนครศรีอยุธยา<br />

74


หลักฐานที่<br />

2<br />

พิเคราะหขอความทั้งปวงที่กลาวมา<br />

นาสันนิษฐานวา บทละคอนเรื่องนางมโนหราที่พิมพ<br />

ในสมุดเลมนี้<br />

เปบบทละคอนชั้นแรกในกรุงเกา<br />

คงชอบเลนกันเปนพื้นเมือง<br />

ตาขุนศรัทธา<br />

เปนตัวละคอนดีมีชื่อเสียงในการเลนเรื่องนางมโนหรา<br />

ครั้งถูกเนรเทศออกไปอยูเมือง<br />

นครศรีธรรมราช ไปหัดใหชาวลครเลนตามแบบเกาเมื่อกระนั้น<br />

ใหเลนเรื่องนางมโนหราที่<br />

ตัวชํานาญ ชาวลครจึงเลยเรียนละคอนวา “โนรา” จะเปนดังนี้ดอกกระมัง<br />

ความสันนิษฐาน<br />

นี้ ขาพเจาไมยืนยันวาจะถูกตอง วาแตตามที่คิดเห็น...<br />

จาก สาสนสมเด็จ 27 เลมที่<br />

21 ซึ่งสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ<br />

เจาฟากรมพระยานริศรานุวัด<br />

ติวงศ และสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ (2515) ไดกลาวไววา<br />

…พวกละครชาตรีที่อยูหนาวังวรดิศนั้น<br />

มีเรื่องตํานานปรากฏในหนังสือพงศาวดารรัชกาล<br />

ที่<br />

3 วาเมื่อ<br />

พ.ศ.2375 สมเด็จเจาพระยาบรมมหาประยูรวงศ เมื่อยังเปนเจาพระยาคลัง<br />

ยก<br />

กองทัพไปปราบขบถเมืองไทรบุรีตั้งกองทัพหลวงอยู<br />

ณ เมืองสงขลา เวลานั้นกําลังเกิด<br />

ทุพภิกขภัย 28 ในแขวงเมืองพัทลุงและเมืองนครศรีธรรมราช มีพวกราษฎรที่อดอยากพากัน<br />

ยอมเปนบาวขอขาวนายทัพนายกองกิน แลวเลยติดตามเขามากรุงเทพฯ เปนอันมาก ที่ใน<br />

หนังสือพงศาวดารวา “ยอมเปนบาว” นั้น<br />

ที่จริง<br />

“ยอมเปนทาส” เพราะเขาในลักษณะทาส<br />

7 จําพวก ตามกฎหมาย คือ 1 ทาสสินไถ 2 ทาสลูกเกิดในเรือนเบี้ย<br />

3 ทาสรับมรดก 4<br />

ทาสมีผูให<br />

5 ทาสที่ชวยพนอาญา<br />

6 ทาสที่ชวยรอดจากทุพภิกภัย<br />

7 ทาสเชลยศึก<br />

เพราะฉะนั้นพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวจึงทรงโปรดใหไถพวกชาวบานพัทลุง<br />

และเมืองนครศรีธรรมราชที่เขามากรุงเทพฯ<br />

ครั้งนั้นใหพนจากทาสแลว<br />

ใหรวมเปนไพร<br />

หลวง 1 หัดทําการกออิฐถือปูนสําหรับสรางพระอารามเรียกวา “กรมเกณฑบุญ” ใหตั้ง<br />

บานเรือนอยู<br />

ณ ตําบล “สนามควาย” ที่เปนอําเภอนางเลิ้งบัดนี้<br />

ในพวกชาวเมืองพัทลุง<br />

และชาวเมืองนครฯ ที่เขามาครั้งนั้นมีคนที่เคยเปนโนหรามาดวย<br />

เขามาเลนโนหราใน<br />

27<br />

ลายพระหัตถที่ทรงโตตอบกัน<br />

ระหวางสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ<br />

และสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ เริ่มตั้งแตป<br />

2457 ถึงป 2486<br />

28<br />

ภาวะขาวยากหมากแพง ความอดอยาก ความขาดแคลน<br />

75


หลักฐานที่<br />

3<br />

กรุงเทพฯ คนชอบดู จึงเลยเลนเปนอาชีพสืบกันมากวารอยปแลว แตชื่อเรียกวา<br />

“ละคร<br />

ชาตรี” นั้นไมปรากฏทางเมืองพัทลุงและนครศรีธรรมราช<br />

คงเปนชื่อเรียกกันในกรุงเทพฯ<br />

เพราะเหตุใดจึงเรียกเชนนั้นไดแตสันนิษฐานประกอบคําศัพท<br />

“ชาตรี” เชนวาเปนชายชาตรี<br />

(ตามศัพทดูเหมือนจะแปลวาผูเกิดในตระกูลดี)<br />

ซึ่งเขาใจกันเปนสามัญวาเปนพวกที่รูเลห<br />

กลตางๆ ตามไดยินกวาวกันมาก็วา พวกละครชาตรีนั้นเปนเชนนั้น<br />

เดิมก็จะเปนเพราะคน<br />

เห็นเปนของแปลก และหาไปเลนไดโดยเงินโรงถูก ๆ จึงชอบหาละครชาตรีไปเลนแก<br />

สินบนจนเลยเปนธรรมเนียม<br />

หมอมฉันยังจําไดเมื่อเปนเคยเจ็บมากครั้งหนึ่ง<br />

พอหายขึ้นผูปกครองมีละครชาตรีแก<br />

สินบนที่เฉลียงหนาอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม<br />

เวลานั้นตัวละครเอกชื่อนายหน<br />

ใช<br />

เครื่องแตงตัวอยางละครกรุงเทพฯ<br />

ผิดกันแตเพียงตัวเปลาไมใสเสื้อกับสวมกําไลมือขางละ<br />

หลายเสนอยางโนหรา ตอมาก็เห็นละครชาตรีมักไปเลนแกสินบนตามสถานที่ศักดิ์สิทธิ์<br />

เชน วัดบวรนิเวส และที่ศาลเจาหอกลองเปนตน<br />

แตภายหลังมาเห็นจะเปนเพราะถูกหาม<br />

มิใหเลนตามที่นั้น<br />

ๆ จึงเปลี่ยนประเพณีมาเลนที่บานและเลยเกิดวิธีรับเหมาแกสินบนดังได<br />

ทอดพระเนตร<br />

เมื่อแรกหมอมฉันมาอยูวังวรดิศก็ประหลาดใจมที่ไดยินเสียงเลนละครชาตรีที่หนาบาน<br />

บอย ๆ จึงสืบดู ไดความวาที่ถนนหลานหลวงมีบานละครชาตรีสักหกเจ็ดบาน<br />

แตที่จริง<br />

บานหนึ่งมีละครเพียงคนหนึ่งหรือสองคนเทานั้น<br />

บานไหนรับเหมาแกสินบนก็เรียกตัว<br />

ละครบานอื่นไปประสมโรงเลนเอาคาจางแบงกัน<br />

พวกละครแตงตัวและรําอยางละคร<br />

กรุงเทพฯ ถนัดเลนละครนอกดวย ในการแกสินบนเลนเปนละครชาตรี แตตอนเบิกโรง ๆ<br />

แลวก็เลนละครนอกตอไปจนตลอด...<br />

จากหนังสือ การละเลนของไทยของมนตรี (2497) กลาวไววาละครรําที่เปนแบบฉบับ<br />

บริสุทธิ์ของไทยในสมัยโบราณก็มีอยู<br />

3 อยาง คือ ละครชาตรี ละครนอก และละครใน บรรดา<br />

ละครแบบฉบับทั้งสามนี้<br />

ละครชาตรีดูเหมือนจะมีอายุเกาแกที่สุด<br />

และเปนตนเคาใหเกิดละครนอก<br />

และละครในขึ้นดวย<br />

สวนละครดึดดําบรรพก็ดี ละครพันทางก็ดีเปนละครแบบผสมซึ่งดัดแปลง<br />

ปรับปรุงขึ้นจากละครนอกและละครใน<br />

แลวนําแบบของการแสดงละครประเภทอื่นเขามาผสม<br />

จึง<br />

เห็นไดวาละครชาตรีอาจเปนบอเกิดของละครไทยก็ได<br />

76


ในสมัยโบราณกอนที่จะมีละครขึ้น<br />

ไทยเราก็มีการขับรองฟอนรําอยางที่เรียกรวมอยูใน<br />

จําพวกระบํา เพราะมิแสดงเปนเรื่องเปนราวอยางใด<br />

ตอเมื่อไดรับวัฒนธรรมละครของอินเดียเขา<br />

มา จึงเกิดเปนละครชาตรีขึ้น<br />

ซึ่งแตแรกที่เดียวก็เดินแบบคลายคลึงกับอินเดียมาก<br />

กลาวคือ มีตัว<br />

ละครเพียง 3 ตัว คือ ตัวนายโรง(ยืนเรื่อง),<br />

ตัวนาง และตัวจําอวด (เปนตัวเบ็ดเตล็ดดวย) มีเครื่องป<br />

พาทยประกอบเพียง ปเลาหนึ่ง<br />

โทนคูหนึ่ง<br />

กลองเล็กคูหนึ่ง<br />

และฆองคูหนึ่งเทานั้น<br />

ละครชาตรีนี้<br />

ไดแพรหลายเปนที่นิยมในจังหวัดภาคใตของไทย<br />

แตสมัยโบราณเห็นจะนิยมแสดงเรื่องมโนหรา<br />

(พระสุธน) กันเปนพื้น<br />

ชาวปกษใตซึ่งชอบพูดตัดพยางคหนา<br />

จึงเรียกละครแบบนี้วา<br />

“โนรา”<br />

ละครยก คือ ตุกตาละครสําหรับถวายเจา<br />

ซึ่งทําเปนรูปละครสามตัว<br />

มีตัวพระ ตัวนาง และจําอวด<br />

ก็นาจะจําลองมาจากละครโนราดังกลาวแลว<br />

การที่ละครชาตรีเขามาแพรหลายในกรุงรัตนโกสินทรนี้<br />

มีเคาวาจะมาจากจังหวัดภาคใตได<br />

3 คราว ดังนี้<br />

คราวแรก ในพ.ศ.2312 สมเด็จพระเจากรุงธนบรีเสด็จยกกองทัพไปปราบปรามจับตัวเจา<br />

นครและพาขึ้นมากรุงธนบุรีพรอมดวยพวกละคร<br />

แตแลวก็โปรดใหกลับไปเปนเจา<br />

นครศรีธรรมราชตามเดิม ทั้งมีละครผูหญิงเปนเครื่องประดับยศดวย<br />

คราวที่สอง<br />

เมื่อ<br />

พ.ศ. 2323 ในการฉลองพระแกวมรกต โปรดใหละครของเจานครขึ้นมา<br />

แสดง ปรากฏวาไดแสดงประชันกับละครหญิงของหลวงดวย แตในครั้งกรุงธนบุรีนี้คงจะมีไดทํา<br />

ความแพรหลายเทาใดนัก แมจะเหลือตกคางอยูบางก็คงไมกี่คน<br />

คราวที่สาม<br />

เกิดขึ้นเมื่อรัชกาลที่<br />

3 แหงกรุงรัตนโกสินทร เนื่องดวยพ.ศ.<br />

2375 เจาพระยา<br />

พระคลัง (สมเด็จเจาพระยาบรมมหาประยูรวงศ) ไดกรีธาทัพลงไประงับเหตุการณทางหัวเมือง<br />

ภาคใต บังเอิญในปนั้นฝนแลง<br />

น้ํานอย<br />

ขาวแพง ราษฎรอดอยาก ขณะที่เจาเจาพระยาพระคลังยก<br />

ทัพกลับกรุง ชาวเมืองนครศรีธรรมราช ชาวพัทลุง และเมืองสงขลา จึงขออพยพติดตามกองทัพ<br />

มาดวย เมื่อเขาถึงกรุง<br />

ขาวก็แพงอยู<br />

ขาวเปลือกราคาเกวียนละ 40 ถึง 50 บาท ขาวสารถังละ 1 บาท<br />

ถึง 1 บาท 1 เฟอง<br />

พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวจึงโปรดใหชาวนครศรีธรรมราช<br />

ชาว<br />

พัทลุง และชาวสงขลาที่กองทัพพามา<br />

โดยคิดราคาขาวและคาตัวใหแกบรรดามูลนายและใหตั้ง<br />

77


บานเรือนอยู<br />

ณ ตําบลสนามกระบือ 29 หัดเปนชางปูนชางศิลาไวชวยราชการเรียกวา “ไพรหลวง<br />

เกณฑบุญ” แตบรรดาชาวนครศรีธรรมราช ชาวพัทลุงและชาวสงขลาเหลานี้มีผูที่สามารถแสดง<br />

ละครชาตรีอยูปนอันมาก<br />

จึงไดรวบรวมกันตั้งและคณะละครรับเหมาการแสดงในงานตาง<br />

ๆ ตอมา<br />

ก็เปนที่พอใจของชาวกรุงจนเปนที่ขึ้นชื่อลือนามละครชาตรีตําบลสนามกระบือ<br />

และฝกหัดกัน<br />

สืบตอมาจนถึงทุกวันนี้<br />

แตเวลานี้<br />

ละครชาตรีถูกความกดดันจากละครประเภทอื่นและลิเก<br />

จนทํา<br />

ใหใกลจะเสื่อมความนิยม<br />

แมที่แสดงกันอยูทั่ว<br />

ๆ ไปก็เพียงไหวครูและรําซัดตอนตนตามแบบละคร<br />

ชาตรีเพียงเล็กนอย พอเขาเรื่องก็กลายเปนละครนอกปนลิเกไปหมด<br />

หลักฐานที่<br />

4<br />

จากตํานานละครละครอิเหนาของสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ<br />

(2507: 1-2) ไดกลาวไววา<br />

การเลนละครรํา 30 ไทย เราไดตํารามาแตอินเดียเปนแน ขอนี้ไมมีที่สงสัย<br />

ถึงละครพมา<br />

และละครชวาก็ไดตําราไปแตอินเดียเชนเดียวกับเรา เพราะฉะนั้นละครไทยกับละครพมา<br />

และชวากระบวนเลนจึงคลายกัน<br />

ละครรําของไทยเรามี ๓ อยาง คือ “ละครชาตรี” อยางเชนเลนกันในมณฑล<br />

นครศรีธรรมราช เรียกกันในมณฑลนั้นวา<br />

“โนหรา” อยาง ๑ ละครที่เลนในราชธานี<br />

เรียกวา “ละครใน” อยาง ๑ และ “ละครนอก” อยาง ๑ ละครทั้ง<br />

๓ อยางนี้<br />

มีมาตั้งแตครั้ง<br />

กรุงศรีอยุธยาเปนราชธานี<br />

วาดวยเรื่องละครนอก<br />

เมื่อพ.ศ.<br />

๒๔๓๔ ขาพเจากลับจากประเทศอินเดียมาแวะที่แดน<br />

29 บริเวณถนนหลานหลวงและถนนดํารงรักษในปจจุบัน<br />

30<br />

เดิมเรียกวา “ละคร” สวนคําวาละครรํา เริ่มเรียกเมื่อมีละครพูดและละครรองขึ้น<br />

ในสมัยรัชกาลที่<br />

5 คําวา “ละคร” นั้น<br />

เขาใจกันวามาจากคําวา “นคร” ดังเชนคนเรียกเมืองนครศรีธรรมราชและเมือง<br />

ลําปางวา “เมืองละคร” แตที่จริงเห็นจะไมใชเชนนั้น<br />

มีละครที่เมืองชวาอยางหนึ่งเรียกวา<br />

“ลางันดะ<br />

ริโย” พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว<br />

ทรงพระราชดําริวาจะมาแตศัพทคําเดียวกับคําวา<br />

“ละคร” นี้เอง<br />

แตตนศัพทจะเปนอยางไรยังหาไมพบ<br />

78


พมา ประจวบเขามีงานมหรสพที่เมืองรางกุง<br />

ไปดูงานนั้นไดเห็นละครครั้งแรก<br />

เปนละคร<br />

ที่เลนกันในพื้นเมืองอยางละครนอกของเรา<br />

สังเกตดูกระบวนเลนเปนอยางเดียวกับละคร<br />

(โนหรา) ชาตรีของไทยเรา คือ ตัวละครมีแตนายโรงตัว ๑ นางตัว๑ จําอวดตัว ๑ ตัวละคร<br />

ที่ทําบทรองเอง<br />

มีพวกลูกคูและทําปพาทยรับ<br />

เรื่องที่เลนวันนั้นเห็นจะเปนเพราะเขารูวา<br />

ขาพเจาไปดู เขาบอกวาเลนเรื่องไทย<br />

แตจะเปนเรื่องอะไร<br />

อธิบายมาไมเขาใจ ไดความแต<br />

วาเลนเพื่อพานางไปชมสวน<br />

เมื่อแลเห็นก็ไดนึกในขนาดนั้นวา<br />

ละครพมากับละครชาตรี<br />

ของไทยเรานี้<br />

เลนตามแบบแผนอันเดียวกันนั้นเอง<br />

ครั้นตอมาภายหลังขาพเจามีกิจธุระใน<br />

หนาที่ไดลงไปในมณฑลนครศรีธรรมราชเนืองๆ<br />

ลงไปคราวใดก็ไดดูละครโนหราชาตรีที่<br />

เลนในมณฑลนั้นแทบทุกคราว<br />

สังเกตเห็นพวกละครรองคําไหวครูอยูนาน<br />

ๆ จึงจับบทเลน<br />

ละคร นึกอยากจะทราบวาคําไหวครูของพวกละครโนหราชาตรีเปนอยางไร จึงไดถาม<br />

แลวจดมาทุก ๆ คราวที่มีโอกาสจะจดได<br />

เอามาสงใหรวบรวมรักษาไวในพระหอสมุดฯ<br />

เมื่อมาพิจารณาดูคําไหวครูที่จดมานั้น<br />

เห็นมีขอความเปนเรื่องตํานานของละครโนหรา<br />

ชาตรีอยูหลายขอทีเดียว<br />

เปนตนมีความปรากฏวา เดิมนั้นพระเทพสิงหรบุตรของ<br />

นางศรีคงคา 31 หัดละครที่ในกรุงศรีอยุธยา<br />

ขุนศรัทธาเปนตัวละครของพระเทพสิงหรไดพา<br />

แบบแผนละครลงไปหัดขึ้นในเมืองนครศรีธรรมราชเปนปฐม<br />

จึงไดเลนละครกันสืบมา<br />

พวกละครโนรายังออกชื่อบูชานางศรีคงคา<br />

พระเทพสิงหรและขุนศรัทธาในคําไหวครูมา<br />

จนถึงทุกวันนี้<br />

ความที่กลาววาละครโนหราชาตรีไดแบบแผนลงไปจากกรุงศรีอยุธยา<br />

ขอนี้<br />

มีหลักฐานประกอบในคําไหวครูอีกบท ๑ ซึ่งวาดวยเพลงรํา<br />

มีเปนกลอน 32<br />

่<br />

ครูเอยครูสอน สอนไวใหรําสิบสองทา<br />

พอขุนศรัทธา สอนใหรําทาตางกัน<br />

แมลายกนก แลวใหยกขึ้นเปนเครือวัลย<br />

ราหูจับจันทร ใหเวียนแตซายไปขวา<br />

.........บทขาด........ .......บทขาด.........<br />

ปลดปลงลงมา ใหทําเปนทาดอกบัวตูม<br />

บัวบานบัวคลี จงกลนีแยมตระพุม<br />

้ในคําไหวครูตางโรงเรียกตางกัน เรียกวานางศรีมาลาบาง นางนวลสําลีบาง<br />

่จดไวเปนตัวอักษรหาไมได ไดมาแตตามที่พวกละครจําไวจึง<br />

คลาดเคลื่อน<br />

31<br />

นางคนนี<br />

32<br />

คําไหวครูของโนหราชาตรีที<br />

79


...บทขาด...... แลวทาแมลงมุมชักใย<br />

ทาพระยาหงสทอง ลงลอยลองลําน้ําไหล<br />

ลองตรงลงไป ยังปากน้ําพระคงคา<br />

ขอเชิญรอยชั่ง<br />

เจารําชางประสานงา<br />

รําทากินรา ลงมาจะเลนสาคร<br />

แลวเก็บดอกไม มารอยเปนเครื่องอาภรณ<br />

นี่แหละครูสอน<br />

ทํานองพอขุนศรัทธาฯ<br />

เพลงรําตาง ๆ ที่ออกชื่อในกลอนนี้<br />

ถูกตองตามตําราครั้งกรุงเกาโดยมาก<br />

เห็นไดวาเปน<br />

ตําราที่ไดไปจากในกรุงฯ<br />

ขอนี้เปนหลักฐานอยางหนึ่ง<br />

๑ อีกอยาง ๑ เครื่องแตงกาย<br />

อยางเชนนายโรงละครโนหราชาตรีแตง คือที่นุงสนับเพลาเชิงกรอมถึงขอเทา<br />

นุงผาหยัก<br />

รั้งจีบโจงไงหางหงส<br />

สวมเครื่องอาภรณกับตัวเปลาไมใสเสื้อ<br />

และศีรษะสวมเทริด(ซึ่ง<br />

ยังคงแตงอยูจนทุกวันนี้)<br />

เปนแบบเครื่องตนแตงตัวทาวพระยาแตดึกดําบรรพ<br />

เหมือน<br />

รูปภาพครั้งกรุงเกา<br />

มีรูปเทวดาที่จําหลักบานซุมพระเจดียวัดพระศรีสรรเพชญ<br />

ซึ่งอยูใน<br />

อยุธยาพิพิธภัณฑสถาน และรูปเทวดาที่เขียนไวหลังบานประตูพระอุโบสถหวัดใหญเมือง<br />

เพชรบุรีเปนตน เห็นไดวาเครื่องแตงตัวอยางเชนนายโรงละครโนหราชาตรีแตง<br />

ตองเปน<br />

ของเกิดแบบอยางขึ้นในราชธานี<br />

แลวจึงแพรหลายลงไป ใชวิสัยของชาวนครฯ จะคิดขึ้น<br />

ไดแตโดยลําพัง เพราะเคาเงื ่อนมาหลายอยางดังกลาวมา จึงควรเชื่อไดเปนหลักฐานวา<br />

ละครโนหราชาตรีที่เลนกันที่เมืองนครศรีธรรมราชนั้น<br />

มิไดไปเอาอยางมาแตละครพมา ที่<br />

จริงไดแบบแผนลงไปจากกรุงศรีอยุธยา คือ แบบแผนละครนอกที่เลนกันอยูเปนพื้นเมือง<br />

ในสมัยนั้นนั่นเอง<br />

ที่ไปเหมือนละครพมาก็เพราะเลนตามตําราอินเดียดวยกันทั้งไทยและ<br />

พมา เพราะฉะนั้นละครโนหราชาตรีนี่แหละที่เปนละครนอกชั้นเดิม...<br />

อันลักษณะของละครมีตัวละคร ๓ อยาง คือ ตัวทําบทเปนผูชาย<br />

ที่เราเรียกวานายโรง<br />

ฃ<br />

หรือยืนเครื่องอยาง<br />

๑ ตัวทําบทเปนผูหญิงเรียกวานางอยาง<br />

๑ ตัวสําหรับทําเบ็ดเตล็ด เชน<br />

เปนฤาษี เปนยักษ เปนพราน เปนยายตา และเปนสัตวเดรัจฉาน เชน มาและนกที่มีบทใน<br />

เรื่องละคร<br />

ตลอดจนเรื่องตลกใหขบขัน<br />

เรียกวา จําอวด อยาง ๑ ถาตัวละครขาดอยาง<br />

หนึ่งอยางใดก็เลนไมสนุก<br />

เพราะฉะนั้นละครพมาก็ดี<br />

ละครโนหราชาตรีของไทยเราก็ดี ที่<br />

มีตัวละครแตนายโรงตัว ๑ นางตัว ๑ และจําอวดตัว ๑ อยางนี้เปนอยางนอยที่สุดที่จะเลน<br />

ละครไดสะดวก ดวยเหตุนี้จึงปรากฏมาแตกอนวาละครชาตรีชอบเลนแตบางเรื่อง<br />

ที่ตัว<br />

80


หลักฐานที่<br />

5<br />

บทสําคัญเลนพรอมกันไมเกิน ๓ ตัว เชนเรื่องพระรถเสน<br />

ตัวนายโรงเปนพระรถเสน ตัว<br />

นางเปนนางเมรี ตัวจําอวดเปนมาของพระรถเสน หรือมิฉะนั้นก็เลนเรื่องนางมโนหรา<br />

ตัว<br />

นายโรงเปนพระสุธน ตัวนางเปนนางมโนหรา ตัวจําอวดเปนพรานบุญ<br />

ละครที่ขุนศรัทธาไปหัดขึ้นที่เมืองนครศรีธรรมราช<br />

คงถนัดเลนเรื่องนางมโนหรายิ่งกวา<br />

เรื่องอื่น<br />

เลนใหพวกชาวเมืองดูจนชินตาเลยเรียกละครวา “มโนหรา” แตเรียกตัดตัวหนา<br />

เสียตามวิสัยของชาวนคร จึงคงรูปเรียกวา “โนหรา” มาตราบจนทุกวันนี้<br />

ละครนอกที่เลนกันในกรุงศรีอยุธยาชั้นเดิม<br />

ก็คงจะมีตัวละครแตโรงละ ๓ คน ๔ คน<br />

อยางละครโนหราชาตรี ตอนานมาเมื่อมีคนชอบดูละครมากขึ้น<br />

ทางหาเลี้ยงชีพในการเลน<br />

ละครสะดวกขึ้น<br />

จึงเกิดการแกไขกระบวนการเลนละครแขงขันใหวิเศษขึ้นกวาเดิม<br />

คือ<br />

เพิ่มตัวละครใหมากขึ้น<br />

และคิดเครื่องแตงตัวละครขึ้น<br />

แลวริเลนเรื่องใหแปลกกวาเดิม<br />

ออกไป บทรองซึ่งเดิมตัวละครตองรองเปนกลอนดนโดยประดิษฐของตนเอง<br />

(อยางโนหรายังรองอยูทุกวันนี้)<br />

ก็ยังมีกวีชวยกันคิดแตงกลอนใหเรียบรอยเพราะพริ้งยิ่งขึ้น<br />

บทละครครั้งกรุงเกาซึ่งอยูยังมีอยูบัดนี้<br />

ยังพอสังเกตไดวา ที่เปนบทรุนเกากลอนเปนอยาง<br />

ละครชาตรี ตอบทรุนหลังมาจึงเปนกลอนแปด<br />

ถึงกระนั้นก็ยังไมเหมือนบทละครชั้นกรุง<br />

รัตนโกสินทร<br />

พระยาอนุมานราชธน( 2506: 235) ไดกลาวถึงเรื่องละครไววา<br />

ขาพระพุทธเจาเชื่อวา<br />

ละคร ที่ถูกมาจาก<br />

ละคอน หาใชมาจากคําวา นคร ไม เพราะ<br />

ละครมีใชในภาษาชะวาแลว ในหนังสือฝรั่งเลมหนึ่งวาดวยเรื่องละครในชะวา<br />

ใหที่มา<br />

ของคําวา ละคอน ในภาษาชะวา มาจาก laku ธาตุ แปลวา to go, to act แตไมไดอธิบายวา<br />

ประกอบ laku ธาตุ ขึ้นเปนคํา<br />

ละคอน ไดอยางไร ที่ขาพระพุทธเจาเขียนคําวา<br />

ละคร เพราะ<br />

เขียนกันอยางนี้มานานแลว<br />

จนเปนที่เขาใจในความหมาย<br />

เปนทํานองเดียวกับ โรงศาล<br />

ชางสาร และคําวา โขน ก็นาจะมีที่มามาจากคําเดียวกับ<br />

ละคร ซึ่งขาพระพุทธเจาจําไดเงาๆ<br />

วา ดูเหมือนเขมรอาน ละคร วา ละโขน<br />

81


นริศรานุวัดติวงศ, สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอเจาฟากรมพระยา ไดกลาวถึงเรื่อง<br />

ละคร<br />

ในบันทึกเรื่องความรูตาง<br />

ๆ วา<br />

“ที่เราเขียนวา<br />

ละคร เพราเราเขาใจวารกรากมาแตนครศรีธรรมราช แตภาษาชะวาเขาก็มี<br />

คําวา ละคอน แตเขาหมายความวา เชน ละคอนอิเหนา เขาเขาใจกันวา เรื่องอิเหนา<br />

จะเอาเปนแน<br />

ก็เหลือแตไมทราบ” (พระยาอนุมานราชธน, 2506: 227)<br />

หลักฐานที่<br />

6<br />

จากหนังสือสารานุกรมนาฏศิลปไทยของ รุจี(2547) ไดอธิบายเรื่องประวัติการละครของ<br />

ไทย ซึ่งไดกลาวถึงเรื่องที่เกี่ยวของกับประวัติความเปนของโนรา<br />

สามารถสรุปไดดังนี้<br />

ในสมัยนานเจา ชนชาติไทยสืบเชื่อสายมาจากบรรพบุรุษตั้งแตดั้งเดิมเรียกวาพวก<br />

“ไต”<br />

ซึ่งมีอาณาจักร<br />

อยูทางตอนใตของจีน<br />

ในสมัยนานเจานี้พวกไตหรือคนไทยในตอนนั้น<br />

ก็มี<br />

การละเลนตาง ๆ อยูแลว<br />

เชนระบํานกยูง ระบําหมวก และมีนิยายเรื่องหนึ่ง<br />

คือ เรื่องนามาโนราห<br />

ซึ่งเปนตํานานของชาวจีนไดบรรยายถึงวัฒนธรรมการละเลนตาง<br />

ๆ ของจีนตอนใตไว และกลาวถึง<br />

นิยายเรื่องนามาโนหรานี้วาเปนของพวกไต<br />

ซึ่งชาวจีนถือวาเปนชนกลุมนอยของจีน<br />

คําวา<br />

“นามาโนหรา” นาจะเพี้ยนไปเปน<br />

“นางมโนหรา” ที่เรารูจักกันดี<br />

สมัยสุโขทัย สันนิษฐานจากศิลาจารึกของพอขุนรามคําแหง หลักที่ 1 ซึ่งไดกลาวถึงเรื่อง<br />

การละครฟอนรํา ในสมัยนั้นไววา<br />

ในสมัยนั้นก็มีการบรรเลงดนตรีเพื่อเปนเครื่องประโคม<br />

และการ<br />

รองรําซึ่งเปนการละเลนพื้นเมือง<br />

ในดานการละคร ในสมัยนี้ก็มีการแสดงละครกันดวย<br />

โดยเรื่องที่<br />

มีการแสดงอยางแนนอนก็คือ เรื่องมโนหรา<br />

สมัยกรุงศรีอยุธยา ไดมีการจัดระเบียบแบบแผนของละครขึ้น<br />

คือมีการตั้งชื่อละครที่<br />

เกิดขึ้นในสมัยนั้น<br />

และยังพบวาในสมัยกรุงศรีอยุธยาเปนราชธานี มีละครอยางหนึ่งที่มีลักษณะ<br />

คลายคลึงกับละครเร มีตัวละครนอย ลักษณะคลายคลึงกับละครเรอินเดีย ซึ่งเราเรียก<br />

“ละคร<br />

ยาตรา” หรือ “ยาตระ” หมายถึงละครที่เลนไดงาย<br />

เลนที่ใดก็ได<br />

ไมตองอาศัยโรง ละครประเภทนี้<br />

มักจะมีพระเอกเปนกษัตริย คําวา “กษัตริย” พวกอินเดียตอนเหนือเรียกตามภาษาสันสกฤตวา<br />

“กษัตริยะ” ภายหลังพวกอินเดียใตนํามาใชแตออกเสียงไมชัด ออกเสียงเปน “ฉัตรียะ” ประเทศไทย<br />

82


ของเรารับเอาแบบอยางทางการละครมาจากอินเดียใต เราจึงออกเสียง “ฉัตรียะ” แตไมถนัดจึงออก<br />

เสียงตามสะดวกปากของเราวา “ชาตรี” เราจึงเรนียกละครแบบนี้วา<br />

“ละครชาตรี” ซึ่งมีลักษณะเปน<br />

ละครแบบดั้งเดิม<br />

ไมประณีต แตก็ถือวาเปนละครแบบแรกของไทย มีกําเนิดนับเวลาหลายพันป<br />

หลักฐานที่<br />

7<br />

จากเรื่อง<br />

ความเปนมาของโนรา ของ ภิญโญ(2515) ไดใหขอคิดเห็นเปรียบเทียบในดาน<br />

ประวัติความเปนมาของโนรา ระหวางตํานานพื้นบานภาคใตและขอสันนิษฐานของ<br />

สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพไววา<br />

จากคํา “กาศครู” หรือ “ไหวครู” ของโนรา ทําใหเขาใจวา โนรา มิไดมาจาก<br />

กรุงศรีอยุธยา ตามสันนิษฐานของสมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพ ยกตัวอยางคํากาศครู<br />

บางตอนดังนี้<br />

ชอบฤกษรองเชิญตําเหนินราชครูถวนหนา<br />

ราชครูของนองลอยแลวใหลองกันเขามา<br />

ราชครูของขาแลวมาพออยาพนไป<br />

..............ราชครูของขาตําเหนินเชิญมาใหหมดสิ้น<br />

จากตัวอยางจะเห็นไดวาการไหวครูเริ่มแรกเขากลาวถึง<br />

“ราชครู” ตอจากนั้นก็ไปไหวครู<br />

พัก (ครูภักดิ์รักจํา)<br />

หลายทาน เชนขุนโหร (พ)ญาโหร ขุนพราน (พ)ญาพราน พรานเทพ<br />

พรานคง พรานบุญ ตามตัวอยางคํากลอนตอไปนี้<br />

ไหวขุนโหรญาโหรขุนพรานญาพรานโปรดปรานเหนือเกลาเกษา<br />

ไหวพรานเทพเดินดงพระยาพรานคงมาเดินปา<br />

พรานบุญปรึกษาเดินจําจําหนาราชครู.............<br />

หลังจากการไหวครูภักดิ์นี้แลวจึงไหวขุนศรัทธา<br />

ตาหลวงเสนสองเมือง ตาหลวงคงคอ<br />

พระยาโถมน้ํา<br />

พระยาลุยไฟ พระยาสาวฟาฟาด พระยามือเหล็กพระยามือไฟ ฯลฯ<br />

ตามคํากาศครูตามลําดับนี้<br />

ทุกทานที่กลาวถึงคงเปนครูโนรา<br />

(ครูที่เปนผูนําทางการ<br />

83


ฟอนรํา) โดยเริ่มแตราชครู<br />

ขุนโหร ขุนศรัทธา และคนอื่น<br />

ๆ ตามลําดับนั้น<br />

ขอสรุปความเห็นเกี่ยวกับความเปนมาของโนราและการรํา<br />

ดังตอไปนี้<br />

1. การรําโนรานาจะมีมานานแลว มีการรําและแสดงในราชสํานัก (อาณาจักรศรีธรรมราช<br />

หรือกอนนั้น)<br />

จนกระทั่งพระบรมวงศานุวงศทั่วไปมีความรูความชํานาญจนสามารถเปนครูได<br />

เริ่มแรกของผูเปนราชครูนาจะเปนนางนวลทองสําลี<br />

หรือ แมศรีคงคา ซึ่งในคํากาศครูบอกวา<br />

แมศรีคงคาเปนครูตน และตามประวัติโนรา โอรสของแมศรีคงคาก็เปนที่โปรดปรานของพระ<br />

อัยกา คือพระยาสายฟาฟาด พระยาสายฟาฟาดถึงกับพระราชทานเครื่องทรงใหแตงองครําถวาย<br />

จากนั้นพระองคคงจะโปรดการรําโนรา<br />

เมื่อพระเจาแผนดินโปรด<br />

พระบรมวงศานุวงศและ<br />

อํามาตยขาราชการทั้งหลายก็ตองสนใจและเอาจริงเอาจัง<br />

จากเหตุผลอันนี้<br />

จึงมีราชครู แลวตอมา<br />

อํามาตยขาราชการก็เปนครูโนราไปตามกัน เชน ขุนโหร ญาโหร เปนตน<br />

2. ขุนศรัทธา คือใคร ขุนศรัทธานาจะเปนครูโนราที่มีความสามารถในการรําอยางยิ่ง<br />

จะ<br />

เรียกวาเปนบรมครูทางการฟอนรํา จากการศึกษาประวัติของโนรา ทําใหทราบวา บางประวัติของ<br />

โนรา พระโอรสของแมศรีคงคาไดรับพระราชทานบรรดาศักดิ์<br />

“ขุนศรัทธา” ภายหลังเรียกวา<br />

“พอขุนศรัทธา” ทานผูนี้สันนิษฐานวาเปน<br />

“ขุนศรัทธาทาแค” สมัยหลังมีครูเถาที่มีความยอดเยี่ยม<br />

ทางการรําไดบรรดาศักดิ์เปนที่ขุนศรัทธาอีกหลายทาน<br />

เชน ในคํากาศครูโนราของจังหวัดสุราษฎร<br />

ธานีกลาวถึง ขุนศรัทธาขุย ขุนศรัทธาราม ขุนศรัทธาแยม และขุนอุปถัมปนราการบอกวา เมื่อ<br />

สมัยทานเล็ก ๆ ก็มีขุนศรัทธาเหมือนกัน คือ ขุนศรัทธาบานนาเขือ และขุนศรัทธาเมืองตรัง<br />

3. จากหลักฐานบางอยางเชน ความศิลาจารึกสุโขทัยวา “สังฆราชปราชญเรียนจบพระ<br />

ปดกไตร หลวกกวาปูครูทั้งหลายในเมืองนี้<br />

ทุกคนลุกแตศรีธรรมราชมา” ทําใหสันนิษฐานไดวา<br />

วัฒนธรรมตาง ๆ จากใตเหนือตั้งแตสมัยสุโขทัย<br />

และตอมาในสมัยกรุงศรีอยุธยาก็มีทํานองเดียวกัน<br />

อีกหลายครั้ง<br />

ดังนั้นโนรา<br />

ซึ่งเปนทารําตาง<br />

ๆ ของทางภาคใตก็ไปเปนทารําของโนราชาตรี ละคร<br />

ชาตรี และทารําอื่น<br />

ๆ จากการศึกษาทารําตาง ๆของละครชาตรี ทําใหทราบวา ทารําของละคร<br />

ชาตรีโดยเฉพาะคําไหวครูมีเนื้อความตรงกันมาก<br />

ตอนรองก็รองเลียนเสียงชาวภาคใต จึงสามารถ<br />

ยืนยันขอสันนิษฐานนี้ไดวา<br />

โนราเปนตนแบบของละครชาตรีและตนแบบทารําของละครอื่น<br />

ๆ<br />

84


4. คําวา “โนรา” กับ “มโนหรา” คําวาโนรา เปนทารําชนิดหนึ่ง<br />

หรือจะหมายความวา<br />

ผูนําทางการฟอนรํา<br />

การรําโนรานาจะมีมาแตเดิมแลว ตอมามีการแสดงเรื่อง<br />

ก็ไดนําเรื่องจาก<br />

นิทานทองถิ่น<br />

หรือจากชาดก มาแสดง เรื่องที่มักนํามาแสดงมีเรื่อง<br />

พระรถเมรี ลักษณวงศ ดารา<br />

วงศ สังขทอง จันทธโครพ เรื่องทาวสินราช<br />

โคบุตร สังขศิลปชัย เรื่องนางยอพระกลิ่นหรือนาง<br />

ผมหอม เรื่องไกรทอง<br />

และเรื่องพระสุธนนางมโนหรา<br />

โดยจะเห็นไดจากมีการรํา “คลองหงส”<br />

คือ ตอนที่พรานบุญคลองนางมโนหรา<br />

และมีการรําแทงเข (แทงจระเข) คือการแสดงเรื่องไกร<br />

ทอง<br />

5. ความเห็นเกี่ยวกับทารํา<br />

ทารําเบื้องตนตามที่ปรากฎอยู<br />

สันนิษฐานวามีความเปนมา<br />

ตามลําดับดังนี้<br />

แลวตอมาจึงไดนํามาเรียงใหคลองจองกันเปนคํากลอนทารําตาง ๆ ตอมา คือ<br />

5.1 ทารําที่เลียนแบบจากทาสัตวบางชนิด<br />

เชนทานกแขกเตาเขารัง ทากระตายชม<br />

จันทร ทาพระจันทรทรงกลด ทาปลาลองมาในน้ํา<br />

ทา(สิง)โตเลนหาง ทากวางเดินดง ทากวาง<br />

โยนตัว ทากินนรฟอนฝูง ทายูงฟอนหาง ทาหงสทองลองน้ํา<br />

ทาชางสารหวานหญา ทาชะนีราย<br />

ไม และทาเหรา(จระเข)เลนน้ํา<br />

5.2 ทารําจากอาการกริยาที่ประพฤติปฏิบัติกันอยู<br />

เชน ทาสอดสรอยมาลา ชักแปงผัด<br />

หนา สีซอสามสาย พิสมัยเรียงหมอน ไกวเปลใหนองนอน ทากระบี่กระบอง<br />

ทาจีนสาวไส<br />

5.3 ทารําที่ไดรับคติความเชื่อทางศาสนาพราหมณ<br />

เชน ทาพรหมสี่หนา<br />

ทาพระราม<br />

นาวศรศิลป ทาพระสุริยวงศผูทรงศักดิ์<br />

ทาพระลักษมณแผลงศร ทาเมขลาลอแกว ทาพระรามจะ<br />

ขามสมุทร<br />

5.4 ทารําที่ไดรับคติความเชื่อทางศาสนาพุทธ<br />

ไดแก ทาพระพุทธเจาหามมาร<br />

5.5 ทารําที่เกิดจากนิทานชาวบาน<br />

และชาดกตาง ๆ เชน ทาพระรถโยนสาร<br />

85


พิธีกรรมในการแสดงโนรา<br />

โนรา เปนการละเลนพื้นเมืองที่สืบทอดกันมานานและนิยมเลนกันอยางแพรหลายใน<br />

ภาคใต เปนการละเลนที่มีทั้งการรอง<br />

การรํา และประกอบพิธีกรรม เพื่อเชิญวิญญาณบรรพบุรุษที่<br />

เปนโนรา ซึ่งเรียกวา<br />

“ตายยายโนรา” หรือ ตาหลวง หรือ ครูหมอ-ตายาย มายังโรงพิธีเพื่อรับการเซน<br />

สังเวย เพื่อรับของแกบน<br />

และเพื่อครอบเทริด<br />

ตัดจุก ผูกผา แกโนรารุนใหม<br />

ดวยเหตุที่ตอง<br />

ทําการ<br />

เชื้อเชิญครูมาเขาทรงหรือมา<br />

“ลง” ยังโรงพิธี จึงเรียกพิธีกรรมนี้วา<br />

“โนราโรงครู”<br />

พิธีโนราโรงครู หรือโนราลงครู<br />

โนราโรงครู จึงเปนพิธีกรรมที่เกี่ยวกับความเชื่อที่มีบทบาทตอวิถีชีวิตและสังคมของชาว<br />

ภาคใตโดยเฉพาะผูที่เปนโนราและผูมีเชื้อสายโนรา<br />

โดยมีฐานความเชื่อวาพอแมปูยาตายายที่ตาย<br />

ไปแลวนั้นแทจริงยังไมไดไปไหน<br />

ยังอยูคอยปกปกรักษาชีวิตของลูกหลานไวอยูรอดปลอดภัยดี<br />

มี<br />

ความมั่งคั่งมั่นคง<br />

ตายายเหลานี้จะมีโอกาสมาพบลูกหลานไดโดยมีโนราโรงครูเปนพิธีกรรมที่ทํา<br />

หนาที่เปดประตูปรโลกกับปจจุบันใหบรรจบกันภายในโรงพิธี<br />

โดยถือเอาตายายของตนเปน<br />

เปาหมายหลัก มีนายโรงโนราเปนผูประกอบพิธีกรรมและจัดการละเลนเพื่อเอาอกเอาใจ<br />

การเลน<br />

รายรําโนราในโรงพิธีนี้เชื่อวามีความศักดิ์สิทธิ์สามารถรักษาโรคภัยไขเจ็บหรือขับไลเคราะหตาง<br />

ๆ<br />

ออกได โดยการปกปกรักษาจาก “ครูหมอตายาย”<br />

พิธีกรรมอันเกี่ยวเนื่องกับการเอาอกเอาใจบรรพชนนี้มี<br />

“เหมฺรฺย” ซึ่งเปนพันธะสัญญาทาง<br />

ใจและวาจาเปนเครื่องชี้วัดความสําเร็จเสร็จสิ้นพิธีกรรม<br />

“เหมฺรฺย” มีความหมายทั้งรูปธรรม<br />

นามธรรมเปนสัญลักษณสําคัญในภารกิจของพิธีกรรมตั้งโรงวาจะตอง<br />

“ขาดเหมฺรฺย” อันเปนพันธะ<br />

สัญญา ระหวางลูกหลานผูยังมีชีวิตกับตายายในปรโลก<br />

พิธีกรรมโนราโรงครูยังเปนพิธีกรรมที่มีการรวมหมูรวมพวกปรองดองกันในกระบวนการ<br />

สรางพิธีกรรม เพื่อใหคนทั้งชุมชนมารับรูเรื่องในสายตระกูลตนเอง<br />

นอกเหนือจากการเลี้ยงดูปูเสื่อ<br />

อยางเต็มที่แลว<br />

พิธีโนรานี้ยังเปดพื้นที่ใหหญิงชาวบานไดมาแลกเปลี่ยนแรงงานและการครัว<br />

ใหผู ชายรวมตัวเปนหมูเปนพวกในการสรางโรงโนราโรงครู<br />

โนราโรงครูจึงเปนทั้งการละเลน<br />

พิธีกรรมความเชื่อ<br />

จนถึงระบบปกครองทองถิ่นในวัฒนธรรมภาคใต<br />

86


การจัดพิธีกรรมแบงเปน 3 วัน คือ เริ่มงานวันพุธและจบที่วันศุกร<br />

หากศุกรใดตรงกับวัน<br />

พระ จะตองเลื่อนไปสงครูวันเสาร<br />

พิธีการจะเริ่มจากการเขาโรงในวันพุธตอนบาย<br />

จะทําพิธีเบิกโรง<br />

ชุมนุมครู ซัดหมาก ลงโรง แลวแสดงในคืนแรก วันที่สองวันพฤหัสบดีจะถือเปนวันครู<br />

มีการไหว<br />

ครูหมอตายาย เชิญครู “แตงพอก” “วาคําพลัดนกจอก” “จับสิบสองบท” “เหยียบเสน” “ตัดผมผีชอ”<br />

เปนวันแกบน ตกกลางคืนจะเชิญตายาย “เขาทรง” พบปะลูกหลาน วันศุกรเปนวันสุดทายของงาน<br />

จะสงครู มีการ “รําคลองหงส” “รําแทงเข” และ “ตัดเหมฺรฺย”<br />

พิธีกรรมโนราโรงครูประกอบดวย การรายรํา การเลาเรื่อง<br />

การฟนตํานาน<br />

การขานบท การ<br />

ขับกลอนโนรา ดนตรี เพลงโนรา เครื่องโนรา<br />

เล็บ หาง เทริด ฯลฯ และที่สําคัญที<br />

่สุด คือ คนดู ผูชม<br />

ซึ่งมีทั้งผูจัดงาน<br />

เจาบาน แขกรับเชิญ แขกที่ไมตองรับเชิญ<br />

และชาวบานในละแวก พิธีโนราโรงครู<br />

จึงเปนกิจกรรมชุมชนโดยเอาเครือญาติของผูจัดเปนศูนยกลาง<br />

ความเปนมาของโนราโรงครู<br />

ความเปนมาของโนราโรงครูจะมีมาแตเมื่อใดไมปรากฏหลักฐานแนชัด<br />

มีเพียงแตตํานาน<br />

บอกเลาเปนหลาย กระแส ผูวิจัยขอสรุปดังนี้<br />

กระแสที่<br />

1 ปรากฏเปนคํากาพยถายทอดโดยขุนอุปถัมภนรากร (โนราพุมเทวา)<br />

ดังนี้<br />

“นางนวลทองสําลี เปนบุตรีทาวพระยา<br />

นรลักษณงามนักหนา จะแจมดังอัปสร<br />

เทวาเขาไปดลจิต ใหเนรมิตเทพสิงหร<br />

รูปรางอยางขี้หนอน<br />

รอนรํางาทาตางกัน<br />

แมลายฟนเฟอน กระหนกลวนแตเครือวัลย<br />

บทบาทกลาวพาดพัน ยอมจําแทแนหนักหนา<br />

จําไดสิบสองบท ตามกําหนดใหวิญญาณ<br />

เมื่อฟนตื่นขึ้นมา<br />

แจงความเลาเหลากํานัล<br />

แจงตามเนื้อความฝน<br />

หนาที่นั่งของทาวไท<br />

วันเมื่อจะเกิดเหตุ<br />

ใหอาเพศกํามจักไกล<br />

ใหอยากดอกมาลัย อุบลชาติผลพฤกษา<br />

87


เทพบุตรจุติจากสวรรค เขาทรงครรภนางฉายา<br />

รูถึงพระบิดา<br />

โกรธโกรธาเปนฟุนไฟ<br />

ลูกชั่วรายทําขายหนา<br />

ใสแพมาแมน้ําไหล<br />

พรอมสิ้นกํานัลใน<br />

ลอยแพไปในธารัล<br />

พระพายก็พัดกลา เลก็บาพนกําลัง<br />

พัดเขาเกาะกระชัง นั่งเงื่องงงอยูในปา<br />

รอนเราไปถึงทาว โกสียเจาทานลงมา<br />

ชบเปนบรรณศาลา นางพระยาอยูอาศัย<br />

พรอมสิ้นทั้งโฟกหมอน<br />

แทนที่นอนนางทรามวัย<br />

ดวยบุญพระหนอไท อยูเปนสุขเปรมปรีดิ์<br />

เมื่อครรภาถวนทศมาส<br />

ประสูติราชจากนาภี<br />

อีกองคเอี่ยมเทียมผูชาย<br />

เลนรําไดดวยมารดา<br />

เลนรําตามภาษา ทาวพระยามาหลงใหล<br />

จีนจามพราหมณขาหลวง ไททั้งปวงออนน้ําใจ<br />

จีนจามพราหมณเทศไท ยอมหลงใหลในวิญญาณ<br />

ทาวพระยาสายฟาฟาด เห็นประหลาดใจหนักหนา<br />

ดูนรลักษณและพักตรา เหมือนลูกยานวลทองสําลี<br />

แลวหามาถามไถ เจาเลาความไปถวนถี่<br />

รูวาบุตรแมทองสําลี<br />

พาตัวไปในพระราชวัง<br />

แลวใหรําสนองบาท ไทธิราชสมจิตหวัง<br />

สมพระทัยหทยัง ทาวยลเนตรเห็นความดี<br />

แลวประทานซึ่งเครื่องทรง<br />

สําหรับองคพระภูมี<br />

กํามไลใสกรศรี สรอยทับทรวงแพรภูษา<br />

แลวประทานซึ่งเครื่องทรง<br />

คลายขององคพระราชา<br />

แลวจดคําจํานรรจา ใหชื่อวา<br />

ขุนศรีศรัทธา”<br />

กระแสที่<br />

2 เลาโดยโนราวัด จันทรเรือง สรุปความจาก อุดม (2531) ไดความวา<br />

การรําโนราโรงครูครั้งแรกวา<br />

เปนการรําของ อจิตกุมาร ซึ่งเปนบุตรของนางนวลทองสําลี<br />

และไดเดินทางกลับถึงเมืองบิญจาในวันพุธตอนบายโมง เพื่อเฝาพระเจาตา<br />

คือ พระยาสายฟาฟาด<br />

88


อจิตกุมารไดทําพิธีเชิญพระพี่เลี้ยง<br />

เชิญพระยาหงษทอง พระยาหงษเหมราช ที่เคยหลบหนีไปกลับ<br />

บานเมือง โดยทําพิธีโรงครู ตั้งเครื่องสิบสอง<br />

เชิญครูเกาแกใหมาดูการรําถวาย มากินเครื่องบูชา<br />

และ<br />

เชิญพี่เลี้ยง<br />

คนอื่น<br />

ๆ กลับมาดวย อจิตกุมารรําถวายครูเปนเวลา 3 วัน 3 คืน ถึงวันศุกรจึงเชิญครู<br />

ทั้งหมดให<br />

กลับไป พระยาสายฟาฟาดไดประทานเครื่องทรงของกษัตริยให และเปลี่ยนชื่อนางนวล<br />

สําลีเปน “ศรีมาลา” เปลี่ยนชื่อ<br />

อจิตกุมาร เปน “เทพสิงสอน” การรําโรงครูของอจิตกุมารหรือเทพ<br />

สิงสอน ในครั้งนั้น<br />

จึงเปนที่มาของการรําโนราโรงครูในปจจุบัน<br />

กลาวไดวาความเปนมาของโนราโรงครูนอกจากจะปรากฏในตํานานแลวโนราโรงครูคง<br />

เปนพิธีกรรมเพื่อการไหวครู<br />

ครอบครู ที่มีมาพรอมกับการเกิดโนราในภาคใต<br />

ชนิดของโนราโรงครู<br />

โนราโรงครูแบงออกเปน 2 ชนิด คือ<br />

โนราโรงครูใหญ หมายถึง โนราโรงครูเต็มรูป ปกติการรําโนราโรงครูใหญทํากัน 3 วัน จึง<br />

จบพิธี เริ่มตั้งแตในวันพุธไปสิ้นสุดในวันศุกร<br />

และจะตองทํากันเปนประจํา เชน ทุกป ทุกสามป ทุก<br />

หาป แลวแตจะกําหนด การรําเชนนี้ตองใชเวลาเตรียมการนาน<br />

ใชทุนทรัพยคอนขางสูง ตั้งแตการ<br />

ปลูกสรางโรง การติดตอคณะโนรา การเตรียมเครื่องเซนไหว<br />

และการเตรียมอาหารเพื่อจัดเลี้ยงแขก<br />

ที่มารวมงาน<br />

เปนตน<br />

โนราโรงครูเล็ก หมายถึง การรําโรงครูอยางยนยอใชเวลารําเพียง 1 คืน กับ 1 วันเทานั้น<br />

ปกติจะเขาโรงครูในตอนเย็นของวันพุธไปสิ้นสุดในวันพฤหัสบดี<br />

การรําโนราโรงครูเล็กมีจุด มุง<br />

หมายเชนเดียวกับการรําโนราโรงครูใหญ แตไมอาจทําพิธีใหใหญโตเทากับการรําโรงครูใหญได<br />

เพราะมีปญหาเรื่องเวลา<br />

ความไมพรอมในดานอื่น<br />

ๆ ดังนั้นเมื่อถึงวาระที่ตองการบูชาครูหมอโนรา<br />

หรือตายายโนราตามที่ไดตกลงไว<br />

เชน ถึงวาระสามป หาป จึงไดทําพิธีอยางยนยอเสียกอน สักครั้ง<br />

หนึ่ง<br />

เพื่อมิใหผิดสัญญากับครูหมอโนราหรือตายายโนรา<br />

การทําพิธีอยางยนยอเชนนี้<br />

เรียกวา “การ<br />

รําโรงครูเล็ก” หรือ “การค้ําครู”<br />

หรือ “โรงแกบนค้ําครู”<br />

ซึ่งหมายถึงค้ําประกัน<br />

การค้ําครูจึงมี<br />

จุดมุงหมายสําคัญเพื่อยืนยันวาตนเองเปนเชื้อสายโนรา<br />

และยังไมลืมเคารพนับถือ ครูหมอโนรา<br />

หรือตายายโนรา โดยทั่วไปการค้ําครูก็เพื่อไมใหตัวเองถูกลงโทษจากครูหมอโนราหรือตายายโนรา<br />

แมวาผูทําพิธีนี้จะไมรําโนราแลวก็ตามแตหากเปนผูสืบเชื้อสายมาจากโนราก็ถือวายังมีครูอยู<br />

89


จําเปนตองมารวมพิธีนี้<br />

เพื่อเปนการบูชาครูหรือค้ําครู<br />

การรําโรงครูเล็กหรือการค้ําครู<br />

เปนพิธีกรรม<br />

อยางยนยอ ถือกันวามีความขลังหรือศักดิ์สิทธิ์นอยกวารําโรงครูใหญ<br />

ดังนั้นการแกบนและการ<br />

ครอบเทริดหรือผูกผาใหญ จึงไมนิยมทําในโรงครูเล็ก แตจะทําพิธีในโรงครูใหญ<br />

องคประกอบของโนราโรงครู<br />

โนราโรงครูใหญและโนราโรงครูเล็ก มีองคประกอบในการรําโนราครูที่สําคัญ<br />

ๆ คือ<br />

โนราใหญ คือ หัวหนาคณะหรือนายโรงโนรา ซึ่งจะเปนผูนําในการประกอบพิธีกรรม<br />

ตางๆ ในโนราโรงครู บางแหงเรียกโนราใหญวา “ราชครู”<br />

คณะโนรา มีประมาณ 15 – 20 คน อาจเปนคณะของโนราใหญเองหรือเปนโนราจากหลาย<br />

คณะมารวมกันเพื่อประกอบพิธีกรรมและใหความบันเทิงแกผูชมดวย<br />

คนทรง หรือ รางทรงครูหมอโนรา ซึ่งอาจจะเปนรางทรงประจําครูหมอโนรา<br />

หรือ ตายาย<br />

โนราองคนั้น<br />

ๆ หรืออาจจะเปนผูมีเชื้อสายโนรา<br />

ลูกหลานตายายโนราที่ครูหมอหรือตายายโนราจะ<br />

เขาทรง<br />

ระยะเวลาและวันทําพิธี นิยมทํากันในฤดูแลงระหวางเดือน 6 ถึงเดือน 9 จะเริ่มพิธีหรือ<br />

เขา<br />

โรงครูวันแรกในวันพุธ ไปสิ้นสุดพิธีในวันศุกร<br />

โรงพิธีหรือโรงครู มีลักษณะคลายโรงโนรารุนเกา<br />

คือ สรางเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด<br />

กวาง 9 ศอก ยาว 11 ศอก มี 8 เสา ไมยกพื้น<br />

แบงออกเปน 3 ตอน เสาตอนหนาและตอนหลังมี 3 เสา<br />

สวนตอนกลางมี 2 เสา ไมมีเสากลาง หนาโรงหันไปทางทิศเหนือ หรือใต เรียกวา “ลอยหวัน” (ลอย<br />

ตะวัน) ไมนิยมหันหนาไปทางทิศตะวันออกหรือทิศตะวันตก “ขวางหวัน” (ขวางตะวัน) ซึ่งเชื่อวา<br />

เปนอัปมงคล หลังคาทําเปนรูปหนาจั่ว<br />

มุงดวยจาก ตรงกลางจั่วครอบดวยกระแชง<br />

ถาไมมีกระแชงก็<br />

ใชใบเตยแทนได การที่ตองครอบกระแชงบนหลังคาจั่วก็เพื่อเปนเครื่องระลึกถึงเมื่อครั้งนางนวล<br />

ทองสําลีถูกลอยแพไปในทะเล ก็ไดอาศัยแชงเปนเครื่องมุงแพเพื่อกันแดดมาโดยตลอด<br />

ชาวบานบาง<br />

แหงยังเชื่อวาโรงพิธีจะมีผีนางโองกระแชงที่เรียกวา<br />

“นางโอ กระแชงหกเสา” ทําหนาที่รักษาเสา<br />

โรงโนรา และ “นางโอกระแชงสองตอน” ทําหนาที่รักษา<br />

กระแชงที่มุงหลังคาโรงโนราทั้งดานซาย<br />

90


ขวา การมีกระแชงมุงหลังคาจึงถือเปนสัญลักษณและเปนไปตามความเชื่อเรื่องผีนางโองกระแชง<br />

ดวย ดานหลังของโรงพิธีทําเปนเพิงพักของคณะโนรา ดานขวาหรือดานซายของโรง คาดเปนราน<br />

สูงระดับสายตา จากเสาโรงออกไปรับกับไมชายคาที่ยื่นลงมาเพื่อเปนที่วางเครื่องบูชา<br />

เรียกวา<br />

“ศาล” หรือ “พาไล” พื้นโรงปูดวย<br />

“สาดคลา” แลวปูทับดวยเสื่อกระจูด<br />

วางหมอน ปูผาขาวทับ<br />

เรียกวา “สาดหมอน” บนหมอนวางไมแตระและไมกระดานติดเทียน เรียกวา “เทียนครู” หรือ<br />

“เทียนกาศครู” โรงพิธีอาจตกแตงดวยผา กระดาษสี ธงราย และสิ่งของอื่น<br />

ๆ อีกก็ได<br />

อุปกรณประกอบพิธีอื่นๆ<br />

ที่สําคัญ<br />

ไดแก ผาเพดานบนศาลหรือพาไล ผาเพดานใหญในโรง<br />

พิธี ที่วางเทริด<br />

เสื่อ<br />

หมอน เครื่องเชี่ยนพิธี<br />

หมอน้ํามนต<br />

ไมหวาย มีดหมอ บายศรีเล็ก หรือ บายศรี<br />

ปากชาม บายศรีใหญ หรือ บายศรีทองโรง ดอกไม ธูป เทียน หอกแทงจระเข หยวกกลวยทํารูป<br />

จระเข ใบชิงหรือกระแชง ขันลงหิน หนาพรานชาย หนาทาสี เทริด ยาม ธนู เชือกคลองหงส เครื่อง<br />

แตงตัวโนรา หญาคา หญาครุน ใบเฉียงพรา ใบหมากผู<br />

เหรียญเงิน รวงขาว มีดโกน หินลับมีด พระ<br />

ขรรค หนังเสือ หนังหมี สําหรับที่วางหมอน้ํามนตอาจทําดวยไมไผสานเปน<br />

ตะกราทรงสูงเรียกวา<br />

“ตรอม”<br />

เครื่องบูชาประกอบพิธี<br />

จะจัดเครื่องบูชาครูเปน<br />

2 สวน คือ เครื่องบูชาถวายครูบนพาไล<br />

กับ<br />

เครื่องบูชาที่ทองโรง<br />

เครื่องบูชาบนพาไลประกอบดวย<br />

หมาก 9 คํา เทียน 9 เลม เครื่องเชี่ยน<br />

1 สํารับ<br />

กลวย 3 หวี ออย 3 ทอน ขนมในพิธีวันสารทเดือน 10 ไดแก พอง 33 ลา 34 ขนมบา 35 ขนมเบซํา 36<br />

ขนมเทียน 3 สํารับ ขาวสารพรอมหมากพลูเทียนจัดลงในภาชนะที่สานดวยกระจูดหรือเตยขนาด<br />

เล็กเรียกวา “สอบนั่ง”<br />

หรือ “สอบราด” 3 สํารับ มะพราว 3 ลูก เครื่องคาวหวานหรือที่<br />

12 จํานวน 12<br />

33<br />

ขนมพอง หรือขาวพอง ทําจากขาวเหนียวนําไปนึ่งจนสุกแลวอัดเขากับพิมพรูปตาง<br />

ๆ นิยมทํา<br />

เปนรูปวงกลม รูปพระจันทรครึ่งซีก<br />

รูปสามเหลี่ยม<br />

รูปขาวหลามตัด ตากจนแหงแลวนําไปทอด<br />

โดยปกติขาวพองจะเปนสีขาว<br />

34<br />

ขนมลา มี 2 ชนิดเรียก “ลาลอยมัน” และ “ลาเช็ด” ขนมลาทําจากแปงขาวเจา น้ําตาล<br />

ทราย และน้ําตาลเคี่ยว<br />

มีการโรยเสนหรือ การทอดลา คือ นําแปงที่ผสมแลวโรยลงใน<br />

กระทะที่ตั้งไฟออน<br />

พอแปงสุกก็นํามาพับใหไดรูปตามตองการ<br />

35<br />

ขนมบา เปนขนมที่มีลักษณะแปงทอด<br />

ปนเปนรูปกลม<br />

โรยงานทั้งสองดานแลวนําไปทอดจนสุก<br />

36<br />

ขนมเบซํา ลักษณะเปนแปงทอดรูปรางกลม แบน และเจาะรูตรงกลาง บางแหงเรียก ขนมเจาะหู<br />

หรือ ขนมเจาะรู<br />

91


สํารับ หรือ 12 ชนิด เสื่อ<br />

1 ผืน หมอน 1 ใบ ผาขาว 1 ผืน ผานุงหมชาย<br />

1 ชุด ผานุงหมหญิง<br />

1 ชุด<br />

บายศรีปากชาม 1 ปาก หนาพราน หนาทาสี อยางละหนา เทริดตามจํานวนปที่กําหนดวาใหทําพิธี<br />

ครั้งหนึ่ง<br />

เชน ถาทําพิธี 3 ปตอครั้ง<br />

ใชเทริด 3 ยอด ผูกผาดาดเพดานพาไล ใสหมากพลู 1 คํา ดอกไม<br />

3 ดอก เทียน 1 เลม และขาวตอก 3 เม็ด ใตดาดเพดานปูผาขาวบนหมอน วางหัวพราน หัวทาสี ปก<br />

เทียนไวที่หนาพราน<br />

มีไมแตระวางไวหนาเทียนวางเครื่องเชี่ยน<br />

หมอน้ํามนต<br />

เทริด บายศรี และ<br />

เครื่องสังเวยที่เปนของแหงใสสํารับวางไวตลอด<br />

3 วัน สวนอาหารคาวหวานและที่<br />

12 ตองเปลี่ยน<br />

ทุกวัน ทุกสํารับปกเทียนเอาไว นอกจากนี้ยังมี<br />

“ราด” คือเงินกํานลมี 3 บาท หรือ 12 บาท สวน<br />

เครื่องบูชาที่ทองโรงประกอบดวย<br />

ธูปเทียน 9 ชุด ตัดไมเปนแพวางบนหมอนซึ่งวางไวกลางโรงและ<br />

บายศรีทองโรง 1 สํารับ<br />

ภาพที่<br />

31 เครื่องบูชาประกอบพิธี<br />

ที่มา:<br />

สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต เลมที่<br />

8 (2542: 3916)<br />

เครื่องดนตรีและลูกคู<br />

คือ ทับ 1 คู<br />

กลอง 1 ใบ ป<br />

1 เลา โหมง 1 คู<br />

ฉิ่ง<br />

1 คู<br />

ที่ขาดไมได<br />

สําหรับครูคือ แตระ หรือ ไมแตระ<br />

บทที่ใชในพิธีโรงครู<br />

บทประกอบการรอง และมีแตกตางกันออกไปบางตามชนิดของโรง<br />

ครู บทประกอบทารํา หมายถึง บทรองกลอนของโนราที่มีทารําประกอบ<br />

และใชในพิธีกรรมโนรา<br />

โรงครู เชน บทครูสอน บทประถม บทพลายงามตามโขลง บทฝนตกขางเหนือ เปนตน สวนบทรอง<br />

92


หมายถึง บทรองกลอนของโนราที่ไมมีทารําประกอบ<br />

เชน บทกาศครู บทชุมนุมครู บทบูชาครูหมอ<br />

บทสงครู เปนตน<br />

ผูเขารวมประกอบพิธีกรรมโนราโรงครู<br />

นอกจากโนราใหญและคณะโนราแลวก็มีเจาภาพ<br />

ผูมาแกบน<br />

ครอบเทริด ตัดจุก ผูกผา เหยียบเสน และชาวบานโดยทั่วไป<br />

เปนตน<br />

ขั้นตอนการจัดพิธีกรรมโนราโรงครู<br />

โนราโรงครูมี 2 ชนิด คือ โนราโรงครูใหญกับโนราโรงครูเล็ก แตรายละเอียดของพิธีกรรม<br />

บางอยาง เชน รําคลองหงส รําแทงเข(จระเข) ครอบเทริด จะทํากันในโนราโรงครูใหญเทานั้น<br />

นอกจากนี้โนราโรงครูแตละพื้นที่อาจจะมีขอแตกตางกันบาง<br />

พิธีกรรมตาง ๆ เชน การตัดจุก เหยียบ<br />

เสน ตัดผมผีชอ การรําถีบหัวควาย จะมีหรือไมมีก็ได ขึ้นอยูกับความตองการของเจาภาพและ<br />

ผูเกี่ยวของอื่น<br />

ๆ สําหรับโนราโรงครูใหญ จะตองกระทํากัน 3 วัน มีขั้นตอนการจัดพิธีกรรม<br />

ดังนี้<br />

พิธีกรรมในวันแรก ซึ่งเปนวันพุธตอนเย็นเริ่มตั้งแตพิธีไหวภูมิและตั้งศาลพระภูมิ<br />

เชนเดียวกับการตั้งศาลพระภูมิทั่วไป<br />

จากนั้นผูเขารวมจะประกอบพิธีทางศาสนา<br />

โดยนิมนต<br />

พระสงฆ จํานวน 5 รูป มาสวดชัยมงคลคาถา ครั้นเวลาเย็นหรือย่ําค่ําที่ชาวบานปกษใตเรียกวา<br />

“เวลา<br />

นกชุมรัง” คณะโนราจะเขาโรง โดยเจาภาพตองนําหมากพลูไปรอรับที่หนาบาน<br />

คณะโนราจะขน<br />

อุปกรณตาง ๆ เชน เครื่องแตงตัวโนรา<br />

เทริด หนาพราน ฯลฯ เดินเขาโรงพรอมกับประโคมเครื่อง<br />

ดนตรี หัวหนาคณะจะเปนผูนําเขาโรงพรอมกับบริกรรมคาถาวา<br />

“ ออนอ ออพอ ออแม อออา ออแอ<br />

เวียนแวะทองโรง” นําเครื่องและอุปกรณตาง<br />

ๆ ไปวางไวที่กลางทองโรงเรียกวา<br />

“ตั้งเครื่อง”<br />

ไดเวลา<br />

จึงทําพิธี “เบิกโรง” เพื่อเชิญครูหมอโนราใหมาชุมนุมในโรงพิธี<br />

เริ่มจากเอาพานดอกไมธูปเทียน<br />

2 พาน พานแรกวางไวเปนพานครู พานที่<br />

2 เอาเทียน 3 เลม<br />

หมาก 3 คํา คากํานล 3 บาท หรือ 12 บาท เล็บสวมมือ 3 อัน กําไลมือ 3 วง จัดใสพานจุดเทียน 3 เลม<br />

พรอมกับเทียนใหญเรียกวา “เทียนครู” นําเทียน 3 เลมไปปกไวที่กลอง<br />

1 เลม พรอมกับหมากพลู 1<br />

คํา อีก 2 เลม ปกไวที่ทับใบละ<br />

1 เลม หมากพลูใบละ 1 คํา จุดเทียนที่เครื่องสังเวย<br />

บนหนาพราน<br />

หนาทาสี บนยอดเทริด โนราใหญผูรวมพิธียกพานหมากจุดเทียนอีก<br />

1 เลม จับสายสิญจนที่ตอจาก<br />

เพดานหิ้งบูชาครูหมอโนราหรือตายายโนราบนบานเจาภาพมายังโรงโนรา<br />

ตั้งนะโม<br />

3 จบ กลาว<br />

ชุมนุมเทวดา ทําพิธีซัดหมาก เอาหมากคําแรกวางไวที่กลองไปเหน็บหลังคาโรงเพื่อบูชาเทวดา<br />

93


หมากคําที่<br />

2 วางไวที่ทับใบแรกไปสอดไวใตเสื่อเพื่อบูชานางธรณี<br />

หมากคําที่<br />

3 วางไวที่ทับใบที่<br />

2<br />

พรอมกับเทียน 1 เลม นํามาสอดเขาไปในกําไลมือกอน 3 รอบ แลวจึงซัดเขาไปในทับตีทับรัวลูกคู<br />

จะตีเครื่องดนตรีอื่น<br />

ๆ ขึ้นพรอมกันเปนเสร็จพิธี<br />

ตอมาโนราจะ “ลงโรง” คือ ประโคมเครื่องดนตรีลวน<br />

ๆ ประมาณ 12 เพลง จบแลวทํา พิธี<br />

รอง “กาศครู” กลาวคําบูชาพระรัตนตรัย ครูบาอาจารย เทวดาและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ตาง<br />

ๆ เริ่มตั้งแตบท<br />

รองที่เรียกวา<br />

“บทขานเอ” “บทหนาแตระ” “บทรายแตระ” “บทเพลงโทน” ดังตัวอยาง เชน<br />

บทขานเอ<br />

รื่นเอยรื่นรื่น<br />

จะไหวนางธรณีผึ่งแผน<br />

เอาหลังมาพิงเปนแทน รองตีนมนุษยทั้งหลาย<br />

ตีนซายรองหญิง ยังเลาตีนขวารองชาย<br />

นาคเจาฤาสาย ขานใหโนเนโนไน<br />

ฯลฯ<br />

บทหนาแตระ<br />

ฤกษงามยามดี ปานี้ชอบยามพระเวลา<br />

ชอบฤกษจึงเบิกโรง ดําเนินราชครูถวนหนา<br />

ราชครูของนอง ลอยแลวใหลองเขามา<br />

ราชครูของขา มาแลวพออยาพนไป<br />

เชิญพอเขามานั่งนี้<br />

ลูกหยายถายที่ใหพอนั่งใน<br />

มาแลวพอยาพนไป มาอยูเหนือเกลาเกษา<br />

ฯลฯ<br />

บทรายแตระ<br />

ลูกกาศราชครูเทานั้นแลว<br />

ผองแผวเปนเพลงพระคาถา<br />

ลูกไหวนางหงสกรงพาลี<br />

ไหวนางธรณีเมขลา<br />

ไหวบริถิวราชา<br />

ภูมาหาลาภมหาชัย<br />

94


ลูกไหวแมโภควดี<br />

ธรณีเนื้อเย็นไดเปนใหญ<br />

ฯลฯ<br />

บทเพลงโทน<br />

ยกหัตถทั้งสองประคองตั้ง<br />

ยกขึ้นเหนือเศียรรัง<br />

ดังดอกปทุมมา<br />

หัตถทั้งสองประคองเศียร<br />

นั่งไหวเวียนแตซาย<br />

ยายไปหาขวา<br />

ไหวมุนีนาถพระศาสดา<br />

พุทธังธัมมังสังฆา ไหวอาจารย<br />

ฯลฯ<br />

โนราบางคณะเมื่อกลาวบทกาศครูจบแลว<br />

โนราใหญจะรองบทหนึ่งที่วาดวยประวัติความ<br />

เปนมาและขั้นตอนการจัดพิธีกรรมโนราโรงครูเรียกวา<br />

“บทบาลีหนาศาล” ดังตัวอยางตอนหนึ่งวา<br />

บอกบาลีขานเอ วาโนเนโนไน<br />

ลักเลงผูใด<br />

ถาพบในตํารา<br />

หากแตงชูเดิมได เหมือนพลายชางงา<br />

ชาติเชื้อโนรา<br />

เปนเถรเมืองคนหนึ่ง<br />

ตั้งพระไตรโลกแลว<br />

พระแกวรําพึง<br />

ยังขัดของขึง สิ่งหนึ่งไมโถก<br />

ไมไดตั้งชาตรี<br />

ไวเปนที่ประโลมโลก<br />

ระงับดับโศก สนุกสบาย<br />

ฯลฯ<br />

จากนั้นจึงกลาวเชิญครูดวยบทชุมนุมครูและบทเชิญครูโนราใหญและผูเขารวมพิธีจะพรอม<br />

กัน กราบครู โดยกราบพรอมกันจํานวน 9 ครั้ง<br />

เมื่อกราบครูแลวโนราใหญจะรํา<br />

“ถวายครู” คือราย<br />

รําดวยบทตาง ๆ ของโนราเพื่อบูชาครู<br />

และ “จับบทตั้งเมือง”<br />

(โนราบางคณะจะจับบทตั้งเมืองในเชา<br />

วันพฤหัสบดี อันเปนวันที่สองของการรําโนราโรงครู)<br />

บทตั้งเมืองหมายถึง<br />

บทรองเพื่อการจับจอง<br />

95


พื้นที่โรงโนราเปนกรรมสิทธิ์ของตนตามความเชื่อของโนราวา<br />

เมื่อครั้งที่เจาชายนอยหรือขุนศรี<br />

ศรัทธา ไดรําโนราถวายพระยาสายฟาฟาดแลว พระองคไดประทานเครื่องตนของพระองคใหเปน<br />

เครื่องแตงตัวโนรา<br />

โดยเหตุดังกลาวโนราไปตั้งตนที่ไหน<br />

โดยเฉพาะการตั้งโรงครูจะตองมีบทตั้ง<br />

เมืองดวย พิธีตั้งเมืองจะใชขันทองเหลืองหรือขันลงหินใบใหญที่เรียกวา<br />

“แมขัน” โดยคว่ําขันลง<br />

แลวเอา ผาขาวปูทับ ใตขันจะมีขาว 3 รวง ใบเฉียงพรา ใบหมากผู<br />

หญาคา หญาเข็ดมอน มัดเขา<br />

ดวยกัน แลวเอามีดโกน หินลับมีด เงินเหรียญ 1 อัน และเทียนชัยใสรวมเอาไว โนราใหญจะใชเทา<br />

ขวาเหยียบขันแลวรําบทตาง ๆ ตั้งแตบทครูสอน<br />

สอนรํา และบทตั้งเมือง<br />

ดังตัวอยางตอนหนึ่งวา<br />

พอตั้งสิ้นตั้งสุด<br />

ตั้งพวกมนุษยไวใตหลา<br />

ตั้งหญิงคนชายคน<br />

ตั้งเปนพืชเปนผลสืบตอมา<br />

ไดตั้งนางเอื้อยเปนเจาเท<br />

เสร็จแลวตั้งนางเอเปนเจานา<br />

พอตั้งนายคงเปนเจาแดน<br />

ตั้งนายไกรพลแสนเฝารักษา<br />

พอตั้งดวงอาทิตยดวงพระจันทร<br />

ตั้งปตั้งเดือนตั้งคืนวันถัดกันมา<br />

ไหวทาวอาทิตยโคจร ไดตั้งเมืองอุดรบิญจา<br />

เขอเมืองของพระองค นับไดหาพันวา<br />

ตรงนี้แปเมืองราชา<br />

นับไวไดหาโยชนปลาย<br />

พวกจีนไทยแขก จายแจกไปทั่วพาวาย<br />

ตั้งรานคาขาย<br />

รองถวายพระพรแจวแจว<br />

หลังจากรําบทตั้งเมืองแลวก็ถือวาเปนเสร็จพิธีในวันแรก<br />

คณะโนราจะชวยกันยกเครื่อง<br />

สังเวย เทริด หนาพราน หนาทาสี ฯลฯ ไปวางไวบนศาลหรือพาไล เพื่อทําพิธีเซนไหวในวันรุงขึ้น<br />

จากนั้นจะเปนการรําทั่วไปของคณะโนรา<br />

เพื่อใหความบันเทิงแกผูมารวมพิธีและชาวบาน<br />

โดยทั่วไป<br />

พิธีกรรมวันที่สอง<br />

คือวันพฤหัสบดี ถือวาเปนวันครู เปนวันประกอบพิธีใหญ ทั้งเพื่อการ<br />

เซนไหวครู แกบน และพิธีกรรมอื่น<br />

ๆ เริ่มตั้งแตลงโรง<br />

กาศครู เชิญครู เชนเดียวกับวันแรกเพียงแต<br />

วันนี้นอกจากจะเชิญครูใหมาชุมนุมแลวจะมีการเซนไหวและแกบนดวย<br />

บทเชิญครูจึงแตกตางไป<br />

จากวันแรกบาง ดังตัวอยางตอนหนึ่งวา<br />

เชิญพอมาไวไว มารับเอาเครื่องบูชา<br />

ลูกแตงที่เกาแตงที่สิบสอง<br />

ลูกแตงรับรองไวทา<br />

96


ลูกแตงไมขัดไมของ พรอมทั้งขาวพองขาวลา<br />

หมากพราวเลาตาล ของคาวของหวานมีนานา<br />

ลูกแตงไมของไมขัด ผาผลัดลูกแตงเอาไวทา<br />

ราชครูของขา เชิญพอมากันใหพรอม<br />

มาเถิดมาแหละ ราชครูอยาแวะอยาออม<br />

เชิญมาใหพรอม มาชุมนุมบนบรรณศาลา<br />

ในขณะที่โนรารองบทเชิญครู<br />

ครูหมอโนราหรือตายายโนราก็จะเขาทรงในรางทรง ซึ่ง<br />

คน<br />

ทรงจะเตรียมตัวเขาทรงอยูบนบานเจาภาพหรือในโรงโนรา<br />

คนทรงจะตองนุงผาโจงกระเบนใสเสื้อ<br />

สีขาวหรือสีอื่น<br />

ๆ มีผาสไบพาดเฉียงซึ่งสวนใหญนิยมผาขาว<br />

และเตรียมเครื่องบูชาครูคือดอกไมธูป<br />

เทียนไปดวย การเขาทรงเรียกวา “จับลง” จะเห็นไดจากอาการผิดปกติของคนทรง เชน มือ แขน ขา<br />

สั่น<br />

ลําตัวโอนเอนไปมา เมื่อเขาทรงเต็มตัวแลว<br />

คนทรงจะจุดเทียนลุกขึ้นรายรําตามเสียงเชิดของ<br />

ดนตรี ลงมาจากบานเจาภาพ หากคนทรงอยูในโรงโนราจะลุกขึ้นรายรําเชนเดียวกัน<br />

ครูหมอโนรา<br />

หรือตายายโนราบางองคก็จะขึ้นไปบนศาลหรือพาไล<br />

เพื่อตรวจดูเครื่องสังเวย<br />

วามี สิ่งใดขาดหรือ<br />

จัดไมถูกตองก็จะทักทวง เจาภาพตองจัดหาหรือแกไขจนเปนที่พอใจ<br />

ครั้นครูหมอโนราหรือตายาย<br />

โนราลงมานั่งยังโรงพิธีแลว<br />

เจาภาพและลูกหลานก็จะเขาไปกราบไหวสอบถามเรื่องราวตาง<br />

ๆ ขอ<br />

ลาภขอพร แลวนัดแนะกับครูหมอโนรา ในเรื่องวันเวลาที่จะรําโรงครูในโอกาสตอไป<br />

สําหรับการรับเครื่องสังเวย<br />

เมื่อทําพิธีเซนไหวนั้น<br />

ครูหมอโนรา หรือตายายโนราในบาง<br />

แหงจะใชเทียนจุดแลวสองวนไปตามเครื่องสังเวย<br />

แลวจะเอาเทียนนั้นจอเขาปาก<br />

หรืออมควันเทียน<br />

โดยทั่วไปเวลาครูหมอโนราหรือตายายโนราเขาทรงในรางทรงเต็มตัว<br />

ก็มักจะใชเทียนจุดไฟแลวจอ<br />

เขาปากเชนกัน เรียกวา “การเสวยดอกไมไฟ” เมื่อถึงเวลาจะออกจากรางทรงดนตรีจะทําเพลงเชิด<br />

คนทรงจะสะบัดตัวอยางแรงแลวทุกอยางกลับสูอาการปกติเรียกวา<br />

“บัดทรง”<br />

สําหรับพิธกรรมในวันนี้หากมีผูมาขอทําพิธีครอบเทริด<br />

โนราใหญและผูชวยอีกสองคนจะ<br />

แตงตัวเปนพิเศษ เรียกวา “แตงพอก” เพื่อทําพิธีครอบเทริดหรือผูกผาใหญ<br />

รวมทั้งผูเขารับการครอบ<br />

เทริดก็จะตองแตงพอกดวย แตยัง ไมตองสวมเทริด การแตงพอกคือการนุงสนับเพลาแลวนุงผาลาย<br />

ตามแบบโนรา เอาผาขาวมา ผืนหนึ่งพับเขาเปนชั้น<br />

ๆ อยางมีระเบียบตามจํานวนเทริดที่ตั้งบนพาไล<br />

และตองจัดพอง ลาใหครบตามจํานวนผาที่พับ เพื่อเซนไหวครูดวย<br />

ผาขาวแตละชั้นจะตองใสหมาก<br />

1 คํา เทียน 1 เลม เงิน 1 บาท ผูเปนชอไว<br />

1 ครั้ง<br />

เอาปลายขางหนึ่งมาแขวนไวขางสะเอว<br />

ตอจากนั้น<br />

97


จึงนุงผาลายโดยปกติของโนราทับลงแลวจึงใสผาหอยหนา<br />

หางหงส เครื่องลูกปด<br />

และสวมเทริด<br />

เพื่อทําพิธีตอไป<br />

การเซนไหวครูหมอโนราหรือตายายโนรา หลังจากรองบทเชิญครูแลว เจาภาพ ชาวบาน<br />

หรือลูกหลานตายายโนราที่บนบานและสัญญาเอาไววาจะแกบนดวยสิ่งของ<br />

ไมวาจะเปนของคาว<br />

หวาน วัตถุเครื่องใชหรือเครื่องแตงตัวโนราก็จะนํามาสงมอบใหกับโนราใหญพรอมพานดอกไม<br />

ธูปเทียน และเงินทําบุญที่เรียกวา<br />

“เงินชาตายาย” ตามที่ไดบนเอาไว<br />

หรือตามกําลังศรัทธาของ แต<br />

ละคน จากนั้นจะจุดเทียนที่เครื่องสังเวย<br />

เทียนบนยอดเทริด เทียนบนศาลหรือพาไล เทียนครูที่ทอง<br />

โรง รวมทั้งจุดเทียนที่เครื่องสังเวยหนาหิ้งบูชาครูหมอโนราบนบานเจาภาพดวย<br />

โนราใหญ ผูรวม<br />

พิธียกพานดอกไมธูปเทียนขึ้นบูชา<br />

จับสายสิญจนพรอมกัน โนราใหญกลาวนําบูชา พระรัตนตรัย<br />

กลาวชุมนุมเทวดา กลาวชุมนุมครูหมอ กลาวคําแกบน เซนไหว และเชื้อเชิญ<br />

ครูหมอโนราหรือตา<br />

ยายโนรา แลวนําเอาหมากพลูมาบริกรรมคาถามอบใหผูมาแกบนทุกคน<br />

คนละ 1 คํา นําไปกินเพื่อ<br />

ความเปนสิริมงคล เรียกวา “หมากจุกอก”<br />

เมื่อเสร็จสิ้นพิธีเซนไหวและแกบนดวย<br />

สิ่งของแลว<br />

โนราทั่วไปจะรําถวายครู<br />

การรําสอด<br />

เครื่องสอดกําไลและพิธีตัดจุก<br />

หลังจากโนราทั่วไปรําถวายครูแลวก็จะมีการรําสอดเครื่องเพื่อใหครู<br />

โนราไดยอมรับการเปนโนรา โดยเฉพาะโนราที่ผานการฝกใหม<br />

ๆ สวนการ รําสอดกําไล หรือ<br />

ไหฺมฺร เปนพิธีกรรมเพื่อรับศิษยเขาฝกการรําโนรา<br />

ทั้งที่เคยหัดรํามาแลวและยังไมเคยหัดรํามากอน<br />

โดยผูปกครองจะนําบุตรหลานของตนมาพรอมพานดอกไมธูปเทียนและเงิน<br />

12 บาท ไปกราบครู<br />

โนรา โนราใหญรับมอบเครื่องบูชาแลวก็จะสอบถามเพื่อยืนยันความสมัครใจและคํายินยอมจาก<br />

ผูปกครอง<br />

จากนั้นนํากําไลมาสวมมือใหประมาณ<br />

3 วง แลวจับมือทั้งสองของเด็กยกขึ้นตั้งวง<br />

เพื่อ<br />

เอาเคล็ดในการรําโนรา สวนการรําสอดเครื่องหรือที่เรียกวา<br />

“จําผา” ผูเขาพิธีตองจัดพานดอกไมธูป<br />

เทียน และเงิน 12 บาท ไปกราบครูโนรา เมื่อไดรับการยืนยันถึงความ<br />

สมัครใจแลวโนราใหญจะรด<br />

น้ํามนตเสกเปาดวยคาถาแลวมอบเครื่องแตงตัวโนราที่เรียกวา<br />

“เครื่องตน”<br />

ใหผูเขาทําพิธีไปแตงตัว<br />

และออกมารําถวายครูโดยการรําบทครูสอน บทสอนรํา ตามเวลาอันสมควร เปนเสร็จพิธี<br />

จากนั้นจึงทําพิธีตัดจุก<br />

โดยผูปกครองนําพานดอกไมธูปเทียน<br />

เงิน 12 บาท มามอบใหโนรา<br />

ใหญพรอมกับตัวเด็ก คณะโนราจะใหเด็กนั่งลงบนผาขาว<br />

โนราใหญและครูหมอโนราองคสําคัญ ๆ<br />

ในรางทรง เชน พระมวงทอง ขุนศรีศรัทธา ทําพิธีรายรําถือไมหวายเฆี่ยนพรายและกริช<br />

พรอมกับ<br />

นําน้ํามนตมาประพรมที่ศีรษะเด็ก<br />

และเอามือจับที่จุกของเด็ก<br />

บริกรรมคาถา ดนตรีเชิด จากนั้นจึงใช<br />

98


กริชตัดจุกของเด็กพอเปนพิธี เสร็จแลวประพรมน้ํามนตอีกครั้ง<br />

สงตัวเด็กใหพอแมหรือผูปกครอง<br />

พาเด็กไปตัดหรือโกนผมจริงตอไป<br />

พิธีครอบเทริดหรือผูกผาใหญ พิธีครอบเทริดหรือผูกผาใหญ จะทําหลังจากพิธีตัดจุกแลว<br />

หากผูเขาพิธียังไมเคยตัดจุกจะตองทําพิธีตัดจุกกอน<br />

เพื่อแสดงวาเปนผูใหญแลว<br />

และจะตองมีอายุ<br />

ครบ 22 ป ยังไมแตงงาน หากแตงงานมาแลวจะตองทําใบหยารางโดยสมมุติกับภรรยาเพื่อไมให<br />

เปนปราชิกตามความเชื่อ<br />

ในอดีตเมื่อครอบเทริดแลวจะตองไปรําโนราใหครบ<br />

3 ครั้ง<br />

เรียกวา “รํา 3<br />

วัด” หรือ “รํา 3 บาน” แลวจึงมาเขาพิธีอุปสมบทจึงถือวาเปนโนราโดยสมบูรณ แตในปจจุบัน<br />

สามารถอุปสมบทไดเลย พิธีครอบเทริดหรือผูกผาใหญ เริ่มโดยผูเขาพิธีจัดพานดอกไม<br />

ธูปเทียน<br />

และเงิน 12 บาท เขาไปกราบครูโนรา โนราใหญจะจัดใหนั่งบนขันสิบสองนักษัตร<br />

ที่วางคว่ําครอบ<br />

ขันอีกใบหนึ่ง<br />

ซึ่งใสน้ํา<br />

มีดโกน หินลับมีด ใบเงิน ใบทองหลาง ใบยอ แตบางแหงเอาใบเงินกับใบ<br />

ทองหลางมาวางซอนกันบนเสื่อกลางโรงใหผูเขาพิธีนั่งบน<br />

เหนือที่นั่งจะผูกเทริดหอยไวโดยมี<br />

สายสิญจนผูกโยงไปใหโนราใหญ ซึ่งตอนนี้เรียกวา<br />

“อุปชฌาย” โนราอีก 2 คน เรียกวา “คูสวด”<br />

เสนหนึ่ง<br />

หากผูเขาพิธีนิมนตพระสงฆมาในพิธีดวย<br />

ก็จะผูกโยงสายสิญจนไปใหพระภิกษุถือไวเสน<br />

หนึ่ง<br />

อีกเสนหนึ่งผูกโยงไปใหบิดามารดาและญาติพี่นองของผูเขาพิธีถือไว<br />

เมื่อจะครอบเทริด<br />

ผูถือ<br />

สายสิญจนทั้ง<br />

3 เสน จะคอย ๆ ผอนเชือกหยอนเทริดลงมา โนราคนใดคนหนึ่งจะจับเทริดใหครอบ<br />

ศีรษะพอดีขณะที่หยอนเทริด<br />

หากไมมีพระภิกษุในพิธีโนราใหญหรือโนราผูชวย<br />

จะสวดมนต<br />

เชนเดียวกับพระใหชยันโต เมื่อเสร็จแลวดายที่ผูกเทริดจะพันเทริดเอาไวจากนั้นโนราใหญก็จะทํา<br />

พิธีมอบเครื่องหมายความเปนโนรา<br />

หรืออุปกรณในการรํา มีพระขรรค หอกแทงเข เปนตน เพื่อ<br />

แสดงวาไดเปนโนราใหญและสามารถประกอบพิธีโนราโรงครูไดตอไป หลังจากนั้นโนราที่ไดรับ<br />

การครอบเทริดจะรําถวายครู โดยเริ่มรําที่นักหรือพนัก<br />

ซึ่งจัดเตรียมไวตั้งแตบทสรรเสริญคุณครู<br />

บท<br />

ครูสอน บทสอนรํา บทประถม และรําทําบทพอเปนพิธี เปนอันแลวเสร็จ<br />

พิธีแกบน ดวยการรําโนราถวายครูและการรําออกพรานหรือจับบทออกพราน หลังจากพิธี<br />

ครอบเทริดแลว โนราหรือชาวบานที่ไดบนบานเพื่อขอความชวยเหลือครูหมอโนราหรือบนบาน<br />

เพราะถูกตายายลงโทษ และไดสัญญาหรือทําทานบนไววาจะแกบน ดวยการรําโนราหรือจับบท<br />

ออกพราน จะมาแกบนกันในตอนนี้<br />

โดยชวงเชาจะแกบนไดเฉพาะผูที่จะแกบนดวยการรําโนรา<br />

เริ่ม<br />

ตั้งแตแตงตัว<br />

แลวนําพานดอกไม ธูปเทียน เงิน 12 บาท หรือตามที่ครูโนรากําหนด<br />

ไปมอบใหโนรา<br />

ใหญหรือครูหมอโนราในรางทรงที่ตนไดบนบานเอาไว<br />

จากนั้นโนราใหญหรือผูชวยจะเปน<br />

ผูนําใน<br />

การรําแลวใหผูแกบนรําตาม<br />

บทที่ใชรําแกบนมี<br />

บทสรรเสริญคุณครู บทครูสอน บทสอนรําซึ่งจะรํา<br />

99


บทตาง ๆ พอเปนพิธี จบแลวไปกราบครูโนราอีกครั้ง<br />

และรับการประพรมน้ํามนต<br />

สวนการแกบน<br />

ดวยการออกรําพรานหรือจับบทออกพราน จะแกบนไดในเวลาที่เลยเที่ยงวันไปแลว<br />

ผูแกบนจะตอง<br />

แตงตัวพรานนําเครื่องบูชามามอบใหโนราใหญ<br />

เชนเดียวกับการแกบนดวยการรําโนรา โนราใหญ<br />

หรือผูชวยจะเปนผูนําในการจับบทออกพรานแลวใหผูแกบนรําตาม<br />

บทที่ใช<br />

เชน บทพระราม บท<br />

ขุนชางขุนแผน เปนตน<br />

พิธีผูกผาปลอย เปนการประกอบพิธีกรรมเพื่อตัดขาดจากความเปนโนรา<br />

และไมถูกครูหมอ<br />

โนราหรือตายายโนราลงโทษ การทําพิธีผูกผาปลอยอาจทําในเวลากลางคืนของวันพฤหัสบดีก็ได ผู<br />

เขาพิธีเตรียมพานดอกไม ธูปเทียน เงิน 12 บาท มามอบใหโนราใหญ กราบขอขมาครูโนราและบอก<br />

ความจําเปนที่ตองเลิกรําโนรา<br />

จากนั้นโนราใหญจะมอบเครื่องแตงตัวโนราใหผูเขาทําพิธีนําไป<br />

แตงตัวแลวออกรําโนราเปนครั้งสุดทายอยางเต็มความสามารถ<br />

จบแลวโนราใหญจะเรียกไปถาม<br />

คํายืนยันอีกครั้ง<br />

จากนั้นโนราใหญบริกรรมคาถาใหตัดขาดจากความเปนโนรา<br />

แลวใหผูเขาพิธี<br />

ออกไปนอกโรงโนราและถอดเครื่องแตงตัวโนราออกแลวนําเครื่องแตงตัวโนราทั้งหมดสงใหโนรา<br />

ใหญโดยตองสงทางขางหลังตนเอง และไมหันไปมองโรงโนราเปนเสร็จพิธีในวันที่สอง<br />

เมื่อเสร็จ<br />

พิธีกรรม ตาง ๆ แลวก็จะเปนการรําทั่วไปเพื่อใหความบันเทิงแกผูชมและถือวาเปนการรําถวายครู<br />

ดวย<br />

พิธีกรรมในวันที่สาม<br />

คือวันศุกรอันเปนวันสุดทายของพิธีกรรมโนราโรงครูใหญ โดยเริ่ม<br />

ตั้งแตลงโรง<br />

กาศครู เชิญครู และรําทั่วไปเพื่อถวายครูเชนเดียวกับวันที่หนึ่งและวันที่สอง<br />

จากนั้น<br />

คณะโนราก็จะรําบทที่เรียกวา<br />

“สิบสองบท สิบสองเพลง” เชน บทสอนรํา บทประถม<br />

บทนางนกจอก บทนกกาน้ํา<br />

บทพระสุธน-นางมโนราห บทไกรทอง ดังตัวอยาง เชน<br />

บทพระสุธน-นางมโนราห<br />

ขอแสดงแจงเรื่องในเบื้องบท<br />

ครบกําหนดสิบสองทํานองสาร<br />

กลาวถึงนางมโนราหปรีชาชาญ สิทธาจารยจะเอาไปเผาไฟ<br />

บทพระรถ-เมรี<br />

นางจึงขึ้นไปวอนแกแมผัว<br />

เปนบุญตัวไดรอดไมตักษัย<br />

ไดปกหลีกหนีแมผัวไป สูเวียงชัยไกรลาสปราสาทนาง<br />

100


ฝายพระรถบทซ้ําทําลูกไม<br />

ไดถามไถแกแมรีไมเหินหาง<br />

ลวงใหกินสุราพูดจากันไปพลาง ถามตางตางนางแจงไมแพรงพราย<br />

ฯลฯ<br />

การเหยียบเสน หลังจากโนรารําบทสิบสองบทสิบสองเพลงแลว ก็จะทําพิธีเหยียบเสน เสน<br />

เปนเนื้องอกที่ขึ้นจากระดับผิวหนังเปนแผน<br />

ถามีสีแดงเรียกวา “เสนทอง” ถามีสีดําเรียกวา “เสนดํา”<br />

เสนไมทําใหเจ็บปวดหรือมีอันตราย เสนอาจจะงอกบนศีรษะ บนใบหนา บางสวนของรางกาย ทํา<br />

ใหดูนาเกลียด ถาเปนกับเด็กเสนอาจจะโตขึ้นตามอายุ<br />

ชาวบานและคณะโนราเชื่อวาเสนเกิดจากการ<br />

กระทําของ “ผีโอกระแชง” หรือ “ผีเจาเสน” หรือเพราะการทําเครื่องหมายของครูหมอโนราหรือตา<br />

ยายโนรา เสนรักษาใหหายไดโดยการเหยียบเสนของโนราในโรงพิธีกรรมโนราโรงครู ดังนั้นผูที่<br />

เปนเสนหรือผูปกครองตองจัดเตรียมเครื่องประกอบพิธีมามอบใหโนราใหญไดแก<br />

ขันน้ําหรือถาด<br />

ใสน้ํา<br />

หมากพลู ธูปเทียน ดอกไม มีดโกน หินลับมีด เงินเหรียญ เครื่องเงินเครื่องทอง<br />

หญาคา หญา<br />

เข็ดมอน รวงขาว และเงิน 32 บาท (ในอดีตใช 12 บาท) จากนั้น<br />

โนราใหญจะเอาน้ําใสขันหรือถาด<br />

พรอมดวยอุปกรณอื่น<br />

ๆ ที่ไดเตรียมมา<br />

ทําพิธีจุดเทียน ชุมนุมเทวดา ชุมนุมครูหมอโนรา ลงอักขระ<br />

ขอมที่หัวแมเทาของโนราใหญ<br />

แลวรําทาแบบเฆี่ยนพราย<br />

หรือ “ทายางสามขุม” มีโนราหรือครูหมอ<br />

โนราในรางทรงรําประกอบโดยถือกริช พระขรรค โนราใหญเอาหัวแมเทาไปแตะตรงที่เปนเสน<br />

แลวเอาหัวแมเทาเหยียบเบา ๆ ตรงที่เปนเสนแลวหันหลังใหผูที่เปนเสน<br />

วาคาถากํากับใน<br />

ขณะเดียวกันโนราหรือครูหมอโนราในรางทรง ก็จะเอากริชพระขรรค ไปแตะที่เปนเสนพรอมกับ<br />

บริกรรมคาถา ทําเชนนี้<br />

3 ครั้ง<br />

เสร็จแลวเอามีดโกน หินลับมีด และของอื่น<br />

ๆ ในขันน้ ําหรือถาดไป<br />

แตะที่ตัวผูเปนเสน<br />

จนครบทุกอยาง เปนเสร็จพิธี จากพิธีกรรมดังกลาวเชื่อวาเสนจะคอย<br />

ๆ หายไป<br />

ถาไมหายก็ใหทําซ้ําอีกจนครบ<br />

3 ครั้ง<br />

เสนจะหายไปในที่สุด<br />

การตัดผมผีชอ ผมผีชอหรือผมที่จับตัวกันเปนกระจุกโดยธรรมชาติเหมือนผูกมัดเอาไว<br />

ตั้งแตแรกคลอด<br />

(ปจจุบันพบนอยมาก) ชาวบานและคณะโนราบางแหงเชื่อวาผมผีชอเกิดจากความ<br />

ตองการของครูหมอโนราหรือตายายโนรา ที่จะทําใหบุคคลบางคนเปนโนราหรือคนทรงครูหมอ<br />

โนราจึงผูกผมเปนเครื่องหมายเอาไว<br />

โดยเฉพาะครูหมอโนราหรือตายายโนราฝายอิสลามไดแก<br />

โตะหัวดํา ยินมูหมี<br />

และลูกสาวของโตะหัวดํา คือ จันจุหรี ศรีจุหรา เชื่อวาถาใครตัดผมนี้ออกดวย<br />

ตัวเองจะเกิดโทษภัย แตแกไดโดยใหโนราใหญตัดออกในพิธีกรรมโนราโรงครู ผมที่ตัดออกแลวให<br />

เก็บไวกับตัวผูเปนเจาของ<br />

เชื่อวาจะเปนของขลังสามารถปองกันอันตรายได<br />

แตโนราใหญจะตองทํา<br />

พิธีขออนุญาตจากครูหมอโนราหรือตายายโนราเสียกอน หากไมอนุญาตแมจะตัดผมออกแลวก็จะ<br />

101


ผูกผมใหมอีก ผูเขาพิธีตองเตรียมพานดอกไม<br />

ธูปเทียน เงิน 12 บาท มามอบใหโนราใหญทางคณะ<br />

โนราจะเตรียมกรรไกร มีดหมอ หรือพระขรรคเอาไว เริ่มพิธีโดยบริกรรมคาถา<br />

ผูเขาพิธี<br />

ปูผาขาว<br />

รองรับผมของตนเอง โนราใหญทําน้ํามนตรรดหัวผูเขาพิธี<br />

แลววา “ทาสามยาง” หรือ “ทายางสาม<br />

ขุม” ตัดผมที่จับตัวกัน<br />

3 ครั้ง<br />

ดวยกรรไกร พระขรรค หรือมีดหมอ เก็บผมที่ตัดออกแลว<br />

3 ครั้ง<br />

เรียกวา “สามหยิบ” มอบใหผูเขาพิธีหรือผูปกครองไปเก็บรักษาไวที่บาน<br />

เชื่อวาหลังจาก<br />

ตัดผมผีชอ<br />

ออกแลว ผมที่งอกขึ้นใหมจะไมผูกกันเปนกระจุกอีกตอไป<br />

การรําคลองหงส ใชรําเฉพาะพิธีครอบเทริดหรือผูกผาใหญและพิธีเขาโรงครูเทานั้น<br />

เพื่อให<br />

พิธีสมบูรณในการรําใชผูรํา<br />

8 คน โดยโนราใหญเปน “พญาหงส” โนราอื่น<br />

ๆ อีก 6 คน เปนหงส<br />

และผูรําเปนพราน<br />

1 คน วิธีสมมุติทองโรงเปนสระอโนดาต ดังความในบทรองกลอนรําคลองหงส<br />

ตอนหนึ่งวา<br />

สอดปกสอดหางไวไว เราหวังจะไปที่สระ<br />

ผูพี่บินกอน<br />

พรอมทั้งหกหลอนรอนตามหลัง<br />

เสร็จแลวมาถึง จับตนไทรอึงแลวจินรจา<br />

ปกษีตีวงรอนลงสระ มาชําระสระสงพระคงคา<br />

จากนั้นจึงรองกลอนบททํานองพญาหงส<br />

ดังตัวอยาง เชน กลอนรําคลองหงสตอนหนึ่งวา<br />

(ทอยติหนิ้งติ้งชาเจาพญาหงสเหอ)<br />

ปกเจาออนออนรอนลงในดงไผ<br />

แลหนาแลตาเจาดีดี<br />

เหตุไหนไปมีผัวเมืองไกล<br />

รอนลงในดงปาไผ<br />

(ทอยติหนิ้งติ้งชาเจาพญาหงสเหอ)<br />

ตอนที่หงสกําลังรองกลอนบททํานองพญาหงส<br />

พรานจะออกมาดอม ๆ มอง ๆ เพื่อเลือก<br />

คลองพญาหงส พอจบบทกลอนพรานเขาจูโจมไลคลองหงส<br />

ดนตรีเชิด หงสวิ่งหนีเปนรูป<br />

“ยันต<br />

เตาเลือน” (เปนยันตที่เขียนหรือลงอักขระบนรูปตัวเตาหรือกระดองเตา<br />

เพื่อใชปองกันตัวปองกัน<br />

เสนียดจัญไร และใหเกิดโชคลาภเมตตากรุณา) นายพรานไลคลองไดพญาหงส พญาหงสใช<br />

102


สติปญญา จนสามารถหลุดจากบวงเปนจบการรํา เชื่อกันวาการรําคลองหงสในโรงครู<br />

ทั้งตัวพญา<br />

หงสคือโนราใหญและผูแสดงเปนพรานมีครูโนราเขาทรงดวย<br />

การรําแทงเข (จระเข) ใชรําเฉพาะในพิธีกรรมโนราโรงครูเทานั้น<br />

โดยจะรําหลังจาก คลอง<br />

หงสแลว มีผูรํา<br />

7 คน โนราใหญจะรําเปน “นายไกร” ที่เหลืออีก<br />

6 คน เปนสหายของนายไกร<br />

อุปกรณมีเข(จระเข) 1 ตัว ทําจากตนกลวยพังลา (กลวยตานี) ตนโต ๆ ขุดใหติดเหงา นํามาแกะสลัก<br />

สวนเหงาใหเปนหัวเข ขาใชหยวกตัดเปนรูปขาแลวใชไมเสียบไว ทําหางดวยทางมะพราว เมื่อเสร็จ<br />

แลวใชไมขนาด 2 คืบ 4 อัน ปกเปนขาหยั่ง<br />

เชื่อกันวา<br />

คนที่จะทําตัวจระเขนั้นจะตองเปนผูมีความรู<br />

ทางเวทยมนตรคาถา เพราะหลังจากทําตัวจระเขเสร็จแลวจะตองทําพิธีบรรจุธาตุ เรียกวิญญาณไป<br />

ใส เบิกหูเบิกตาเรียกเจตภูติไปใส หากทําไมถูกตอง ก็อาจเปนเสนียดจัญไรแกตนเอง กอนนําเขาพิธี<br />

คนทําจระเขตองทําพิธีสังเวยครูดวยหมากพลู ดอกไม ธูปเทียน และเหลาขาว แลวนําไปวางขางโรง<br />

โนราดานตะวันตก ใหจระเขหันหัวไปทางทิศหรดี หากหันหัวไปทางทิศอีสานโนราจะไมแทง บน<br />

ตัว หัว และหางจระเขติดเทียนไวตลอด ดานหนาโรงที่จะไปแทงเข<br />

จะตองเอาหยวกกลวยพังลา<br />

(กลวยตานี) 3 ทอน มาทําเปนแพเพื่อใหโนราเหยียบกอนออกไปแทงเข<br />

นอกจากนี้หอก<br />

7 เลม<br />

เรียกชื่อตางกัน<br />

เชน หอกพิชัย คอกระบวย ใบตะกง ปานฉนะ เปนตน การรําแทงเขจะเริ่มดวยโนรา<br />

ใหญจุดเทียนตรงบายศรีและที่ครู<br />

แลวขึ้นบทเพลงโทน<br />

(จับบทไกรทอง) เนื้อความเปนการทําขวัญ<br />

นายไกร และการละเลนในพิธีทําขวัญดังตัวอยางตอนหนึ่งวา<br />

วันเสารเกาชั้นตาครูลั่นโหมง<br />

ใหไกรทองเขาโรงพระพิธี<br />

พรอมดวยบิดรและมารดา ใหญาติวงศานั่งใกลบายศรี<br />

ตาครูจุดเทียนเวียนแวนหวี วาดไวเกาที่รองเชิญขวัญ<br />

หมูพวกขุนโขนคนงาน<br />

หัวลานนมยานแลนไปพลัน<br />

มวยออกรํางาตั้งทาขัน<br />

สองเทาประจัญกันเขาลอง<br />

พวกแขกโลหิตถือกริชวี มือจับกระบี่ตีกระบอง<br />

มารํากระบี่ตีไมสอง<br />

นั่งยองมองรับเขาจับกัน<br />

แสนสนุกครึกครื้นเจ็ดคืนวัน<br />

มาเลนงานทําขวัญเจาไกรทอง<br />

จากนั้นโนราจะเปลี่ยนเรื่องมาจับเรื่องราวฝายชาละวันวา<br />

เกิดนิมิตฝนประหลาดจึงตองไป<br />

หาพระอัยกาใหเปนผูทํานายฝน<br />

พระอัยกาไดทํานายฝนใหวาเปนลางรายจะตองถึงแกชีวิต จากนั้น<br />

ดนตรีทําเพลงเชิด โนราวาบทสัดดีใหญ รายรําดวยทารําที่แสดงอํานาจองอาจสงางามแลวออกจาก<br />

103


โรงไปแทงเข กอนออกจากโรงบริกรรมคาถาแทงเข โดยเอาหัวแมเทากดพื้นแลวกลาววา<br />

“พุทธัง<br />

ระงับจิต ธัมมัง ระงับใจ สังฆัง สูไป ตัวสูคือทาน ตัวกูคือพระกาล ธัมมัง พุทธัง อะระหัง สูอยาอื้อ<br />

บรรดาศัตรู เหยียบดิน กินน้ํา<br />

หายใจเขาออกตองแสงพระอาทิตย พระจันทร ทํารายแกขาพเจาไมได<br />

มีญาเตร จาเม ปวิสติ”<br />

ตอจากนั้นโนราออกจากโรงใชเทาเหยียบแพหยวก<br />

แลวกลาว บริกรรมคาถาวา “นางณีเจา<br />

ขา ตัวยังหรือไม สังขาตั้ง<br />

โลกังชา นาติ ติโล กาวิทู ขาพเจาจะออกไป อยาใหมีภัยอันตราย พุทธัง<br />

ระงับจิต ธัมมัง ระงับใจ สังฆัง สูไป ตัวสูคือทาน ตัวกูคือพระกาล อัมมิพุทธัง อะระหัง สูอยาอื้อ<br />

บรรดาศัตรู เหยียบดินกินน้ํา<br />

หายใจเขาออก ตองแสงอาทิตยพระจันทร ทํารายแกขาไมได มาอยูแก<br />

ขาพเจาใหหมด” จากนั้นโนราใหญผูรําเปนสหายนายไกร<br />

ครูหมอโนรา ก็รายรําไปยังตัวจระเข แลว<br />

โนราใหญกลาวบริกรรมคาถากํากับวา “โอมธรณีสาร กูคือผูผลาญ<br />

อุบาทวใหไดแกเจาไหร จังไหร<br />

ใหไดแกนางธรณี สิทธี ไดแกตัวกู” แลวจึงใชหอกแทงเข เอาเทาถีบใหเขหงายทอง โนราคนอื่น<br />

ๆ ก็<br />

ใชหอกแทงเขตอจากโนราใหญ แลววาบทปลงอนิจจัง กรวดน้ําใหชาละวัน<br />

จบแลววาคาถาถอน<br />

เสนียดจากเข เปนอันจบกระบวนรํา<br />

เมื่อรําบทแทงเขแลวคณะโนรากลับเขาโรงโนรา<br />

จากนั้นโนราใหญจึงรองบท<br />

“ชาครูหมอ”<br />

หรือ “ชาตายาย” เพื่อเปนการบูชาครูหมอโนราหรือตายายโนรา<br />

โดยเจาภาพลูกหลานตายายโนราจะ<br />

นําเงินบูชาครูตามกําลังศรัทธาเรียกวา “เงินชาครูหมอตายาย” เพื่อทําบุญอุทิศสวนกุศลไปให<br />

ครู<br />

หมอโนราหรือตายายโนรา โนรารองบทชาครูหมอพรอมกับขอพรครูหมอโนราหรือตายายโนรา<br />

ใหแกเจาภาพและลูกหลานตายายโนรา ดังตัวอยางบทชาครูหมอตอนหนึ่งวา<br />

สุขีสุขี รอยปอยามีความเจ็บไข<br />

ความชั่วอยาเขามาใกล<br />

ความไขใหไกลกายา<br />

ลูกหลานยกยางไปขางไหน ตายายตามไปชวยรักษา<br />

ลูกหลานจะไปทําไร ใหขาวงามไดเทียมปลายปา<br />

เจาทองแสแท ดีแกะดีเคียวไมเกี่ยวเอา<br />

ขาวงามไดเทียมภูเขา ไดเมล็ดเจ็ดเกวียน<br />

เจาทองผมหนอ ลากมาดวยลอดวยเกวียน<br />

ตอจากบทชาครูหมอตายายและลูกหลานไดอุทิศสวนกุศลไปใหครูหมอโนราหรือตายาย<br />

104


โนราแลว โนราใหญจะรองบท “สงครู” เพื่อสงครูหมอโนราหรือตายายโนรากลับ<br />

ดังตัวอยาง บท<br />

รองตอนหนึ่งวา<br />

ซายมาแลวพวกเรา ใบไมมันเหงาเหงาไปทั้งปา<br />

ซายแลวเวลา พวกโนราจะลาโรง<br />

ไมอาจบาไปตามนอง เหมือนเจาพลายทองตามโขลง<br />

ชางไปไมลืมโรง โขลงไปไมลืมนองหนา ตัดวารองสง ทุกองคพระเทวดา<br />

แรกเชาเชิญมา ถึงเวลารองสงใหพอไป<br />

ไปหนาใหมีลาภ ลูกอยูหลังใหมีชัย<br />

เชิญไปพอไป สงเทียนทางสองแพรก<br />

แพรกหนึ่งไปไทย<br />

แพรกหนึ่งไปแขก<br />

ถึงทางสองแพรก แยกไปเถิดพระเทวดา<br />

เสร็จจากสงครูหมอโนราหรือตายายโนราแลวโนราใหญก็จะทําพิธี“ตัดเหฺมฺรย”(ตัด<br />

ทานบน) ซึ่งเปนพิธีตัดเครื่องบูชาและเครื่องเซนไหวตายายใหขาดแยกจากกัน<br />

เปนเคล็ดวา<br />

“เหฺมฺรย” หรือ พันธะสัญญาที่เคยใหไวแกครูหมอโนราหรือตายายโนราไดขาดกันแลว<br />

สิ่งที่โนรา<br />

ใหญตัดไดแก บายศรีทองโรง เชือกมัดขื่อโรงจากบนศาลหรือพาไล<br />

3 ตับ เชือกผูกผาเพดาน ศาล<br />

หรือพาไล 1 มุม เชือกผูกผาเพดานทองโรง 1 มุม และหอเหฺมฺรย ซึ่งวางอยูบนศาลหรือพาไล<br />

วิธี<br />

ตัดเหฺมฺรยโนราใหญจะถือมืดหมอ 1 เลม เทียน 1 เลม หมากพลู 1 คํา ไวในมือขวาแลวรําทา<br />

ตัดเหฺมฺรย โดยตัดแตละอยางที่กลาวมาแลวไปตามลําดับ<br />

ขณะที่ตัดจะวาคาถากํากับไปดวย<br />

เสร็จ<br />

แลวเก็บเครื่องบนศาลหรือพาไลไปวางไวนอกโรง<br />

ทําพิธีพลิกสาดพลิกหมอน รําบนสาด แลวถอด<br />

เทริดออก เปนอันเสร็จพิธีการรําโนราโรงครู แตหากเจาภาพบนครูหมอโนราหรือตายายโนราเอาไว<br />

วาจะแกบนดวยหัวควาย โนราใหญก็จะทําพิธีแกบนให พิธีแกบนดวยหัวควายหรือที่เรียกวา<br />

“การ<br />

รําถีบหัวควาย” มีอยู<br />

3 ลักษณะดวยกัน คือ<br />

การรําถีบหัวควาย ชาวบานและคณะโนราเชื่อวาครูหมอโนราหรือตายายโนราที่ตองแกบน<br />

ดวยหัวควายคือ “ทวดเกาะ” คําวาเกาะตามความเขาใจของชาวบานวาเปนสถานที่ศักดิ์สิทธิ์หรือเปน<br />

ที่อยูของสิ่งศักดิ์สิทธิ์<br />

เชน ทวดงู ทวดเสือ เปนตน แตบางแหงเชื่อวาเปนพิธีกรรมเพื่อบูชา<br />

“ผีแชง”<br />

ซึ่งเปนผีจําพวกหนึ่งทําหนาที่ประจําเสาและเฝาโรงโนรา<br />

ผูแกบนจะนําหัวควายที่ฆาแลวมาตมหรื<br />

อยางใหสุก จัดถาดเพื่อวางหัวควายโดยมีผาขาวปูรองในถาดแลวนําไปตั้งไวบนศาลหรือพาไลใน<br />

105


วันพฤหัสบดี วันศุกรเอาหัวควายลงมาวางไวที่พื้นโรงผูกติดกับเสาโรงที่อยูใกลศาลหรือพาไล<br />

หลังจากโนราใหญทําบทคลองหงสและแทงเขแลว ก็ขึ้นไปเซนไหวครูหมอโนราบนศาลหรือพาไล<br />

พรอมดวยตัวแทนเจาภาพ สวนคนอื่นจับดายสายสิญจนที่ตอลงมาจากศาลหรือพาไล<br />

เสร็จแลวดึง<br />

สายสิญจนไปพันที่เขาควายและจุดเทียนบนหัวควาย<br />

โนราใหญจับบท “ทรพี” จบแลวบริกรรม<br />

คาถา รําทายางสามขุมใชมีดหมอหรือดาบฟนที่หัวควายเพื่อตัดดายสายสิญจน<br />

แลวจึงใชเทาถีบหัว<br />

ควายใหออกไปนอกโรงครู เปนเสร็จพิธี<br />

การรําฟนหัวควาย เปนการแกบนดวยหัวควายเชนเดียวกันแตทําพิธีหรือรําฟนหัวควาย พิธี<br />

ฟนหัวควายทําเหมือนกับการรําโรงครูแกบนทั่วไป<br />

แตเจาภาพตองฆาควายแลวเอามาวางไวที่หนา<br />

โรงโนราทั้งตัว<br />

เมื่อโนรารําโรงครูจนครบ<br />

3 วัน แลวจึงออกจากโรงไป เปนการจบการรําโนรา โรง<br />

ครู แลวกลับเขาอีกครั้งเพื่อทําพิธีฟนหัวควายหรือรําฟนหัวควายโดยใชมีด<br />

“อายแดง” (มีดพราชนิด<br />

หนึ่ง<br />

หัวตัดเฉียง ดามสั้น<br />

ปลายดามโคงลง) ที่ลงอักขระอาคมแลว<br />

มาเปนอาวุธสําหรับฟน โนราจับ<br />

บททรพีเชนเดียวกับการรําถีบหัวควาย บริกรรมคาถาแลวรําทายางสามขุมไปฟนที่หัวควายวาบท<br />

อนิจจัง เปนเสร็จพิธี<br />

การรําบายหัวควาย เปนการแกบนดวยหัวควายเชนเดียวกับการรําถีบหัวควาย แตเมื่อรํา<br />

โนราโรงครูครบ 3 วันแลว โนราก็จับบททรพีแลวใชมือและเทาชี้ไปที่หัวควาย<br />

บริกรรมคาถา หัน<br />

หัวควายใหเบนไปจากทิศเดิม เรียกพิธีกรรมนี้วา<br />

“บายหัวควาย” เชนหัวควายหันหนาไปทางทิศ<br />

อีสาน เมื่อทําพิธีบายแลวใหหัวควายหันหนาไปทางทิศหรดี<br />

เปนตน<br />

สรุปไดวาประเพณีการรําโนราโรงครูยังคงมีบทบาทและหนาที่ตอการตอบสนองความ<br />

ตองการและชวยแกไขปญหาใหกับคนในสังคมทั้งดานรางกายและจิตใจ<br />

รวมทั้งมีบทบาทสําคัญตอ<br />

ระบบความเชื่อและความรูสึกนึกคิดของประชาชนในภาคใต<br />

ปญหาตาง ๆ ของคนในสังคม ไมวา<br />

เปนปญหาดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และปญหาอื่น<br />

ๆ เชน การเจ็บปวย การขาดที่พึ่ง<br />

และการ<br />

ขาดความมั่นคงในชีวิต<br />

ซึ่งในที่สุดไดกลายมาเปนปญหาความเดือดรอนทางใจ<br />

หรือที่เรียกวาปญหา<br />

ทางจิตวิทยาของประชาชน ในเมื่อโนราโรงครู<br />

ความเชื่อ<br />

และพิธีกรรมในโนราโรงครูสามารถ<br />

ตอบสนองความตองการ และชวยแกปญหาความเดือดรอนทางใจของประชาชนในสังคมนั้น<br />

ๆ ได<br />

ระดับหนึ่ง<br />

องคประกอบตาง ๆ ที่กลาวมาแลว<br />

จึงมีสวนสําคัญอยางยิ่งในการสงเสริมใหโนราโรงครู<br />

หรือประเพณีการรําโนราโรงครู ยังคงมีบทบาทและหนาที่และดํารงอยูไดในสังคมปจจุบัน<br />

106


ความเชื่อเกี่ยวกับการรําโนราและพิธีโนราโรงครู<br />

ความเชื่อเกี่ยวกับโนราของชาวบาน<br />

คณะโนรา ลูกหลานตายายโนรา อันเปนสาเหตุสําคัญ<br />

ที่ทําใหมีการประกอบพิธีกรรมโนราโรงครูกลาวโดยสรุปไดดังนี้<br />

ความเชื่อเกี่ยวกับครูหมอโนรา<br />

ครูหมอโนราคือบูรพาจารยโนราและบรรพบุรุษของโนราที่ลวงลับไปแลว<br />

บางแหงเรียกวา<br />

“ตายายโนรา” มี พระเทพสิงขร ขุนศรีศรัทธา พระมวงทอง แมศรีมาลา แมนวลทองสําลี เปนตน<br />

โนราเชื่อวาครูหมอโนราหรือตายายโนราเหลานี้ยังมีความผูกพันกับลูกหลานและผูมีเชื้อสายโนรา<br />

หากลูกหลานเพิกเฉยไมเคารพบูชา ไมเซนไหว ก็จะไดรับการลงโทษจากครูหมอโนราดวยวิธีการ<br />

ตาง ๆ เชน ทําใหเจ็บปวยกระเสาะกระแสะ เรียกวา “ครูหมอยาง” หรือ “ตายยาง” จะแกไดดวยการ<br />

บนบานบวงสรวง อนึ่ง<br />

ถาจะใหครูหมอโนราหรือตายายโนราชวยเหลือในกิจบางอยาง ก็ทําไดโดย<br />

การบนบานหรือบวงสรวงเชนกัน จากความเชื่อนี้<br />

ทําใหเกิดพิธีกรรมโนราโรงครู ซึ่งในพิธีนี้มีการ<br />

เชิญครูหมอโนราหรือตายายโนราเขาทรงรับเครื่องสังเวย<br />

และมีการรําถวายครู<br />

ความเชื่อเรื่องไสยศาสตร<br />

การรําโนราและการประกอบพิธีกรรมโนราโรงครูจะเกี่ยวของกับความเชื่อไสยศาสตร<br />

เชน เวทยมนตรคาถา การทําและปองกันคุณไสย เชื่อเรื่องเทพเจาและสิ่งศักดิ์สิทธิ์<br />

เชื่อเรื่องโชคลาง<br />

เชื่อเรื่องอํานาจเรนลับของโนราใหญในขณะทําพิธีโนราโรงครู<br />

เชน เชื่อวาสามารถติดตอควบคุม<br />

วิญญาณตาง ๆ ได สามารถปราบผีเจาเสนได เปนตน<br />

ความเชื่อเรื่องแกบน<br />

ชาวบานและคณะโนราเชื่อวา<br />

การบนและการแกบนครูหมอโนราหรือตายายโนรา จะทํา<br />

ใหตนเองไดรับความชวยเหลือในสิ่งที่ปรารถนา<br />

และพนจากความทุกขความเดือดรอนตาง ๆ การ<br />

บนบานและการแกบนมีทั้งเกิดจากความตองการใหครูหมอโนราหรือ<br />

ตายายโนราชวยเหลือ เชน<br />

บนใหมีงานทํา เขาศึกษาตอในระดับสูงได หายจากการเจ็บไขไดปวย เปนตน และบนเพราะถูกครู<br />

107


หมอโนราลงโทษดวยสาเหตุตาง ๆ เชน ลูกหลานเพิกเฉยไมเคารพ นับถือ ตองการใหลูกหลานรํา<br />

โนราหรือเปนรางทรง เปนตน<br />

ความเชื่อเรื่องการผูกผาปลอย<br />

ชาวบานและคณะโนราเชื่อวาผูที่เปนโนราหรือเชื้อสายโนราหากมีความประสงคจะเลิกรํา<br />

โนราตัดขาดจากเชื้อสายโนรา<br />

โดยไมถูกครูหมอโนราหรือตายายโนราลงโทษ จะตองมาใหโนรา<br />

ใหญทําพิธีผูกผาปลอยใหในโรงพิธีโนราโรงครู จึงจะตัดขาดจากความเปนโนราและเชื้อสายโนรา<br />

ได<br />

ความเชื่อเรื่องการตัดจุก<br />

ชาวบานบางสวนยังนิยมใหบุตรหลานไวจุก ไมวาจะไวตามประเพณีหรือไดบนบานเอาไว<br />

กับครูโนรา เมื่อเด็กยางเขาวัยหนุมสาว<br />

คือ ชายอายุ 13 ป หญิงอายุ 11 ป ก็จะนําบุตรหลานของตน<br />

มาใหโนราใหญตัดจุกใหในพิธีโนราโรงครู เพราะเชื่อวาโนรา<br />

โรงครูเปนพิธีกรรมที่ขลังและ<br />

ศักดิ์สิทธิ์<br />

และโนราใหญมีอํานาจเรนลับ มีคาถาอาคมแกกลาจะเปนสิริมงคลแกเด็ก และตัดขาดจาก<br />

“เหมฺรฺย” หรือ ทานบน ที่ใหไวกับครูโนราได<br />

ความเชื่อเรื่องการเหยียบเสน<br />

ชาวบานและคณะโนราเชื่อวาเสนเกิดจากการกระทําของ<br />

ผีเจาเสน ผีโอกระแชง หรือเพราะ<br />

ครูหมอโนรา หรือตายายโนรา ตองการใหเด็กคนนั้นรําโนรา<br />

จึงทําเครื่องหมายเอาไว<br />

จะหายไดก็<br />

ตอเมื่อโนราใหญทําพิธีเหยียบเสนใหในพิธีกรรมโนราโรงครู<br />

ความเชื่อเรื่องการตัดผมผีชอ<br />

ชาวบานและคณะโนราเชื่อวาผมผีชอที่จับกันเปนกระจุกหรือเหมือนผูกมัดไวตั้งแตกําเนิด<br />

เปนเพราะครูหมอโนราหรือตายายโนราตองการใหคนหนึ่งคนใดเปนโนราหรือคนทรง<br />

ครูหมอจึง<br />

ผูกผมเปนเครื่องหมายเอาไว<br />

จะแกไดโดยใหโนราใหญเปนผูตัดในพิธีกรรมโนราโรงครู<br />

เชื่อวาผมที่<br />

ตัดออกจะเปนของขลังสําหรับเจาของและผมที่งอกขึ้นใหมจะไมเปนกระจุกอีก<br />

108


ความเชื่อเรื่องการรําถีบหัวควาย<br />

การรําถีบหัวควาย ปนวิธีการแกบนของครูหมอโนราหรือตายายโนรา โดยใชหัวควายหรือ<br />

เนื้อควายที่ฆาแลวเปนเครื่องเซนไหว<br />

ชาวบานและคณะโนราเชื่อวาครูหมอหรือ<br />

ตายายโนราที่ตอง<br />

แกบนดวยหัวควายคือ “ทวดเกาะ” และพวก “ผีแชง” การแกบนทําได 3 วิธี คือ การรําถีบหัวควาย<br />

การรําฟนหัวควาย การรําบายหัวควาย<br />

ความเชื่อเรื่องการรําสอดเครื่องสอดกําไล<br />

ชาวบานและคณะโนราเชื่อวา<br />

ผูที่ตองการจะ<br />

ไดรับการยอมรับในการเปนโนราจากครู<br />

โนรา จะตองไดผานพิธีการรําสอดเครื่องหรือที่เรียกวา<br />

“จําผา” สวนผูที่ตองการจะฝากตัวเปนศิษย<br />

ของโนรา ทั้งที่เคยหัดรําโนรามาแลวหรือไมเคยหัดรํามากอน<br />

จะตองทําพิธีสอดกําไลหรือสอด<br />

ไหมฺร เพื่อใหครูรับไวเปนศิษยนั่นเอง<br />

ความเชื่อเรื่องการรักษาอาการปวยไข<br />

ชาวบานและคณะโนราเชื่อวาครูหมอและพิธีกรรมโนราโรงครูสามารถรักษาอาการปวยไข<br />

ที่มาจากความผิดปกติของรางกาย<br />

โรคภัยหรือเกิดจากการกระทําของครูหมอโนรา ดวยการบนบาน<br />

การรักษาทางยาหรือเวทยมนตรคาถาโดยผานโนราหรือคนทรงครูหมอโนรา<br />

ความเชื่อเรื่องการเขาทรงหรือรางทรง<br />

ชาวบานและคณะโนราเชื่อวา<br />

วิญญาณของผีบรรพบุรุษและครูตนโนรา ที่เรียกวาครูหมอ<br />

โนราหรือตายายโนราสามารถติดตอกับลูกหลานได โดยผานศิลปนคือโนราโดยเฉพาะโนราใหญ<br />

และการเขาทรงในรางของครูหมอโนราองคนั้น<br />

ๆ<br />

ทารําของโนรา<br />

ทารําของโนราไมมีกฏเกณฑตายตัววาทุกคนหรือทุกคณะจะตองรําเหมือนกัน เพราะการรํา<br />

โนรา คนรําจะบังคับเครื่องดนตรี<br />

หมายถึงคนรําจะรําไปอยางไรก็ไดแลวแตลีลา หรือความถนัด<br />

109


ของแตละคน เครื่องดนตรีจะบรรเลงตามทารํา<br />

เมื่อผูรําจะเปลี่ยนทารําจากทาหนึ่งไปยังอีกทาหนึ่ง<br />

เครื่องดนตรีจะตองสามารถเปลี่ยนเพลงไดตามคนรํา<br />

ความจริงแลวทารําที่มีมาแตกําเนิดนั้นมีแบบ<br />

แผนแนนอน โดยเฉพาะอยางยิ่งทารําในบทครูสอนสอนรํา<br />

และบทประถม ทารําเมื่อไดรับการ<br />

ถายทอดมาเปนชวง ๆ ทําใหทารําที่เปนแบบแผนดั้งเดิทเปลี่ยนแปลงไป<br />

เพราะหากจะประมวลทา<br />

รําตาง ๆของโนราแลว จะเห็นวาเปนการรําตีทาตามบทที่รองแตละบท<br />

การตีทารําจามบทรองนี้<br />

เองที่เปนประเด็นหนึ่งที่ทําใหทารําเปลี่ยนแปลงและแตกตางกันออกไป<br />

เพราะทารําที่ตีออกมานั้น<br />

ขึ้นอยูกับความสามารถของผูรําวาบทอยางนี้จะตีทาอยางไร<br />

ทารําที่ถือเปนแบบแผนมาแตเดิมอันเปนที่ยอมรับของผูรําโนราจะตองมีพื้นฐานเบื้องตน<br />

ดังนี้<br />

1. การทรงตัวของผูรํา<br />

ผูที่จะรําโนราไดสวยงามและมีสวนถูกตองอยูมากนั้น<br />

จะตองมี<br />

พื้นฐานการทรงตัว<br />

ดังนี้<br />

- ชวงลําตัว จะตองแอนอกอยูเสมอ<br />

หลังจะตองแอนและลําตัวยื่นไปขางหนา<br />

ไมวาจะรํา<br />

ทาไหน หลังจะตองมีพื้นฐานการวางตัวแบบนี้เสมอ<br />

- ชวงวงหนา วงหนาหมายถึงสวนลําคอจนถึงศีรษะ จะตองเชิดหนาหรือแหงนขึ้น<br />

เล็กนอยในขณะรํา<br />

- การยอตัว การยอตัวเปนสิ่งสําคัญอยางยิ่ง<br />

การรําโนรานั้นลําตัวหรือทุกสวนจะตองยอ<br />

ลงเล็กนอย นอกจากยอลําตัวแลว เขาก็จะตองยอลงดวย<br />

- สวนกน จะตองงอนเล็กนอย ชวงสะเอวจะตองหัก จึงจะทําใหแลดูแลวสวยงาม<br />

2. การเคลื่อนไหว<br />

นับวาเปนสิ่งจําเปนอีกอยาง<br />

เพราะการรําโนราจะดีไดนั้น<br />

ในขณะที่<br />

เคลื่อนไหวลําตัว<br />

หรือจะเคลื่อนไหวสวนใดสวนหนึ่งก็ดี<br />

เชน การเดินรํา ถาหากสวนเทาเคลื่อนไหว<br />

ชวงลําตัวจะตองนิ่ง<br />

สวนบนมือและวงหนาจะไปตามลีลาทารํา ทารําโนราที่ถือวาเปนแมทามาแต<br />

เดิมนั้นคือ<br />

" ทาสิบสอง<br />

ทาสิบสองของโนราแตละคน แตละคณะ อาจจะมีทารําไมเหมือนกัน ซึ<br />

่งอาจจะไดรับการ<br />

สอนถายทอดมาไมเหมือนกัน บางตํานานบอกวามีทากนก ทาเครือวัลย ทาฉากนอย ทาแมงมุมชัก<br />

ใย ทาเขาควาย บางตํานานบอกวามีทายืนประนมมือ ทาจีบไวขาง ทาจีบไวเพียงสะเอว ทาจีบไว<br />

110


เพียงบา ทาจีบไวขางหลัง ทาจีบไวเสมอหนา อยางไรก็ตามมีการตั้งขอสันนิษฐาน<br />

กันวาทาพื้นฐาน<br />

ของโนรานาจะมีมากกวานี้<br />

สังเกตไดจากทาพื้นฐานในบทประถมซึ่งถือกันวาเปนแมบทของโนรา<br />

จึงไมสามารถระบุลงไปไดวาทารําพื้นฐานมีทาอะไรบาง<br />

ทารําพื้นฐานของโนรา<br />

1. ทารําบทครูสอน เปนทาประกอบคําสอนของครูโนรา เชน สอนใหตั้งวงแขน<br />

เยื้องขา<br />

หรือเทา สอนใหรูจักสวมเทริด<br />

สอนใหรูจักนุงผาแบบโนรา<br />

ทารําในบทครูสอนนี้นับเปนทา<br />

เบื้องตนที่สอนใหรูจักการแตงกายแบบโนรา<br />

หรือมีทาประกอบการแตงกาย เชน<br />

- ทาเสดื้องกรตองา<br />

เปนการสอนใหรูจักการกรายแขน<br />

หรือยื่นมือรํานั่นเอง<br />

- ทาครูสอนใหผูกผา เปนการสอนใหนุงผาแบบโนรา<br />

เวลานุงนั้นตองมีเชือกคอยผูก<br />

สะเอวดวย<br />

- ทาสอนใหทรงกําไล คือสอนใหผูที่จะเริ่มฝกรําโนรา<br />

รูจักสวมกําไลทั้งมือซายและมือ<br />

ขวา<br />

- ทาสอนใหครอบเทริดนอย คือสอนใหรูจักสวมเทริด<br />

การครอบเทริดนอยนั้นจะเปรียบ<br />

แลวก็เหมือนกับการบวชสามเณร สวนการครอบเทริดใหญหรือพิธีครอบครูเปรียบเหมือนการ<br />

อุปสมบทเปนพระ ซึ่งการครอบเทริดนอยจะไมมีพิธีรีตรองอะไรมากนัก<br />

- ทาจับสรอยพวงมาลัย คือทาที่สอนใหรูจักเอามือทําเปนพวงดอกไมหรือชอดอกไม<br />

- ทาเสดื้องเยื้องขางซาย-ขวา<br />

ทั้งสองทานี้เปนทาที่สอนใหรูจักการกรายขาทั้งขางซาย<br />

และขางขวา<br />

- ทาถีบพนัก คือทารําที่เอาเทาขางหนึ่งถีบพนัก<br />

( ที่สําหรับนั่งรํา<br />

) แลวเอามือรํา<br />

2. ทารํายั่วทับ<br />

หรือ รําเพลงทับ เปนการรําหยอกลอกันระหวางคนตีทับกับคนรํา โดยคนรํา<br />

จะรํายั่วใหคนตีทับหลงไหลในทารํา<br />

เปนทารําที่แอบแฝงไวดวยความสนุกสนานและตื่นเตน<br />

โดยผู<br />

รําจะใชทารําที่พิสดาร<br />

เชน ทามวนหนา มวนหลัง ทาหกคะเมนตีลังกา ซึ่งก็แลวแตความสามารถ<br />

ของผูรําที่จะประดิษฐทารําขึ้นมา<br />

เพราะทารําไมไดตายตัวแนนอน เครื่องดนตรีจะเนนเสียงทับเปน<br />

สําคัญ<br />

111


3. ทารํารับเทริด หรือ รําขอเทริด เปนการรําเพื่อผอนคลายความตึงเครียด<br />

เพราะการรํารับ<br />

เทริดนิยมรําหลังจากมีการรําเฆี่ยนพรายหรือรําเหยียบลูกมะนาวเสร็จแลว<br />

เพราะการรําเฆี่ยนพราย<br />

หรือรําเหยียบลูกมะนาวเปนการรําที่ตองใขคาถาอาคม<br />

ผูชมจะชมดวยความตื่นตะลึงและอารมณ<br />

เครียดตลอดเวลาที่ชม<br />

แตการรําขอเทริดเปนการรําสนุก ๆ หยอกลอกันระหวางคนถือเทริดหริอตัว<br />

ตลกกับคนขอเทริดคือโนราใหญที่ตองรําดวยลีลาทาที่สวยงาม<br />

นอกจากมีทารําแลว ยังมีคําพูด<br />

สอดแทรกโตตอบกันดวย การรําขอเทริดนี้ตัวตลกจะเดินรําถือเทริดออกมากอน<br />

แลวคนขอจะรํา<br />

ตามหลังออกมาโดยคนขอยังไมไดสวมเทริด การรําขอเทริดจะใชเวลารําประมาณ 30 - 45 นาที<br />

จากการศึกษาผูวิจัยพบวาทารําของโนราที่เปนหลัก<br />

ๆ นั้นมีประมาณ<br />

83ทารํา ดังนี้<br />

ทาประถม<br />

1. ตั้งตนเปนประถม<br />

2. ถัดมาพระพรหมสี่หนา<br />

3. สอดสรอยหอยเปนพวงมาลา<br />

4. เวโหนโยนชา<br />

5. ใหนองนอน<br />

6. พิสมัยรวมเรียง<br />

7 เคียงหมอน<br />

8. ทาตางกัน<br />

9. หันเปนมอน<br />

10. มรคาแขกเตาบินเขารัง<br />

11. กระตายชมจันทร<br />

12. จันทรทรงกลด<br />

13. พระรถโยนสาสน<br />

14. มารกลับหลัง<br />

15. ชูชายนาดกรายเขาวัง<br />

16. กินนรรอนรํา<br />

17. เขามาเปรียบทา<br />

18. พระรามานาวศิลป<br />

19. มัจฉาลองวาริน<br />

20. หลงไหลไปสิ้นงามโสภา<br />

112


21. โตเลนหาง<br />

22. กวางโยนตัว<br />

23. รํายั่วเอาแปงผัดหนา<br />

24. หงสทองลอยลอง<br />

25. เหราเลนน้ํา<br />

26. กวางเดินดง<br />

27. สุริวงศทรงศักดิ์<br />

28. ชางสารหวานหญา<br />

29. ดูสานารัก<br />

30. พระลักษณแผลงศรจรลี<br />

31. ขี้หนอนฟอนฝูง<br />

32. ยูงฟอนหาง<br />

33. ขัดจางหยางนางรําทั้งสองศรี<br />

34. นั่งลงใหไดที่<br />

35. ชักสีซอสามสายยายเพลงรํา<br />

36. กระบี่ตีทา<br />

37. จีนสาวไส<br />

38. ชะนีรายไม<br />

39. เมขลาลอแกว<br />

40. ชักลํานํา<br />

41. เพลงรําแตกอนครูสอนมา<br />

ทาสิบสอง<br />

42. พนมมือ<br />

43. จีบซายตึงเทียมบา<br />

44. จีบขวาตึงเทียมบา<br />

45. จับซายเพียงเอว<br />

46. จีบขวาเพียงเอว<br />

47. จีบซายไวหลัง<br />

48. จีบขวาไวหลัง<br />

113


49. จีบซายเพียงบา<br />

50. จีบขวาเพียงบา<br />

51. จีบซายเสมอหนา<br />

52. จีบขวาเสมอหนา<br />

53. เขาควาย<br />

บทครูสอน<br />

54. ครูเอยครูสอน<br />

55. เสดื้องกร<br />

56. ตองา<br />

57. ผูกผา<br />

58. ทรงกําไล<br />

59. ครอบเทริดนอย<br />

60. จับสรอยพวงมาลัย<br />

61. ทรงกําไลซายขวา<br />

62. เสดื้องเยื้องขางซาย<br />

63. ตีคาไดหาพารา<br />

64. เสดื้องเยื้องขางขวา<br />

65. ตีคาไดหาตําลึงทอง<br />

66. ตีนถับพนัก<br />

67. มือชักแสงทอง<br />

68. หาไหนจะไดเสมือนนอง<br />

69. ทํานองพระเทวดา<br />

บทสอนรํา<br />

70. สอนเจาเอย<br />

71. สอนรํา<br />

72. รําเทียมบา<br />

73. ปลดปลงลงมา<br />

74. รําเทียมพก<br />

114


ตัวอยางทารําของโนรา<br />

75. วาดไวฝายอก<br />

76. ยกเปนแพนผาหลา<br />

77. ยกสูงเสมอหนา<br />

78. เรียกชอระยาพวงดอกไม<br />

79. โคมเวียน<br />

80. วาดไวใหเสมือนรูปเขียน<br />

81. กระเชียนปาดตาล<br />

82. พระพุทธเจาหามมาร<br />

83. พระรามจะขามสมุทร<br />

ตัวอยางทารําบทครูสอน<br />

ภาพที่<br />

32 ทารําประกอบบทรองที่วา<br />

“ครูเอยครูสอน”<br />

ที่มา:<br />

ภิญโญ จิตตธรรม (ม.ป.ป.)<br />

115


ภาพที่<br />

33 ทารําประกอบบทรองที่วา<br />

“เสดื้องกรมาตองา”<br />

ที่มา:<br />

ภิญโญ จิตตธรรม (ม.ป.ป.)<br />

ภาพที่<br />

34 ทารําประกอบบทรองที่วา<br />

“ครูสอนใหผูกผา”<br />

ที่มา:<br />

ภิญโญ จิตตธรรม (ม.ป.ป.)<br />

ภาพที่<br />

35 ทารําประกอบบทรองที่วา<br />

“สอนขาใหทรงกําไล”<br />

ที่มา:<br />

ภิญโญ จิตตธรรม (ม.ป.ป.)<br />

116


ภาพที่<br />

36 ทารําประกอบบทรองที่วา<br />

“สอนใหครอบเทริดนอย”<br />

ที่มา:<br />

ภิญโญ จิตตธรรม (ม.ป.ป.)<br />

ภาพที่<br />

37 ทารําประกอบบทรองที่วา<br />

“แลวจับสรอยพวงมาลัย”<br />

ที่มา:<br />

ภิญโญ จิตตธรรม (ม.ป.ป.)<br />

ภาพที่<br />

38 ทารําประกอบบทรองที่วา<br />

“สอนทรงกําไล สอดใสซายใสขวา”<br />

ที่มา:<br />

ภิญโญ จิตตธรรม (ม.ป.ป.)<br />

117


ภาพที่39<br />

ทารําประกอบบทรองที่วา<br />

“เสดื้องยางขางซาย”<br />

ที่มา:<br />

ภิญโญ จิตตธรรม (ม.ป.ป.)<br />

ภาพที่<br />

40 ทารําประกอบบทรองที่วา<br />

“ตีคาไดหาพารา”<br />

ที่มา:<br />

ภิญโญ จิตตธรรม (ม.ป.ป.)<br />

ภาพที่<br />

41 ทารําประกอบบทรองที่วา<br />

“เสดื้องเยื้องขวา<br />

ตีคาไดหาตําลึงทอง”<br />

ที่มา:<br />

ภิญโญ จิตตธรรม (ม.ป.ป.)<br />

118


ภาพที่<br />

42 ทารําประกอบบทรองที่วา<br />

“หาไหนใหไดเสมือนนอง ทํานองพระเทวดา”<br />

ที่มา:<br />

ภิญโญ จิตตธรรม (ม.ป.ป.)<br />

สวนเรื่องเครื่องแตงกายของโนราและเครื่องดนตรีประกอบการแสดง<br />

รวมถึงรายละเอียด<br />

ในเรื่องอื่น<br />

ๆ ผูวิจัยจะกลาวถึงในบทที่<br />

5 โดยละเอียด<br />

119


บทที่<br />

5<br />

โนราศรียาภัย<br />

ประวัติความเปนมาของโนราชุมพร<br />

โนราเปนศิลปะการแสดงพื้นบานของจังหวัดชุมพรมาตั้งแตสมัยโบราณ<br />

ซึ่งสันนิษฐานวา<br />

รับแบบอยางมาจากจังหวัดอื่นทางภาคใต<br />

เชนสุราษฎรธานี พัทลุง นครศรีธรรมราช<br />

นิยม(2548) ไดกลาวถึงเรื่องประวัติความเปนมาของโนราชุมพร<br />

ซึ่งผูวิจัยขอสรุปความ<br />

เพื่อเขาใจงายดังนี้<br />

โนราชุมพรที่เกาแก<br />

ไดแกโนราแนบ ชูสกุล คณะโนราในอําเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร 1<br />

ไดเคยเลาวา เมื่อ<br />

พ.ศ.2459 โนราแนบ ไดไปฝกหัดวิชาโนรา มาจากโนราเอี่ยม<br />

ครูโนราใน<br />

อําเภอพิปูน จังหวัดนครศรีธรรมราช โนราแนบเริ่มฝกโนราเมื่ออายุประมาณ<br />

19 – 20 ป โนราที่ไป<br />

ฝกพรอมโนราแนบในคราวนั้น<br />

คือ โนราแพ และโนราซอน<br />

หลังจากที่เรียนโนรากับโนราเอี่ยมแลว<br />

โนราแนบก็กลับมาอยูที่เมืองหลังสวน<br />

และได<br />

จัดตั้งคณะโนราการแสดง<br />

รับการลูกศิษยในจังหวัดชุมพรจนมีชื่อเสียงโดงดัง<br />

ซึ่งมีหลักฐานวา<br />

โนราแนบไดรับการยกเวนการเก็บภาษี ซึ่งถือวาเปนเกียรติอยางสูงที่ศิลปนพื้นบานไดรับจากทาง<br />

ราชการในยุคสมัยนั้น<br />

โนราแนบมีลูกศิษยซึ่งเปนโนราที่มีชื่อเสียงของจังหวัดชุมพร<br />

และหัวเมืองใกลเคียงไดแก<br />

โนราเลี่ยม<br />

ชุมพร 2 โนราแผว บานควน โนราแจง บานควน เปนตน<br />

1<br />

จากคําบอกเลาของโนราสมนึก ชูสกุล อายุ 69 ป บุตรชายของโนราแนบ ซึ่งสัมภาษณโดย<br />

อาจารยนิยม บํารุงเสนา วันที่<br />

15 กันยายน 2541<br />

2<br />

คําวา “ชุมพร” และคําวา “บานควน” ที่ตามหลังชื่อของโนรานั้น<br />

คือ ชื่อจังหวัดชุมพร<br />

และชื่อ<br />

ตําบลบานควน อําเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร การที่โนรานําชื่อสถานที่มาตามหลังชื่อตัวนั้น<br />

เพื่อบอกกลาววา<br />

ตัวโนรานั้นเปนโนราของจังหวัดชุมพรนั่นเอง


จากการสัมภาษณ ทําใหทราบวาโนราแนบ ชูสกุล คือ ผูบุกเบิกวิชาโนราที่เปนมาตรฐาน<br />

ปกษใต เปนคนแรกของจังหวัดชุมพร<br />

ในปจจุบันโนราชุมพร แบงออกเปน 2 แบบคือ<br />

1. โนราชาวบาน คือ คณะโนราพื้นบานที่รับงานแสดงโดยทั่วไป<br />

แสดงโดยบุคคลที่ฝกหัด<br />

โนราในทองถิ่น<br />

หรือลูกหลานของชาวคณะโนรานั้น<br />

ๆ<br />

ปจจุบันคณะโนราชาวบานในจังหวัดชุมพร เทาที่สํารวจพบ<br />

มี 8 คณะ คือ<br />

1. คณะโนราเพ็ญศรี อําเภอสวี จังหวัดชุมพร<br />

2. คณะโนราพรั่ง<br />

อําเภอสวี จังหวัดชุมพร<br />

3. คณะโนราเตือนใจ อําเภอสวี จังหวัดชุมพร<br />

4. คณะโนราสังวาลย อําเภอทาแซะ จังหวัดชุมพร<br />

5. คณะโนรายุพิน อําเภอทาแซะ จังหวัดชุมพร<br />

6. คณะโนราปลอบ อําเภอสวี จังหวัดชุมพร<br />

7. คณะโนราสมนึก อําเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร<br />

8. คณะโนราละแม อําเภอละแม จังหวัดชุมพร<br />

2. โนราโรงเรียน คือ คณะโนราที่จัดตั้งขึ้นในโรงเรียน<br />

และแสดงโดยนักเรียนของ<br />

โรงเรียนนั้น<br />

ๆ<br />

ปจจุบันโนราโรงเรียนในจังหวัดชุมพร เทาที่สํารวจพบมี<br />

8 คณะ คือ<br />

1. คณะโนรา โรงเรียนสวีวิทยา อําเภอสวี จังหวัดชุมพร<br />

2. คณะโนรา โรงเรียนชลทานวิทยา อําเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร<br />

3. คณะโนรา โรงเรียนสอาดเผดิมวิทยา อําเภอเมือง จังหวัดชุมพร<br />

4. คณะโนรา โรงเรียนเขายาว อําเภอเมือง จังหวัดชุมพร<br />

5. คณะโนรา โรงเรียนเขาลาน อําเภอสวี จังหวัดชุมพร<br />

6. คณะโนรา โรงเรียนมาบอํามฤต อําเภอปะทิว จังหวัดชุมพร<br />

7. คณะโนรา โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 77 อําเภอทาแซะ จังหวัดชุมพร<br />

8. คณะโนรา โรงเรียนศรียาภัย อําเภอเมือง จังหวัดชุมพร<br />

121


ประวัติโนราศรียาภัย โรงเรียนศรียาภัย จังหวัดชุมพร<br />

คณะโนราของโรงเรียนศรียาภัย อําเภอเมือง จังหวัดชุมพร กอตั้งขึ้นเมื่อ<br />

ปพุทธศักราช<br />

2526 โดยมี ปูเทพ<br />

มณีรัตน และอาจารยนิยม บํารุงเสนา ไดเริ่มตนฝกวิชาโนราใหกับนักเรียน<br />

โรงเรียนศรียาภัยในสมัยนั้น<br />

โดยการดูแลของทานผูอํานวยการสนั่น<br />

ชุมวรฐายี ผูอํานวยการ<br />

โรงเรียนศรียาภัยในยุคสมัยนั้น<br />

หลังจากจัดตั้งเปนคณะโนราของโรงเรียนแลว<br />

คณะโนราศรียาภัยก็<br />

มีการฝกฝนและรับงานแสดงเรื่อยมา<br />

จนกระทั่งเกิดเหตุวาตภัยและอุทกภัยครั้งใหญของจังหวัด<br />

ชุมพรคือ “พายุใตฝุนเกย”<br />

ในป พ.ศ.2532 เปนผลใหคณะโนราศรียาภัยหยุดการแสดงและรับงาน<br />

ตาง ๆ ชั่วคราว<br />

เนื่องจากอุปกรณที่เกี่ยวของกับโนราทั้งเครื่องดนตรีและชุดเครื่องแตงกายโนรา<br />

ไดรับความเสียหายเปนจํานวนมาก ประกอบกับ ปูเทพ<br />

มณีรัตน ครูโนราผูฝกสอนวิชาโนราใหกับ<br />

นักเรียนโรงเรียนศรียาภัย ไดถึงแกกรรมในเวลานั้นดวย<br />

ตอมาป พ.ศ. 2534 นักเรียนโนราโรงเรียนศรียาภัยก็เริ่มฝกซอมและจัดการแสดงอีกครั้ง<br />

จากป พ.ศ. 2532 ถึง ป พ.ศ. 2534 เปนเวลา 2 ปแหงเปนการซอมแซม และสรางอุปกรณที่ใชในการ<br />

แสดงใหมเกือบทุกชิ้น<br />

จนถึงปจจุบันมีนักเรียนโนราโรงเรียนศรียาภัยรุนแลวรุนเลาที่ไดรับการฝกฝนถายทอด<br />

ความรู แลวนําความรูที่ติดตัวนี้ไปใชในอนาคตได<br />

เพราะการฝกฝนโนราของโรงเรียนศรียาภัยมิได<br />

เปนแคการฝกฝนเพื่อรับงานแสดงเทานั้น<br />

แตเปนการฝกฝนในดานจิตใจของผูแสดงโนราดวยวา<br />

ตองมีความขยัน อดทน ซื่อสัตย<br />

กลาคิดกลาทําในสิ่งที่ถูกตองและเหมาะสม<br />

มีความรับผิดชอบใน<br />

หนาที่ของตน<br />

และมีความกตัญูรูคุณตอบิดามารดา<br />

ครูบาอาจารย รวมถึงจะตองเคารพตัวเองอีก<br />

ดวย<br />

122


ลักษณะการแสดงของโนราศรียาภัย จังหวัดชุมพร<br />

การแสดงโนราของโรงเรียนศรียาภัย มีการจัดลําดับการแสดงทั้งหมด<br />

16 ชุดการแสดง<br />

โดยเรียงลําดับไดดังนี้<br />

1. ลงโรง (โหมโรง)<br />

การลงโรง หรือโหมโรง คือ การประโคมเครื่องดนตรีกอนจะมีการรํา<br />

แตเดิมจะมีขั้นตอน<br />

คือ<br />

1. โหมกลอง 3 ลา (3 ชุด)<br />

2. บรรเลงเครื่องดําเหนิน<br />

(เครื่องดําเนินทํานอง)<br />

3. ขึ้นเพลงทับ<br />

4. ขึ้นเพลงเชิด<br />

ใชเวลาในการโหมโรงประมาณ 30 นาที<br />

สําหรับการโหมโรง หรือลงโรงของโนราศรียาภัย จะใชโหมกลอง 1 ลา แลวตีเครื่อง<br />

ดําเนินทํานอง เทานั้น<br />

ซึ ่งจะเวลาประมาณ 8 – 10 นาที<br />

ภาพที่<br />

43 ขณะบรรเลงโหมโรง(ลงโรง)<br />

123


2. กาศครู<br />

กาศครูเปนพิธีการที่สําคัญที่สุดของโนรา<br />

เพราะประเพณีโนราถือวาการเคารพครูอาจารย<br />

และครูหมอ เปนสิ่งที่สําคัญมาก<br />

จะลวงละเมิดมิได ใชเวลาในการแสดงประมาณ 30 - 45 นาที<br />

การกาศครู หรือประกาศถึงครูหมอโนรามีขั้นตอน<br />

ดังนี้<br />

1. เพลงขานเอ<br />

2. เพลงหนาแตระ<br />

3. เพลงทับ – เพลงโทน<br />

4. เพลงโนราธรรมดา<br />

5. คําพรัด<br />

สําหรับการกาศครูของโนราศรียาภัย ไดสรุปสาระทั้งหมดใหเหลือสั้น<br />

ประมาณ 15 นาที<br />

โดยรักษาทํานองเพลงไวทั้งหมด<br />

แตไดมีการผสมผสานคํากลอนระหวางของคํากลอนเกาและคํา<br />

กลอนที่ประดิษฐขึ้นเอง<br />

ตัวอยางบทกาศครูของโนราศรียาภัย<br />

1. เพลงขานเอ<br />

- รื่นเอยรื่น<br />

ขาจะไหวพระนางธรณี เลาและผึ่งแผน<br />

- แมเอาหลังเขามาเปนแทน รองตีนชาวมนุษย เลาแลวทั้งหลาย<br />

- ชั้นกรวด<br />

และดินดํา ลูกจะไหวชั้นน้ํา<br />

เลาและอองทราย<br />

- นาคเจาแลวฤๅสายจะขายใหโนเน เลาและโนใน<br />

- ขานมา (แมเหอ) ชาตอง ทํานองเหมือนวัว เลาและชักไถ<br />

- แมนวลสําลี พี่ไมลืมไย<br />

ถึงพี่ไปก็ไมลืม<br />

เลาและนองหนา<br />

2. เพลงหนาแตระ<br />

- ไดฤกษงามยามดี ปานนี้ชอบพระเวลา<br />

- แมศรีมาลาเปนครูตน ลูกขามไมพนเสียแลวหนา<br />

- นั่งไหวพอเทพสิงหร<br />

เชิญมาใหพรมโนรา<br />

- พอตาหมอเฒา ตาหมอใหญ เชิญทานคลาไคลมาเถิดหนา<br />

- พอขุนศรัทธา บานทาแค เปนคนเฒาคนแกของโนรา<br />

124


- พอตาขุนพราน พระยาพราน จะดําเนินเชิญทานกันเขามา<br />

- เชิญพอตาหลวงทุก ๆ องค ขอเชิญทานลงมานั่งหนา<br />

- ศักดิ์สิทธ<br />

ศักดิ์ชล<br />

ในบานนี้<br />

ไหวภูมิเจาที่เทวดา<br />

- (ทาวโลกบาล)ผูทรงฤทธิ์<br />

มาสถิตยเหนือเกลาเกศา<br />

- ลูกตั้งสัคเคกาเม<br />

ชุมนุมพระเทวดา<br />

้<br />

3. กลอนปกติ<br />

ราชครูของขามาพรอมแลว จะผองแผวเปนเพลงพระคาถา<br />

นั่งไหวคุณพระรัตนตรัย<br />

ไหวใยบิดรและมารดา<br />

นั่งไหวครูสอนหนังสือ<br />

แลวหารือครูสอนมโนรา<br />

ไหวทาเจาภาพผูจัดงาน<br />

ตลอดทานผูชมถวนหนา<br />

....(ชื่อ).....เปนผูรับโนรา<br />

ใหลูกหลานไดมาพบหนากัน<br />

บาน...(สถานที่จัดงาน)..เราเอย<br />

เคยมา รักโนราศรียาภัยอยาไหวหวั่น<br />

จัดขาวปลาอาหารมาทานกัน รี่วมรัขวัญพันผูกกับลูกโนรา<br />

จะไมลืมทุกทานของบานนี กี่เดือนปยังซึ้งคนึงหา<br />

พอไดฤกษเบิกงามตามเวลา เชิญเทวดามาประชุม.....สี่มุมโรง<br />

ภาพที่<br />

44 การกาศครู<br />

125


3. กลอนหนาฉาก หรือ กลอนหลังฉาก หรือ กลอนเกี้ยวมาน<br />

กลอนหนาฉาก เปนการรองกลอนกอนที่จะออกรําใชทํานองหนังตะลุง<br />

สาระของคํากลอน<br />

มีทั้งบรรยายคงวามสวยงามของผูรํา<br />

บรรยายธรรมชาติ ชื่มชนผูคนสถานที่<br />

หรือตามจินยนาการ<br />

ของผูขับรอง<br />

ใชเวลาขับรองประมาณ 8 – 10 นาที<br />

สําหรับการรองกลอนหนาฉากของโนราศรียาภัย กําหนดใหผูรองออกขับรองหนาเวลา<br />

(บางคณะจะยืนขับรองหลังฉาก)<br />

ตัวอยางกลอนหนาฉากของโนราศรียาภัย<br />

วันที่........เดือน........มาถึงแลว<br />

เสียงเจื้อยแจวของโนรามาขับขาน<br />

........สถานที่.........<br />

ไดมีงาน ดําเนินการขึ้นใหเห็นเปนสําคัญ<br />

รับโนรา เขามารํา ทําบทบาท เพื่อประกาศแนวทาง<br />

สรางสีสัน<br />

รักษาวัฒนธรรม สิ่งสําคัญ<br />

ใหลือลั่นและงดงาม<br />

ในความเปนไทย<br />

ศรียาภัยมโนหรา มาอีกครั้ง<br />

ดวยความหวัง ความรัก ไมผลักไส<br />

กราบพี ่นองหญิงชายทั้งใกลไกล<br />

ที่ตั้งใจ<br />

ยืนนั่ง<br />

ฟงโนรา<br />

ขอใหชวยสืบสานในงานศิลป ของทองถิ่นปกษใต<br />

ไวเถิดหนา<br />

พวกหนูพากเพียร เปนนักเรียนโนรา เชายันค่ํา<br />

ตองผึกรํา ผึกเรียน<br />

กลางคืน กลางค่ํา<br />

ตองไปรํา ไปรอง พอเชาก็ตอง ไปเขาหองอานเขียน<br />

บางวันก็ตอง นั่งหลับในหองเรียน<br />

เพราะครู ใหรํา จนค่ํา<br />

จนดึก<br />

ทั้งเรียนทั้งรํา<br />

พวกหนูทํายอดเยี่ยม<br />

โอเอี่ยมแวววาว<br />

ประดุจแกวผลึก<br />

เพื่อรักษาวัฒนธรรมดวยสํานึก<br />

เปดบันทึกตํานานการรายรํา<br />

126


ภาพที่<br />

45 การรองกลอนหนาฉาก<br />

4. รําขอเทริด (รับเทริด)<br />

การรําขอเทริด เปนการประชันฝมือระหวางโนราใหญ (ผูขอ)<br />

กับนายพราน (เจาของเทริด)<br />

ไมมีบทขับรอง ใชทารําผสมผสานระหวางทารําของเกากับทาที่ประดิษฐขึ้นใหมตามจินตนาการ<br />

ของผูรํา<br />

เปนการรําที่ใหอรรถรสสนุกสนาน<br />

อีกทั้งสวยงามและตลกขบขันไปพรอมๆ<br />

ๆกัน ใน<br />

สวนของจังหวะดนตรีจะมีการพลิกแพลงใหเหมาะสมกับทารํา ใชเวลาในการแสดงประมาณ 15<br />

นาที<br />

ภาพที่<br />

46 การรําขอเทริด 1<br />

127


ภาพที่<br />

47 การรําขอเทริด 2<br />

5. เพลงโค<br />

คําวา “โค” ในที่นี้หมายถึง<br />

พาหนะของพระอิศวร (พระอิศวรทรงโคอุสภราช) ซึ่งหนัง<br />

ตะลุงภาคใต นํามาใชเปนรูป “ครู” และนิยมออกเปนลําดับที่<br />

2 โดยบรรเลงดนตรีประกอบการเชิด<br />

หนังตะลุงใหครื้นเครงสนุกสนาน<br />

โดยมีทํานองดนตรี คือ ปะ ปะ ปะ ปะ ปะ เทิง เทิง<br />

ตอมาโนราไดนําจังหวะดนตรีของหนังตะลุงมาประกอบทารํา โดยเพิ่มเสียงกลองใหทุม<br />

หนักในจังหวะสุดทาย เพื่อใหลงกับทารํา<br />

ทํานองดนตรีคือ ปะ ปะ ปะ ปะ ปะ เทิง ตุง<br />

เพลงโค ใชประกอบทารําไดเกือบทุกทารํา แตเพลงโคในที่นี้จึงมิไดหมายถึงเพลงที่ใชเปาป<br />

แตหมายถึงจังหวะดนตรีเทานั้น<br />

6. การรําทาครูประเภทตาง ๆ ไดแก<br />

- ครูสอน<br />

- สอนรํา<br />

- ประถมพรหมสี่หนา<br />

- แมทา (แมลาย)<br />

จะกลาวโดยละเอียดในบทตอไป<br />

128


7. เพลงทับ<br />

เพลงทับหมายถึงจังหวะดนตรี (ดนตรีโนรามีทับเปนเครื่องดนตรีหลัก)<br />

ที่ใชประกอบการ<br />

รองและการรําของโนรา โดยเฉพาะทาครูและทาที่สําคัญเชน<br />

ทาครูสอน, ทาประถม, ทารําแทงเข<br />

เปนตน แตตอมาไดมีการประดิษฐคํากลอนสมัยใหมมาใชกับเพลงทับเพื่อใหเกิดความหลากหลาย<br />

เพลงทับมีจังหวะดังตอไปนี้<br />

- ปะ - ปะ - - ปะปะ เทิงเทิงเทิงเทิง - - - - - ปะ - ปะ - - ปะปะ เทิงเทิงเทิงเทิง - - - -<br />

ตั้ง<br />

ตน ใหเปน ประถม - - - - --ถัดมา ถัดมา พระพรหม - - แกว<br />

่<br />

- ปะ - ปะ - - ปะปะ เทิงเทิงเทิงเทิง - - - -<br />

ขา เอย - - - สี - - - หนา - - - -<br />

จากตัวอยางที่ยกมาแสดงใหเห็นความสัมพันธระหวางจังหวะเพลงทับกับคํารองบทประถม<br />

พรหมสี่หนา<br />

ซึ่งสันนิษฐานวาเพลงทับเปนจังหวะเกาแกรองจากรายหนาแตระ<br />

8. เพลงโทน<br />

“โทน” มีความหมายถึงกลองแขก ในดนตรีไทย (สัมภาษณ อ.นิยม)<br />

เพลงโทนมีความหมายในทางโนราเชนเดียวกับเพลงทับ และใชจังหวะเดียวกับเพลงทับ จึงนิยม<br />

เรียกวา “เพลงทับเพลงโทน”<br />

กลอนสําหรับรําเพลงทับเพลงโทน<br />

ลูกหนึ่ง<br />

3 ประนมบังคมไหว กราบพอแมหญิงชาย(แมเหอ)ทั้งซายขวา<br />

ถารักลูกจริงอยาทิ้งโนรา<br />

ลูกหนึ่งมารําโชว(แมเหอ)<br />

แบบโบราณ<br />

ครูสอน ประถมและพรหมสี่หนา<br />

รําพรานโนราใหแปลก พรานแบกขวาน<br />

ทาฟอนระบํา เรารํามานาน ครุฑบินทะยานรีบรุด(แมเหอ) ฉุดนาคา<br />

3<br />

คําวา “หนึ่ง”<br />

คือ ชื่อนักแสดง<br />

สวนคําวา “ลูก” คือ คําเรียกแทนตนเอง<br />

129


รําเพลงทับ ฉับ ฉับ เทิง เทิง เทิง เทิง เทิง เทิง ฉับ ฉับ<br />

เสียงเพลงทับดังกอง (แมเหอ) ทองเวหา.......<br />

ภาพที่<br />

48 การแสดงรําเพลงทับเพลงโทน<br />

ภาพที่<br />

49 การรําเกี้ยวทับ<br />

ในการรําเพลงทับเพลงโทน<br />

9. การทําบท<br />

การรําทําบทของโนรา ถือวาเปนเปนศิลปะขั้นสูง<br />

เพราะเปนการนําทารํา, คํากลอน, การ<br />

เจรจา, มุขตลก, รวมถึงการบรรเลงดนตรีไดอยางเหมาะสมกลมกลืน<br />

สําหรับโนราศรียาภัย มีการรําและคํากลอนที่ผสมผสานระหวางของเกาและของใหมที่<br />

ประดิษฐขึ้นเอง<br />

130


หลักในการรําทําบท คือ คํากลอนที่ลงทายดวยคําตาย<br />

ผูทําบทควรแสดงทาทางขึงขัง<br />

องอาจ โดยใชหนาตา ไหล และการขยับตัวใหลงจังหวะ<br />

ตัวอยางกลอนทําบทของโนราศรียาภัย มี 3 บท คือ<br />

บทที่<br />

1<br />

บทที่<br />

2<br />

บทที่<br />

3<br />

1 นั่งผันหนาไปบูรพา<br />

เห็นบรรพตายิบยับ 4<br />

2 ทําพระพายฉายพัด ใบไมบัด อยูฉับ<br />

ฉับ<br />

3 ทําเปนทะเลลึกลับ เห็นคลื่น<br />

(แวว)วับ อยูลิบ<br />

ลิบ<br />

4 นองจะทําเปนปู คลานลงรู อยูหมุบหมิบ<br />

1 นั่งผันหนาไปบูรพา<br />

ชมบรรพตาสามยอด<br />

2 เขียวขาว ยาวโยง แลโลง ทะลุหลอด<br />

3 เวิ้งถ้ํา<br />

น้ําลอด<br />

ตั้งแตยอด<br />

หลอด (ถึง) ดิน<br />

4 ลําคลองชองใหญ น้ําไหลออก<br />

(ตาม) ซอกหิน<br />

5 น้ําใส<br />

ไหลริน หยดยอย (ใน) รอยแยก<br />

1 ทําเปนเมือง (นคร) ศรีธรรมราช เห็นยอดพระธาตุแดงขล็อง<br />

2 เห็นพระเวียง เรียงราย บางคว่ํา<br />

บางหงายเกศจ็อง<br />

3 ทําเปนคลื่นทะเลบา<br />

มองเห็นปลาจองหมอง 5<br />

4<br />

กลอนในขอ 1 เปนกลอนโนราโบราณ สวนบทอื่นเปนบทที่แตงขึ้นใหม<br />

5<br />

หมายถึงปลากระเบนตัวเล็ก หรืออีกชื่อหนึ่งวา<br />

ปลาตุกกา<br />

131


ภาพที่<br />

50 การทําบท 5 คน<br />

ภาพที่<br />

51 การทําบท 3 คน<br />

10. คําพรัด<br />

คําพรัด คือ การรองคํากลอนที่แตงไว<br />

เปนกลอนสี่<br />

กลอนแปด หรือ คําคอนซึ่งหมายถึง<br />

การรองวาทํานองสองโหมง<br />

สําหรับโนราศรียาภัย บทรองคําพรัดจะแตงขึ้นเอง<br />

ตัวอยาง บทคําพรัดของโนราศรียาภัย มี 2 แบบ คือ กลอนสี่<br />

และกลอนแปด และกลอน<br />

ประกอบเพลงทับ ทั้งนี้เลือกใชใหเหมาะสมกับสถานที่และเวลา<br />

ไดแก<br />

132


กลอนสี่<br />

- กลาวสุนทรกลอนสี่สวัสดีกับญาติ<br />

- ลูก....(ใสชื่อผูรอง)...โนรา<br />

เขามาประกาศ<br />

- กลอนโชวโอวาทบอกญาติที่รัก<br />

- ...(บอกสถานที่)....<br />

บานนี่นองพี่อยาผลัก<br />

- ลูก...(ใสชื่อผูรอง)...<br />

ฝากรักใหประจักษดวงจิต<br />

- เราพบกัน...(คําบอกเวลา 6 )...เพราะความดีลิขิต<br />

- ปลื้มใจกับมิตร<br />

ตั้งจิตเขามา<br />

ฯลฯ<br />

กลอนแปด<br />

- ชาว..(สถานที่)....เราเอยเคยฟงเสียง<br />

สงสําเนียงเจื้อยแจวไมแซวใหฉา<br />

- โนราศรียาภัยตั้งใจมา<br />

รําโนราฝากแฟน ไวแทนใจ<br />

- มอบทารํา คํารองเปนของขวัญ เผื่อวาวันขางหนา<br />

คอยมาใหม<br />

- จะขอมอบ โนราศรียาภัย ฝากไวในออมกอด ตลอดกาล<br />

- ถาแมรักโนรา..(ชื่อผูรอง).คอยมาใหม<br />

ขอดวงใจพันผูกเหมือนลูกหลาน<br />

- ขับกลอนโชวใชเวลามาตั้งนาน<br />

ฯลฯ<br />

เชิญทุกทานชมทารําใหสําราญ<br />

ภาพที่<br />

52 ขณะวากลอนคําพรัด<br />

6<br />

บอกวา ถารองเวลากลางวัน ใชคําวา “วันนี้”<br />

ถารองเวลากลางคืน ใชคําวา “คืนนี้”<br />

133


11. รําเพลงป<br />

รําเพลงป<br />

คือ การรําเดี่ยวเพื่ออวดฝมือผูรําและผูเปาป<br />

โดยทารํามีการผสมผสานระหวาง<br />

ของเกากับของใหมที่ผูรําเปนผูคิดประดิษฐขึ้นเอง<br />

สวนเพลงปของนักดนตรีนั้นขึ้นอยูกับ<br />

จินตนาการของผูเปาเพื่อใหสอดคลองกับทารํา<br />

เพราะฉะนั้นการรําเพลงปจึงมีความเหมือนและ<br />

ความแตกตางกันไปในแตละคณะ มีชวงเวลาในการรําประมาณ 15 – 20 นาที<br />

เนื้อรอง<br />

รําเพลงป<br />

ตอย ติ ริด ติ ๊ด ตี ป<br />

ตอย ตอย<br />

ออน ออย สรอย ดุจสําเนียง เสียงสวรรค<br />

ขึ้นเพลงปใหเจื้อยแจว<br />

แววหวานมัน<br />

.....(ชื่อผูรํา)....<br />

รับขวัญดวยลํานํา.......จะรําเพลงป...ละนอง<br />

12. การรําชุดหนูเอ<br />

ชุด “หนูเอ” เปนชุดการรําของโนราศรียาภัยโดยเฉพาะ โดยอาจารยนิยม บํารุงเสนา ผู<br />

ฝกสอน ไดมอบหมายใหผูแสดงโนราชวยกันประดิษฐทารํา<br />

ไมใหซ้ํากับชุดอื่น<br />

ๆ ที่มีอยู<br />

โดยผู<br />

แสดงจะใสลีลาทาทาง ใหเขากับจังหวะของเครื่องดนตรีที่ตนชื่นชอบ<br />

โดยไมยึดติดกับหลักเกณฑ<br />

และรูปแบบโนราโบราณจนเกินไป<br />

“หนูเอ” จึงถือเปนชุดการแสดงที่เปนเอกลักษณของโนราศรียาภัย<br />

ใชเวลาในการรํา<br />

ประมาณ 15 นาที<br />

ตอจากการรําในชุดนี้<br />

สามารถเลือกชุดการแสดง1 ชุด เพื่อความเหมาะสมของเวลาในการ<br />

จัดการแสดง มีใหเลือกแสดง 3 ชุดคือ<br />

13. รําแทงเข<br />

การรําแทงเขเปนการรําในการ “จับบทสิบสอง” สันนิษฐานวานาจะมีขึ้นในสมัยอยุธยา<br />

ตอนปลาย หรือ สมัยรัตนโกสินทรตอนตน เพราะวรรณคดีใน “บทสิบสอง” ไดปรากฎขึ้นในสมัย<br />

นั้น<br />

134


การรําแทงเข คือเรื่องราวของนายไกรทอง<br />

ปราบพญาชาละวัน นิยมรําในพิธีการสําคัญ<br />

ของโนรา เชน โรงครู, ครอบครู เปนตน<br />

สําหรับโนราศรียาภัย นําทารําของเกามาประดิษฐเพิ่มเติมและใชรําโชวตามความ<br />

เหมาะสม<br />

บทรองสําหรับการรําแทงเขา มี 2 บทคือ บทนาบไกรลับหอก และบทชาละวัน<br />

บทนายไกรลับหอก<br />

1. อานอานโอมโอม มนตของพระพรหม พระพรหมเชี่ยวชาญ<br />

2. มืดมิดไปทั่วสถาน<br />

ยังเลาใตน้ํา<br />

ใตน้ําคงคา<br />

3. ลับหอก แมเอยนายไกร ลับแลวเอาไป เอาไปแชยา<br />

4. มือขวา แมเอย ลับหอก มือซายจับจอก จับจอกสุรา<br />

5. ยังเลา ใตน้ําคงคา<br />

นายไกร จึงลับ จึงลับหอกชัย<br />

6. อานมนต ขึ้นใหมีสิทธิ์<br />

ยังเลามีฤทธิ์<br />

มีฤทธิ์เกรียงไกร<br />

7. อานมนตขึ้นใหไวไว<br />

คืนนี้ใสใหไดฤกษยามดี<br />

บทชาละวัน<br />

1. ชาละวันผันโกรธ โดดน้ําผลุง<br />

มายึดหมายมุงเอาแพไมแลเหลียว<br />

2. นายไกรรายมนต อยูคนเดียว<br />

กุมภีเหลียวฟาดผาง เขากลางแพ<br />

3. เขาจูโจมขี่หลังไมยั้งหยุด<br />

กุมภีมันมุดพาไปในกระแส<br />

(จบบท) สิบสองเรื่องเปลื้องไวพอไดแล<br />

บอกพอแมพี่นองหายของใจ<br />

ภาพที่<br />

53 การรําแทงเข<br />

135


ภาพที่<br />

54 ขณะรําแทงเข<br />

14. รําคลองหงส<br />

การรําคลองหงส แตเดิมเปนการรําใน “การจับบทสิบสอง” (โดยบทแรกคือ “คลองหงส”<br />

บทสุดทายคือ “แทงเข”) จากตํานานเรื่องพระสุธน<br />

– มโนราห (วรรณคดีปกษใตชื่อ<br />

มโนราห<br />

สันนิบาต) โดยนําตอนพรานบุญนําบวงบาศไปคลองนางกินรีชื่อ<br />

“มโนราห” ไปถวายพระสุธน<br />

สําหรับโนราศรียาภัย ไดนําทํานองและจังหวะดนตรีจากการเชื้อนางหงส<br />

(หมายถึงการ<br />

เชิญวิญญาณนางกินรีเขาประทับทรง) ของชาวพัทลุงมาใชประกอบการรํา และผสมผสานกับของ<br />

เกาทั ้งทารํา และคํารอง<br />

แตเดิม การรําคลองหงสใชรําในพิธีการสําคัญ ๆ ของโนรา โดยเฉพาะการรําแกบน แตโน<br />

ราศรียาภัยนํามารําโชว สามารถแสดงไดทุกโอกาส<br />

คํากลอนนําเรื่องคลองหงส<br />

เปนลักษณะคํากลอนวาหลังฉาก<br />

ขอจับเรื่องเบื้องบทโบราณเลา<br />

ที่พอแกแมเฒาไดเลาขาน<br />

เขาไกรลาศยังมีปาหิมพานต ดุจวิมานฉิมพลีทิฆัมพร<br />

เปนที่อยูของเจาสาวสวรรค<br />

เจาจอมขวัญเทวีนางขี้หนอน<br />

ทั้งเจ็ดนางรูปรางอรชร<br />

นามกร พิม พัด และรัช,ชุดา<br />

มีพี่นองรวมอุทรขี้หนอนนั้น<br />

คือมิ่งขัวญจันจุหลี<br />

ศรีจุหลา<br />

วิมลนุช และสุดทองนองโนรา ผูโสภาสุดสอางคกวานางใด<br />

136


พระอาทิตยจับคักขึ้นชักรถ<br />

แสงสีสดเจิดจาเวหาใหญ<br />

ขี้หนอนนอยลอยฟาเมฆาลัย<br />

ลงเลนในธารา สะเทือนปาหิมพานต<br />

บทรอง “ชาพระยาหงส” สําหรับการรําคลองหงส<br />

ทอน 1 (รอง)<br />

ชา ชา พระยาหงส….เอย<br />

ชา ชา พระยาหงสเอย ปกออนรอนลง ลงในดงปากลา<br />

(รับ)<br />

ชา ติง นอต หนอย ทอยติง ชา ชา.......ชา ติง นอต หนอย ทอยติง ชา ชา<br />

เจาพระยาหงส........เอย<br />

ปกออนรอนลง ........ปกออนรอนลง ลงในดงปากลา<br />

(รอง)<br />

รูปรางสาดีดี รูปรางสาดีดี<br />

เหตุไรไปมี......เหตุไรไปมี ไปมีผัวบา<br />

ปกษีตีวงลงปากลา<br />

ทอยติเหนงชา ชา.....ทอยติเหนงชา ชา เจาพระยาหงสเอย<br />

(รับ)<br />

ชา ติง นอต หนอย ทอย ติง ชา ชา........ชา ติง นอต หนอย ทอย ติง ชา ชา<br />

เจาพระยาหงสเอย<br />

ทอยติเหนงชา ชา.....ทอยติเหนงชา ชา เจาพระยาหงสเอย<br />

ทอน 2 (รอง)<br />

ชา ชา พระยาหงส….เอย<br />

ชา ชา พระยาหงสเอย ปกออนรอนลง ลงในดงปาพราว<br />

(รับ)<br />

ชา ติง นอต หนอย ทอยติง ชา ชา.......ชา ติง นอต หนอย ทอยติง ชา ชา<br />

เจาพระยาหงส........เอย<br />

ปกออนรอนลง ........ปกออนรอนลง ลงในดงปาพราว<br />

(รอง)<br />

137


(รับ)<br />

รูปรางสาดี รูปรางสาดี<br />

เหตุไรไปมี......เหตุไรไปมี ไปมีผัวเฒา<br />

ปกษีตีวงลงปาพราว<br />

ทอยติเหนงชา ชา.....ทอยติเหนงชา ชา เจาพระยาหงสเอย<br />

ชา ติง นอต หนอย ทอย ติง ชา ชา........ชา ติง นอต หนอย ทอย ติง ชา ชา<br />

เจาพระยาหงสเอย<br />

ทอยติเหนงชา ชา.....ทอยติเหนงชา ชา เจาพระยาหงสเอย<br />

15. การรําเฆี่ยนพราย<br />

(บางแหงเรียก “เฆี่ยนรูป)<br />

การรําเฆี่ยนพรายเปนการรําเดี่ยวของโนราใหญ<br />

หรือหัวหนาคณะ แตเดิมมีวัตถุประสงค 3<br />

ประการคือ<br />

1.รําเพื่อเปนการตัดไมขมนามคูตอสู<br />

กรณีแขงขันประชันโนรา<br />

2. เพื่อขับเสนียดจัญไร<br />

เพราะคําวา “พราย” หมายถึง ภูตพราย<br />

3. เพื่อโชวฝมือการรําของโนราใหญ<br />

อุปกรณที่ใชประกอบในการรํา<br />

มีดังนี้<br />

1. ไมหวายลงอาคม ความยาวประมาณ 80 – 100 เซนติเมตร<br />

2. หมอน้ํามนต<br />

ซึ ่งพรานเปนผูถือ<br />

3. ลูกมะนาว 3 ลูก สําหรับโนราใหญ หรือผูเหยียบใหแตก<br />

เพื่อขมขวัญคูตอสู<br />

และ<br />

เรียกกําลังใจใหหมูคณะ<br />

สําหรับโนราศรียาภัย ไดนําทารําเฆี่ยนพรายแบบโบราณมารําโชวในทุกโอกาสตามความ<br />

เหมาะสม โดยอาราธนารูปถายและน้ํามนตหลวงปูสงฆ<br />

จันทสโร วัดเจาฟาศาลาลอย มาเปน<br />

องคประกอบในการแสดง ใชเวลาแสดงประมาณ 15 นาที<br />

16. การวากลอนโต<br />

กลอนโต หรือวากลอน หมายถึง ความสามารถในการแสดงบทกลอน ซึ่งจะไมเนนการ<br />

รํา สําหรับการวากลอนนั้นมีชื่อเรียกที่แตกตางกัน<br />

2 แบบคือ การวากลอนที่แตไวลวงหนา<br />

เรียกวา<br />

“คําพรัด และการวากลอนที่มีลักษณะเปนกลอนสด<br />

มีคนรองประมาณ 2-3 คน สลับวรรค สําหรับ<br />

ชื่อเรียกในการสลับคํากลอนโดยฉับพลัน<br />

เรียกการสลับกลอนแบบนี้วา<br />

โยนกลอน<br />

ตัวอยางบทกลอนโตของโนราศรียาภัย<br />

138


แบบ 2 คน ที่เปนลักษณะกลอนแปด<br />

(รุง)<br />

7 ้<br />

่<br />

่ <br />

์<br />

่ ่<br />

มาตาพี่ฝนเราสองคนพี่นอง<br />

มาขับรองกลอนโชวในโวหาร<br />

(ฝน) ฝนหวังวาพี่นองยังตองการ<br />

ใหลูกหลานขับโชวกลอนโนรา<br />

(รุง)<br />

เชิญพอ – แมเขามานั่งฟงใหดี<br />

วาพี่นองคูนี<br />

ใครจะดีหวา (กวา)<br />

(ฝน) เอะ ทําไมนองรุงเขามารองทา<br />

ทําเปนคนใจกลา ชาติหนาตี<br />

(รุง)<br />

ถึงนองรุงตัวเล็ก<br />

ยังเด็กกวา ถาพี่ฝนใจกลา<br />

อยาถอยหนี<br />

(ฝน) ประชันกลอนโนรา ที่หนาเวที<br />

ขึ้นชื่อวาฝนพี<br />

ไมเคยหนีใคร<br />

(รุง)<br />

พี่ฝนชวยบอกหนูใหรูกัน<br />

วาเราจะประชันกันแบบไหน<br />

(ฝน) เรามาแขงโนรากันใหสะใจ ดูวาใครมีปญญามากกวากัน<br />

(รุง)<br />

รุงจะถามฝนพี<br />

ถาจะมีคู พี่จะดูแบบไหน<br />

ชายในฝน<br />

(ฝน) มีชายทุง<br />

ชายนา สารพัน ชายในฝนของพี่ฝน<br />

คือ คนดี<br />

(รุง)<br />

ถามีชายรูปหลอมาขอความรัก หรือพี่ฝนจะผลักรักถอยหนี<br />

(ฝน) นั้นคือคนที่พี่รอ<br />

ทั้งหลอทั้งดี<br />

แตผูชายแบบนี้จะสักกี่คน<br />

(รุง)<br />

ถามีชายร่ํารวยดวยยศศักดิ<br />

ขอความรักภักดีกับพี่ฝน<br />

(ฝน) รวยเงินทอง ใชวาบอกคาคน จะรวยจนขอใหดี พี่พอใจ<br />

(รุง)<br />

เปนสามีภรรยา นองหารูไม<br />

หญิงกับชาย คูกันทําพรรคไหน<br />

(ฝน) ตัวนองรุง<br />

ยังเล็กเด็กเกินไป เปนผูใหญ<br />

รุงหนูจะรูเอง<br />

นองรุงอยูวัยเรียน<br />

อยาเพียรรัก ถาอกหักดังเผาะ ไมเหมาะเหม็ง<br />

(รุง)<br />

เห็นวัยรุนคราวหนู<br />

ดูครื้นเครง<br />

เปนนักเรียน นักเลง ไมเกราใคร<br />

(ฝน) ความเปนหญิงจะถอยถดหมดความหมาย นาเสียดายอนาคตที่สดใส<br />

(รุง)<br />

ตอไปนี้นองรุง<br />

จะไมยุงใคร<br />

มอบหัวใจใหโนรา และวิชาการ<br />

(ฝน) เรานักเรียนโนรา มุงอนาคต<br />

กลอนทอย<br />

ใหสวยสดแจมใสในวัยหวาน<br />

(รุง)<br />

สงสารคุณปาที่(ทาน)มานั่งนาน<br />

ปวดเมื่อยเหนื่อย<br />

หรือยัง หรือยัง<br />

(ฝน) เลือกสักคนจะรักฝนหรือรุง<br />

คนไหนดีจะมีหวัง มีหวัง<br />

(รุง)<br />

พี่ฝนแกเปนคนหนาชัง<br />

อยาเหลยปา คุณอยารัก อยารัก<br />

(ฝน) นองรุงนี<br />

ชอบยุงเรื่องพี<br />

ชางนาตี ใหมือหัก มือหัก<br />

7<br />

ชื่อในวงเล็บ<br />

คือชื่อนักแสดงโนรา<br />

139


(รุง)<br />

แมปา หนูมาฝากรัก รักพี่นองทั้งสองคน<br />

สองคน<br />

(ฝน) ถาเสียงดีตองอยูที่นองรุง<br />

ถารําดีตองพี่ฝน<br />

พี่ฝน<br />

(รุง)<br />

ไดเวลาเราพี่นองทั้งสองคน<br />

เชิญมวลชนสําราญ การรายรํา<br />

แบบ 4 คน ที่เปนลักษณะกลอนสี่<br />

(รุง)<br />

จบทารําทํานอง รุงขับรองกลอนกลาว<br />

(ฝน) กราบพอ แมทุกคน ที่ฟงฝนลูกสาว<br />

(ฝาย) ฝายกราบเทา ทั้งคนเฒา<br />

คนแก<br />

(แอน) ลูกแอนยอไหว แมอยาไดหาวแห<br />

(รุง)<br />

หยับมาใหแค เชิญมาแลใกล ๆ<br />

(ฝน) เรามาวากลอนโชวกับนองโนราฝาย<br />

(ฝาย) ถึงพี่มีลวดลายแตนองฝายก็ไมกลัว<br />

(แอน) ขึ้นชื่อวา<br />

“โนราฝน” แลวทุกคนจะเวียนหัว<br />

ฯลฯ<br />

แบบ 4 คน ที่เปนลักษณะกลอนแปด<br />

(รุง)<br />

หนูเปนลูกชาวนามาแตกําเนิด ขอเทิดทูนชาวนาไมผาเหลา<br />

(แอน) พอแมหนูก็ชาวนามากอนเกา ตองรักษาเทือกเถา เราชาวนา<br />

่<br />

(ฝน) ตัวของลูกกําเนิดเกิดเปนชาวสวน ถึงอยูเขา<br />

อยูควนชวนกันรักษา<br />

(ฝาย) เหลาพืชสวนตอนนี้มีราคา<br />

คงดีกวาชาวนาที หนา ดํา ดํา<br />

(รุง)<br />

ถึงผิวดําล่ําเล็ก<br />

เด็กชาวนา แตใบหนาเกลี้ยงเกลา<br />

ดูคมขํา<br />

(แอน) ดีกวา สาวชาวสวน อวยเตี่ยล่ํา<br />

ผิวก็คล้ํา<br />

ตัวกลม ยังกะหนมโค<br />

(ฝน) นองแอนลูกชาวนา อยาสามหาว ทํากาวราวทุกสิ่ง<br />

หยิ่งยะโส<br />

วาพี่ฝน<br />

ตัวกลม ยังกะหนมโค แตเขารูกันทุกคน<br />

วาฝนอยูดี<br />

140


กลอนทอย<br />

(รุง)<br />

ชาวนาผิวกรานเพราะงานเราหนัก แตเราก็รักในศักดิ์ศรี<br />

ศักดิ์ศรี<br />

(แอน) ลูกสาวชาวนา หนาตาดูดี นี่คือลูกสาวของ<br />

ชาวนา ชาวนา<br />

ภาพที่<br />

55 การรํากลอนโต<br />

(ฝน) ฝนถามปาวา รักนาหรือสวน คิดใหถวนสวน ดีหวา ดีหวา<br />

(ฝาย) ปาลมก็ดี ยางก็มีราคา ราคาขาว ไมเทาใด เทาใด<br />

(รุง)<br />

รุงจะถามฝาย<br />

ถาคนไมทํานา ถามวาจะกินไหร กินไหร<br />

(แอน) พี่ฝนกับฝาย<br />

คงจะไมเปนไร ของกินแทน คือ แผนยาง แผนยาง<br />

่ (ฝน) แมมานั่ง<br />

ฟงลูกทั้งสี<br />

จะชั่วดี<br />

อยาถากถาง ถากถาง<br />

(ฝาย) สมมุติบทบาทขึ้นมาวาด<br />

มาวาง ตามทํานองของเรื่องราว<br />

เรื่องราว<br />

(รุง)<br />

บาน...(สถานที่)..<br />

ความดี ไมลืมบานนี้ทั้ง<br />

สี ่สาว สี่สาว<br />

(พรอม) ลูกสี่คนขออวยพรในกลอนกลาว<br />

สี่ลูกสาวขออําลาดวยทารํา<br />

141


เครื่องแตงกายสําหรับโนรา<br />

ภาพที่<br />

56 เทริด<br />

หมายเหตุ: บันทึกภาพเมื่อ<br />

21 พฤษภาคม 2548<br />

ภาพที่<br />

57 หางหงส<br />

หมายเหตุ: บันทึกภาพเมื่อ<br />

21 พฤษภาคม 2548<br />

เครื่องแตงกายของโนราศรียาภัย<br />

142


ภาพที่<br />

58 กรองบา<br />

หมายเหตุ: บันทึกภาพเมื่อ<br />

21 พฤษภาคม 2548<br />

ภาพที่<br />

59 รัดอก<br />

หมายเหตุ: บันทึกภาพเมื่อ<br />

21 พฤษภาคม 2548<br />

ภาพที่<br />

60 กรองคอ<br />

หมายเหตุ: บันทึกภาพเมื่อ<br />

21 พฤษภาคม 2548<br />

143


ภาพที่<br />

61 สายสังวาลยเล็ก<br />

หมายเหตุ: บันทึกภาพเมื่อ<br />

21 พฤษภาคม 2548<br />

ภาพที่<br />

62 ทับทรวง<br />

หมายเหตุ: บันทึกภาพเมื่อ<br />

21 พฤษภาคม 2548<br />

ภาพที่<br />

63 สายสังวาลยใหญ และปกนกแอน<br />

หมายเหตุ: บันทึกภาพเมื่อ<br />

21 พฤษภาคม 2548<br />

144


ภาพที่<br />

64 หนาผา<br />

หมายเหตุ: บันทึกภาพเมื่อ<br />

21 พฤษภาคม 2548<br />

ภาพที่<br />

65 จัดหนาผา<br />

หมายเหตุ: บันทึกภาพเมื่อ<br />

21 พฤษภาคม 2548<br />

ภาพที่<br />

66 โจงกระเบน<br />

หมายเหตุ: บันทึกภาพเมื่อ<br />

21 พฤษภาคม 2548<br />

145


ภาพที่<br />

67 ตนแขน ปลายแขน<br />

หมายเหตุ: บันทึกภาพเมื่อ<br />

21 พฤษภาคม 2548<br />

ภาพที่<br />

68 กําไล<br />

หมายเหตุ: บันทึกภาพเมื่อ<br />

21 พฤษภาคม 2548<br />

ภาพที่<br />

69 เล็บ<br />

หมายเหตุ: บันทึกภาพเมื่อ<br />

21 พฤษภาคม 2548<br />

146


เครื่องแตงกายสําหรับพราน<br />

ภาพที่<br />

70 หนาพราน และหนาทาสี<br />

หมายเหตุ: บันทึกภาพเมื่อ<br />

21 พฤษภาคม 2548<br />

ภาพที่<br />

71 เครื่องแตงกายและอุปกรณพราน<br />

(หนาพราน ยาม ลูกประคํา เชือก ผานุง)<br />

หมายเหตุ: บันทึกภาพเมื่อ<br />

21 พฤษภาคม 2548<br />

147


เครื่องมือและอุปกรณแสดงโนรา<br />

ภาพที่<br />

72 หอก<br />

หมายเหตุ: บันทึกภาพเมื่อ<br />

21 พฤษภาคม 2548<br />

ภาพที่<br />

73 ไมหวาย (ไมเฆี่ยนพราย)<br />

หมายเหตุ: บันทึกภาพเมื่อ<br />

21 พฤษภาคม 2548<br />

ภาพที่<br />

74 อุปกรณในการตัดจําเลย หรือการแกบน (พระขรรค สายสินธุ<br />

มีดหมอและฝก 8 )<br />

หมายเหตุ: บันทึกภาพเมื่อ<br />

21 พฤษภาคม 2548<br />

8<br />

ฝก เปนภาษาถิ่นใต<br />

หมายถึงปลอกมีด<br />

148


เครื่องดนตรีประกอบการแสดงโนราศรียาภัย<br />

ดนตรีพื้นบานปกษใตที่ใชประกอบการรําโนรา<br />

ถูกมองขามมานาน ยังไมมีการหยิบยกมา<br />

วิเคราะห วิจัย และปรับปรุงใหเปนระบบที่มีมาตรฐานเทาที่ควร<br />

การฝกการถายทอดก็มีมารุนตอรุน<br />

ปากตอปาก ซึ่งผิดกับดนตรีสากล<br />

และดนตรีไทยที่มีหลักเกณฑชัดเจน<br />

จากการศึกษาทําใหทราบถึง<br />

ลักษณะเครื่องดนตรีและบทบาทหนาที่ของเครื่องดนตรีโนราดังนี้<br />

1. ปใน<br />

เปนเครื่องดนตรี<br />

Aerophones หรือ “เครื่องเปา”<br />

ประเภท Double reed หรือ ลิ้นคู<br />

มี<br />

หนาที่เปาเพลงประกอบการบรรเลงดนตรี<br />

และการรํา (การแสดงโนราไมคอยนิยมใชปชวาหรือป<br />

นอก)<br />

ภาพที่<br />

75 ปตน<br />

9<br />

หมายเหตุ: บันทึกภาพเมื่อ<br />

21 พฤษภาคม 2548<br />

ภาพที่<br />

76 ขณะบรรเลงปตน<br />

หมายเหตุ: ผูบรรเลง<br />

อาจารยนิยม บํารุงเสนา บันทึกภาพเมื่อ<br />

21 พฤษภาคม 2548<br />

9<br />

ภาคใตเรียก “ปตน”<br />

ภาคกลางเรียก “ปใน”<br />

149


2. ทับ เปนเครื่องดนตรี<br />

Membranophones หรือ “เครื่องหนัง”<br />

ประเภท Tubular1หรือ<br />

“กลองประเภทหุนกลวง”<br />

ชนิด goblet หรือ ทรงปากผาย หนาที่ของทับ<br />

คือ เปนผูกํากับจังหวะ,<br />

ผูนําเพลงเครื่อง<br />

สวนใหญเลนตามหลักเกณฑ แตบางครั้งตองเลนตามทารํา<br />

มีวิธีการและกลเม็ดการ<br />

เลนมากมาย ผูตีทับควรจะรูจักทารําเปนอยางดี<br />

จึงจะเลนดนตรีประเภทนี้ไดไพเราะและสนุกสนาน<br />

ภาพที่<br />

77 ทับ<br />

หมายเหตุ: บันทึกภาพเมื่อ<br />

21 พฤษภาคม 2548<br />

ภาพที่<br />

78 ขณะบรรเลงทับ<br />

หมายเหตุ: ผูบรรเลง<br />

นางสาวรุงรวี<br />

กลอมมิตร บันทึกภาพเมื่อ<br />

21 พฤษภาคม 2548<br />

3. กลอง เปนเครื่องดนตรี<br />

Membranophones หรือ “เครื่องหนัง”<br />

ประเภท Tubular1หรือ<br />

“กลองประเภทหุนกลวง”<br />

ชนิด conical หรือ ทรงปองกลาง ทําจากหนังสัตว มี 2 หนา ใชเลน<br />

150


ประกอบจังหวะตกของดนตรี ประกอบการรําในจังหวะสุดทาย และเปนเสียงสอดแทรกใหความ<br />

ครึกครื้น<br />

ภาพที่<br />

79 กลอง<br />

หมายเหตุ: บันทึกภาพเมื่อ<br />

21 พฤษภาคม 2548<br />

ภาพที่<br />

80 ขณะบรรเลงกลอง<br />

หมายเหตุ: ผูบรรเลง<br />

นายปรัชญา หีตนาคราม บันทึกภาพเมื่อ<br />

21 พฤษภาคม 2548<br />

4. โหมง เปนเครื่องดนตรี<br />

Idiophones หรือ “เครื่องตี<br />

- เครื่องกระทบ<br />

ประเภท<br />

Percussion หรือ “ประเภทตี” ชนิด Gong หรือ ฆอง มีระดับเสียงหางกันเปนคู<br />

8 หรือคู<br />

5, คู<br />

3<br />

แลวแตระดับเสียงผูขับรองจะตองการใช<br />

มีหนาที่กํากับจังหวะหลัก<br />

(คลายเบสดนตรีสากล)<br />

ประคองเสียงผูขับรองใหเกิดความไพเราะ<br />

(คลายคอรสกีตา)<br />

151


ภาพที่<br />

81 โหมง และฉิ่ง<br />

หมายเหตุ: บันทึกภาพเมื่อ<br />

21 พฤษภาคม 2548<br />

ภาพที่<br />

82 ดานในของโหมง หรือรางโหมง<br />

หมายเหตุ: บันทึกภาพเมื่อ<br />

21 พฤษภาคม 2548<br />

ภาพที่<br />

83 ขณะบรรเลงโหมงและฉิ่ง<br />

หมายเหตุ: ผูบรรเลงนางสาวรุงรวี<br />

กลอมมิตร บันทึกภาพเมื่อ<br />

21 พฤษภาคม 2548<br />

152


5. ฉิ่ง<br />

เปนเครื่องดนตรี<br />

Idiophones หรือ “เครื่องตี<br />

- เครื่องกระทบ<br />

ประเภท Concussion<br />

หรือ “ประเภทกระทบ” มีหนาที่กํากับจังหวะหลักคูกับโหมง<br />

ทําใหเกิดความไพเราะและความ<br />

ครึกครื้น<br />

6. แตระ เปนเครื่องดนตรี<br />

Idiophones หรือ “เครื่องตี<br />

- เครื่องกระทบ<br />

ประเภท Concussion<br />

หรือ “ประเภทกระทบ” มีหนาที่กํากับจังหวะตก<br />

ทําใหจังหวะมีความหนักแนน และครึกครื้น<br />

ภาพที่<br />

84 แตระ<br />

หมายเหตุ: บันทึกภาพเมื่อ<br />

21 พฤษภาคม 2548<br />

ภาพที่<br />

85 ขณะบรรเลงแตระ<br />

หมายเหตุ: บันทึกภาพเมื่อ<br />

21 พฤษภาคม 2548<br />

153


7. เครื่องดนตรีประกอบอื่นๆ<br />

ซึ่งจะมีหรือไมก็ได<br />

เชน ซออู,<br />

ซอดวง, ขลุย,<br />

ไวโอลิน, เครื่อง<br />

ดนตรีสากลประเภทตางๆ สวนใหญใชเลนผสมผสานกับป,<br />

กลอง, ทับ ตามแตละคนจะเห็น<br />

เหมาะสม ซึ่งสวนใหญเพื่อใหเกิดความไพเราะ<br />

หรือ สนองความตองการของผูชมตามยุคสมัย<br />

แต<br />

ละกลุมมีการประดิษฐทางเพลงหรือวิธีการเลนเปนของตนเอง<br />

การถายทอดความรูวิชาโนราของโนราโรงเรียนศรียาภัย<br />

จังหวัดชุมพร<br />

ในปจจุบัน อาจารยนิยม บํารุงเสนา เปนผูครูคนเดียวที่ดูแลและผูถายทอดวิชาโนรา<br />

ใหแกนักเรียนในโรงเรียนศรียาภัยและผูสนใจทั่วไป<br />

ขั้นตอนและวิธีการสอนวิชาโนรา<br />

1. การเตรียมความพรอมของตัวผูสอน<br />

ครูผูสอนโนรา<br />

ควรจะเปนคนใจกวาง ออนนอมถอมตน ใหความสําคัญกับผูรูใน<br />

ทองถิ่นดวยความจริงใจ<br />

ทั้งนี้<br />

เพื่อที่จะไปขอศึกษาหาความรูจากนักปราชญในทองถิ่น<br />

ซึ่งมีอยู<br />

มากมายทั่วดินแดนปกษ<br />

เนื่องจากวิชาโนรา<br />

เปนวิชาพื้นบาน<br />

ที่ยังไมไดรวบรวมเปนตําราเชิง<br />

วิชาการที่สมบูรณแบบ<br />

จึงมีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองศึกษาจากนักปราชญทองถิ่น<br />

แลวนํามา<br />

บูรณาการเพื่อหาขอยุติที่ดีที่สุด<br />

มีเหตุผลและเปนวิทยาศาสตร ทั้งนี้ก็เพื่อจะนํามาแยกแยะ<br />

และ<br />

อธิบายใหผูเรียน<br />

ไดเขาใจและเห็นจริง ผูเรียนจะไดเกิดศรัทธาและมั่นใจ<br />

จากที่กลาวมาแลววา<br />

ครูโนราจะตองเปนคนใจกวาง แมจะเปนผูอนุรักษของเกา<br />

แต<br />

จะตองเปดโลกทัศนของตนเองใหทันยุคสมัย สามารถนําของเกามาปรับใชกับยุคสมัยไดอยางลงตัว<br />

และมีเหตุผล เชนกระบวนการสอน การรํา การเลนดนตรีพื้นบานโนรา<br />

การแตงกายของโนรา<br />

ตลอดทั้งการบริหารจัดการหมูคณะและการนําเทคโนโลยีมาปรับใชอยางมีหลักการ<br />

ทั้งนี้เพื่อให<br />

ผูเรียนซึ่งสวนใหญเปนคนรุนใหม<br />

เกิดความเขาใจ ความเพลิดเพลิน และรูจักการตอยอดไปสูสากล<br />

บนพื้นฐานของความเปนไทยไดอยางกลมกลืน<br />

ครูโนราจะตองมีความเขาใจเปนพื้นฐานกอนวา<br />

“วัฒนธรรม” เปนสิ่งที่ถายทอดกันได<br />

ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงได<br />

วัฒนธรรมใดที่นิ่งสนิทไมไดรับการปรับปรุง<br />

และเคลื่อนไหวใดๆ<br />

154


วัฒนธรรมนั้นจะเปน<br />

“วัฒนธรรมที่ตายแลว”<br />

หรือ วัฒธรรมที่ไมมีการพัฒนา<br />

เพราะฉะนั้นครู<br />

โนราจะตองปรับปรุงเนื้อหา<br />

รูปแบบ และวิธีการของโนราอยูตลอดเวลา<br />

โดยมีของเดิมเปนฐานราก<br />

และตอยอดอยางสรางสรรค ครูโนราจะตองเปนผูกลาอนุรักษ<br />

กลาตัด กลาตอ กลาคิด กลาพิสูจน<br />

และจะตองสรางองคความรูของตนเองตลอดเวลา<br />

2. การเตรียมความพรอมของตัวผูเรียน<br />

ครูผูสอนจะตองมีศิลปะในการโนมนาวผูเรียนอยางมีเหตุผล<br />

และวุฒิภาวะ ซึ่งสรุปเปน<br />

ประเด็นหลักไดดังนี้<br />

2.1 สรางศรัทธา ครูผูสอนจะตองชี้คุณคา<br />

ของวิชาโนรา ใหผูเรียนเห็นอยางชัดเจน<br />

โดยเฉพาะ “ประโยชนปจจุบัน” ที่จะเกิดกับตัวผูเรียน<br />

สามารถอธิบายคุณคา ของวิชาโนราใหเปน<br />

วิทยาศาสตรไดในทุกเรื่องราวอธิบายถึงที่มาที่ไปทุกขั้นตอนของวิชา<br />

2.2 สรางความสุข ความเพลิดเพลิน (ฉันทะ) ผูสอนจะตองมีศิลปะในการสอนใหเกิด<br />

ความเพลิดเพลิน ความสนุกสนาน เนื่องจากวิชาโนรา<br />

เปนวิชาที่ฝกฝนไดยากมาก<br />

มีองคประกอบ<br />

ของศาสตร และศิลปที่หลากหลาย<br />

ถาผูสอนไมสอดแทรกความสนุก<br />

ความเพลิดเพลิน ผูเรียนจะ<br />

รูสึกทอแทไดงาย<br />

และอาจจะลมเลิกไปในที่สุด<br />

ซึ่งเปนเหตุผลหนึ่งที่หาคนสืบทอดวิชาโนราไดยาก<br />

ยิ่ง<br />

การสอนเนื้อหาวิชาโนรา<br />

ผูสอนจะตองสอนจากพื้นฐานที่งาย<br />

ไปสูการแสดงระดับสูง<br />

โดยจะเรียงเปนลําดับ ดังนี้<br />

1. การปรับโครงสรางกลามเนื้อ<br />

การจัดระเบียบสวนตางๆ ของรางกาย<br />

เนื่องจากการรําโนรา<br />

มีสวนคลายคลึงกับการบริหารรางกาย การเลนยิมนาสติกส การ<br />

ฝกโยคะ เพราะฉะนั้นการปรับโครงสราง<br />

และการจัดระเบียบสวนตางๆ ของรางกาย จึงมีความจํา<br />

เปนมาก และยังเปนการสรางนิสัยใหผูเรียนมีหลักเกณฑในลีลา<br />

และการเคลื่อนไหวในการรํา<br />

ซึ่งมี<br />

วิธีการดังนี้<br />

155


1.1 ฝกดัดตัว ดัดแขน ดัดขา ดัดมือ ดัดหลัง ตามวิธีการของโนรา แตผูสอนและผูเรียน<br />

สามารถนําวิธีการสมัยใหม โดยเฉพาะ “วิทยาศาสตรการกีฬา” เขามาใชไดเปนอยางดี ดังปรากฏใน<br />

ผลการวิจัยเกี่ยวกับ<br />

ผลการฝกรําโนราที่มีผลตอสมรรถภาพของนักศึกษาวิทยาลัยนครศรีราช<br />

ของ<br />

โกมล (2532) ปรากฏผลการวิจัยวา<br />

“ความแข็งแรงของกลามเนื้อมือขวา<br />

ความแข็งแรงของกลามเนื้อมือซาย<br />

ความอดทนของ<br />

กลามทอง ความออนตัว พลังกลามเนื้อขา<br />

การทรงตัว ความคลองแคลววองไว และความอดทน<br />

ของระบบไหลเวียนโลหิตและการหายใจ หลังการฝกโนราดีกวากอนฝกโนรา”<br />

1.2 การฝกจัดระเบียบรางกาย ไดแก การยืนสนเทาชิด ปลายเทาเปด แอนหลัง เชิดหนา<br />

การจีบแบบตางๆ มือจีบ มือรํา การพริ้มสลับมือจีบมือรํา<br />

การปาด การเก็บนิ้วหัวแมมือ<br />

การโปรย<br />

นิ้ว<br />

การคลึงแขน จีบหนา จีบหลัง จีบขาง จีบคว่ํา<br />

จีบหงาย ปาดหนา ปาดซาย – ขวา ปาดตรง<br />

การจัดนิ้วเทา<br />

– ฝาเทา<br />

2. การสอนทาพื้นฐาน<br />

(ทานิ่ง)<br />

สําหรับทาพื้นฐานนั้น<br />

ผูสอนจะตองสรางใหเปนกฎเกณฑจนผูเรียนเกิดความเคยชิน<br />

ทํา<br />

ใหการรํามีระเบียบแบบแผนและสงางาม (ฝกทานิ่ง)<br />

ประกอบดวยทาตาง ๆ ดังนี้<br />

2.1 ทาประฌม (แมลาย) ไดแก ทาประฌม 2 แบบ คือ ประฌมแขนขนานพื้น<br />

กระพุมมือ<br />

ขนานลําตัว กับทาประฌมลดปลายแขน กระพุมมือเอนเขาขางลําตัวนิดหนอย<br />

โดยใหผูเรียนทําซ้ํา<br />

หลายๆ ครั้ง<br />

(ปาดมือขึ้นและประนม)<br />

2.2 การตั้งวง<br />

ฝกใหผูเรียนใชมือจีบ,<br />

สาวจีบไปสูการตั้งวงทั้ง<br />

6 รูปแบบ คือ<br />

- วงลาง เสมอขอบเอว<br />

- วงกลาง ลดปลายแขน<br />

- วงกลาง เสมอไหล<br />

- วงเขาควาย (ราหูจับจันทร)<br />

- วงสูงฉาก<br />

- วงหนา<br />

156


แบบ คือ<br />

2.3 การสอด (ทาสอด ทาสอดสรอย) ใหผูเรียนฝกการสอดสรอย,<br />

สอดซาย – ขวา ทั้ง<br />

3<br />

- สอดแบบนอมตัวขนานพื้น<br />

ยอเขาแลวหมุนตัววางน้ําหนักที่เทาหนา<br />

- สอดแบบนอมตัวลงนิดหนอย พองาม ยอเขา วางน้ําหนักที่เทาหนา<br />

- สอดแบบไมตองนอมตัวเพียงแตยอเขา วางน้ําหนักที่เทาหนา<br />

2.4 ทาลงฉาก 2 แบบ<br />

- เทาทั้ง<br />

2 ขาง ตั้งฉากกับพื้นเปดวงสูงฉาก<br />

- เทาเปดพองาม เปดวงเขาควาย (ราหูจับจันทร)<br />

2.5 ทาทองโรง (เกียดไก) มือขางหนึ่งตั้งวง<br />

ขางหนึ่งจับหนาผา<br />

นอมตัวไปขางหนา<br />

เล็กนอย จรดเทาเดินแบบโนรา การเก็บปลายเทาวิ่ง<br />

2.6 ทาออกจากมาน ออกจากฉาก ทั้ง<br />

4 แบบ<br />

- ออกทาทองโรง<br />

- ออกทาจับผาทั้ง<br />

2 ขาง<br />

- ออกทาประฌม (แมลาย)<br />

- ออกทานั่ง<br />

2.7 ทากินนร ทั้ง<br />

4 แบบ<br />

- ทากินนรนั่ง<br />

- ทากินนรเล็ก 2 แบบ<br />

- ทากินนรใหญ<br />

- ทากินนรแปลง<br />

2.8 ทาจับพวงมาลัย ทานี้เปนที่มาของทารําหลายทา<br />

ไดแก<br />

- ทาจับสรอยพวงมาลัย<br />

- ทาระยา<br />

- ทาบัวตูม บัวบาน บัวคลี่<br />

บัวแยม<br />

157


พรอมๆ กัน<br />

2.9 ทาสามขุม ทานี้ฝกการเดินการกาวเทา<br />

การจรดเทาแบบสามขุมและเปดมือรําไป<br />

2.10 การกาวเทาประกอบทาเดินรํา ทั้ง<br />

3 แบบ คือ<br />

- การเดินชักเทาออกขางเพื่อรอจังหวะเครื่อง<br />

- การเดินเตะปลายเทา<br />

- การเดินเหยียบสน<br />

ขอสรุปการสอนทานิ่ง<br />

158<br />

ครูผูสอนควรฝกมาใหละเอียดแลวอธิบายใหผูเรียนเขาใจและรักษาหลักเกณฑพื้นฐาน<br />

ดังนี้<br />

1. การวางลําตัว แอนอก เชิดหนา ใชสีหนา เชน การยิ้มประกอบทารํา<br />

2. การจีบ การปาด การสาวจีบ การตั้งวงแบบตางๆ<br />

ความสูงต่ําของสวนตางๆ<br />

ของรางกายที่<br />

ประกอบเปนทารํา<br />

3. อัตราความเร็ว – ชา ของการเคลื่อนไหว<br />

เทา การยกตัว โนมตัว<br />

4. ความผึ่งผาย<br />

องอาจ ความออนนอม ความสงางาม ครูจะตองชี้ใหผูเรียนเขาใจอยางมี<br />

เหตุผล<br />

5. การรวมสมาธิจิตลงในทารํา เพื่อฝกใหจิตวิญญาณของผูรําเปนเนื้อเดียวกับการรํา<br />

การขับรองบท ตามทํานองโนรา<br />

การขับรอง หรือวาบททํานองโนรา นับวาเปนเรื่องยากสําหรับคนรุนใหมเนื่องจากชาชิน<br />

กับสําเนียงภาษากลาง และลีลาการรองเพลงสมัยใหม ทําใหการฝกเกิดความเชื่องชาและยากมาก<br />

แต<br />

ครูผูสอนจะตองอธิบายหลักเกณฑการขับรองบทกลอน<br />

ทํานองโนรา ใหผูเรียนเขาใจ<br />

ดังนี้<br />

1. การขับรองบทกลอนโนรามีลีลาคลายกับรองเพลงลูกทุง<br />

ลิเก โขน และการขับรองเพลง<br />

ไทยเดิม คือ ตองรองเต็มเสียง จะตองใหพลังเสียงออกมาจากกระบังลม ปอด ผานลําคอจนมาถึง<br />

ปาก ซึ่งครูโนราโบราณสอนวา<br />

“รองสุดคํา รําสุดมือ”


2. เรียกคําแตละคําใหชัด อักขระไมวิบัติ คําควบกล้ํา<br />

สระสั้นยาว<br />

จะตองชัดเจน<br />

3. ถูกตองตามจังหวะเครื่องดนตรี<br />

เสียงผูรอง<br />

ควรจะเปนระดับเดียวกับเสียงโหมง ที่เรียกวา<br />

เสียงเขาโหมง เพราะจะทําใหเกิดความไพเราะ<br />

4. ฝกการใชลูกคอ การเอื้อนเสียง<br />

5. ฝกการสอดแทรก “สรอยคํา” เชน พี่นะ<br />

นองนะ แมนะ สาวนะ เปนตน<br />

6. ฝกการรับรอง หรือรับบทใหผูรํา<br />

เพราะจะมีความสัมพันธกับทารํา เชน ตัวอยาง<br />

คํากลอน ครูเอย ครูสอน เสดื้องกร<br />

มาตองา<br />

คํารับรอง - ครูเอยครูสอน เสดื้องกร<br />

เขามาตองา<br />

- เสดื้องกรตองา<br />

ละนอง<br />

- เสดื้องกรมาตองา<br />

- ครูเอยครูสอน เสดื้องกรเขามาตองา<br />

จะเห็นวาคํากลอน 1 วรรคจะตองรับ 4 เที่ยว<br />

โดยใชวิธีการเดียวกันทั้ง<br />

9 คํากลอน ทั้งนี้<br />

การ<br />

รับรองจะตองเต็มเสียงหนักแนน และสอดคลองกับจังหวะเพื่อใหเกิดความครึกครื้น<br />

(ตามปกติการ<br />

รับรองเปนหนาที่ของผูเลนดนตรี)<br />

7. ฝกการขับรองประกอบทารํา ขอนี้สําคัญมาก<br />

คือ ผูรําจะตองรองกลอน<br />

และรําทา<br />

ประกอบไปดวย ซึ่งผูฝกใหมจะรูสึกวาทํายากมาก<br />

แตควรเริ่มฝกชาๆ<br />

ยังไมตองใชเครื่องดนตรี<br />

ประกอบ เพราะผูฝกใหมจะทําไมทันกับจังหวะดนตรี<br />

แตตองการใหเกิดความแมนยําในทารําและ<br />

การขับรอง เมื่อผูเรียนมีความแมนยําพอสมควรแลวจึงขับรอง<br />

รําประกอบดนตรี การรําทาครูสอน<br />

จึงจะสมบูรณ<br />

159


การสอนพื้นฐานการบรรเลงเครื่องดนตรีโนรา<br />

การสอนดนตรีโนรา เมื่อครูผูสอนอธิบายประเภท<br />

หนาที่ของเครื่องดนตรีแลว<br />

ผูสอนควร<br />

จะตองเริ่มตนและดําเนินการสอนตามลําดับ<br />

ดังนี้<br />

1. ทับ (2 ลูก) สมัยโบราณใชคน 2 คน เลนคนละลูก<br />

1.1 ผูเลนนั่งขัดสมาธิ<br />

วางทับบนหนาตัก ฝกเสียง “เทิง” ทั้งมือซายมือขวาใหมีน้ําหนัก<br />

เทากัน (ผูสอนควรแนะนําการจัดนิ้ว<br />

การวางมือบนหนาทับ)<br />

1.2 ฝกเสียง “ปะ” “ติ้ง”<br />

“ทึด” การปดปากทับ, เปดปากทับ ทําการฝกจนเสียงชัดทุก<br />

เสียง จนมีความคลองทั้ง<br />

2 มือ<br />

1.3 เริ่มฝกเพลงทับพื้นฐาน<br />

คือ เพลง “ลงโรง” (โหมโรง” คือ “ปะ ปะเทิง เทิง” โดยให<br />

เลนตอเนื่องหลายๆ<br />

ชุด จนเกิดความชํานาญ ดังนี้<br />

1.4 ในการปฏิบัติผูสอนอาจจะสอนเพลงทับที่หลากหลายเพื่อใหผูเรียนเพิ่มพูน<br />

ประสบการณตนเองกอนที ่จะทําการผสมวงและควรจะเริ่มผสมวง<br />

ดวยเพลง “ลงโรง” (โหมโรง)<br />

เพราะถือกันวาเปนเพลงครูของดนตรีโนรา<br />

2. โหมง (ในการผสมวง โหมงกับฉิ่งใชผูเลนคนเดียวกัน)<br />

2.1 ผูเลนนั่งขัดสมาธิ<br />

วางโหมงไวขางหนา มือขวาจับไมตีโหมง มือซายจับไม “กรับ”<br />

ทั้งนี้<br />

เพื่อใหผูฝกใหมชินกับจังหวะตกโดยใชเสียงกรับ<br />

2.2 ฝกตีโหมง ดังนี้<br />

(ฝกตอเนื่องจนผูเรียนคุนเคยกับจังหวะตก)<br />

ดังตัวอยางที่แสดงไว<br />

ตอไปนี้<br />

-โหมง-ทุม<br />

-โหมง-ทุม<br />

-โหมง-ทุม<br />

-โหมง-ทุม<br />

-โหมง-ทุม<br />

-โหมง-ทุม<br />

-โหมง-ทุม<br />

-โหมง-ทุม<br />

- - - - - - - กรับ - - - - - - - กรับ - - - - - - - กรับ - - - - - - - กรับ<br />

3. ฉิ่ง<br />

3.1 ฝกการจับฉิ่งใหถูกวิธีทั้งบนและลาง<br />

3.2 ฝกตี “ฉิ่ง<br />

ฉับ” ใหเสียงชัดเจน<br />

- - - ฉิ่ง<br />

- - - ฉิ่ง<br />

- - - ฉิ่ง<br />

- - - ฉับ - - - ฉิ่ง<br />

- - - ฉิ่ง<br />

- - - ฉิ่ง<br />

- - - ฉับ<br />

160


4. กลอง<br />

4.1 ครูผูสอนตองสอนวิธีจับไมกลอง<br />

การนั่ง<br />

การใชขอมือ และการวางน้ําหนักของ<br />

ไมกลองใหถูกวิธี<br />

4.2 ฝกไมเดี่ยว<br />

(ใชมือขวามือเดียว) ฝกตี ตุง<br />

ตุง<br />

ตุง<br />

- - - ตุง<br />

- - - ตุง<br />

- - - ตุง<br />

- - - ตุง<br />

- - - ตุง<br />

- - - ตุง<br />

- - - ตุง<br />

- - - ตุง<br />

4.3 ฝกไมคู<br />

(สองมือซายขวา) ฝกตีใหมีน้ําหนักเสียงเทากันและลงจังหวะ<br />

ตุง<br />

ตุง<br />

ตุง<br />

ตุง<br />

(สลับ ซาย – ขวา) การเริ่มตนตี<br />

2 มือ ควรใหมือซายลงกอน<br />

มือซาย - - - ตุง<br />

- - - - - - - ตุง<br />

- - - - - - - ตุง<br />

- - - - - - - ตุง<br />

- - - -<br />

มือขวา - - - - - - - ตุง<br />

- - - - - - - ตุง<br />

- - - - - - - ตุง<br />

- - - - - - - ตุง<br />

ดัง “ตูรุง”<br />

4.4 ฝกตีไมซอน (ตี 2 มือ ซาย – ขวา) ใหมือซายลงกอน และใหเสียงเฉียดกันเสียงจะ<br />

มือซาย - - ตู - - - ตู - - - ตู - - - ตู - - - ตู - - - ตู - - - ตู - - - ตู -<br />

มือขวา - - -รุง<br />

- - -รุง<br />

- - -รุง<br />

- - -รุง<br />

- - -รุง<br />

- - -รุง<br />

- - -รุง<br />

- - -รุง<br />

4.5 ฝกรัวกลอง ใหมีเสียงดังตอเนื่อง<br />

อยาใหเสียงขาด ฝกเสียงรัวหนักเบาโดยใช<br />

ขอมือเปนตัวบังคับ<br />

4.6 ฝกเพลงกลอง “ลงโรง” (โหมโรง) จนเกิดความชินกับจังหวะ<br />

5. แตระ มี 2 ชนิด คือ ชนิดธรรมดาใชไมไผสีสุก 2 อัน ตีใหเกิดเสียง กับอีกชนิดหนึ่งใช<br />

ไมเนื้อแข็งเปนแผนซอนกัน<br />

4 – 7 แผนแลว ผูกเชือกดึงขึ้นแลววางลงใหเกิดเสียงพรอมจังหวะตก<br />

(ลงพรอมกับเสียง “ฉับ” ของฉิ่ง<br />

- - - ฉิ่ง<br />

- - - ฉับ - - - ฉิ่ง<br />

- - - ฉับ - - - ฉิ่ง<br />

- - - ฉับ - - - ฉิ่ง<br />

- - - ฉับ<br />

- - - - - - - แตระ - - - - - - - แตระ - - - - - - - แตระ - - - - - - - แตระ<br />

161


6. การผสมวงเพลงลงโรง (โหมโรง) พื้นฐานการฝกหัดเครื่องดนตรี<br />

ทับ กลอง โหมง ฉิ่ง<br />

แตระ ใชตีเขาวงพรอมกัน<br />

7. ปตน<br />

หรือปในของวงดนตรีปพาทยภาคกลาง<br />

การเปาปตนวงดนตรีโนรา<br />

แตกตางกับปในของวงปพาทยภาคกลาง<br />

อยางเห็นไดชัด ทั้ง<br />

วิธีการบรรเลงและเพลงที่ใชบรรเลง<br />

กรเปาปตนในการแสดงโนรา<br />

ตองการบรรยากาศ และ<br />

ความรูสึกที่แตกตางกัน<br />

มีจุดเดน จุดแข็งที่แตกตางกัน<br />

แตใชพื้นฐาน<br />

การฝกที่เหมือนกัน<br />

การฝกเปาปตนนั้นยากมาก<br />

เนื่องจากมีกลเม็ดและลวดลาย<br />

ที่หลากหลาย<br />

การเปาปตนวง<br />

ดนตรีโนรา มีทั้งที่เปาตามเพลงที่กําหนด<br />

และเปาตามทารํา ซึ่งผูเปาจะตองแตกฉานทางปที่<br />

หลากหลายจึงจะเกิดความไพเราะ<br />

การฝกหัดเปาปตนไมสามารถจะบรรยายไดครบถวน<br />

ผูเรียนจะตองฝกกับครูผูสอน<br />

โดยตรงเทานั้น<br />

ถาเพียงแตอานจากตําราแลวฝกฝนดวยตนเอง นับเปนเรื่องที่ยากมาก<br />

ซึ่งการฝกหัดมีขั้นตอนดังตอไปนี้<br />

7.1 จะตองแนะนําลักษณะสําคัญของปตน<br />

เชน ลิ้นป,<br />

พวดป,<br />

การฝกตัดลิ้นป,<br />

การดูแล<br />

รักษา, การบังคับลม, การใชนิ้วปดรูป<br />

7.2 ฝกเปาใหเกิดเสียงตามตัวโนตที่ตองการ<br />

ลักษณะการเปด – ปด รูบังคับเสียงเพื่อทําใหเกิดเสียงโดยเทียบกับเสียงชื่อลําดับขั้นตัวโนต<br />

แบบอิตาลี ดังตารางตอไปนี้<br />

162


ตารางที่<br />

2 ตารางความสัมพันธระหวางเสียงตัวโนตกับลักษณะการเปด - ปดรูบังคับเสียงป<br />

เสียง<br />

โด<br />

ลักษณะการเปด – ป ิด รูบังคับเสียงปตน<br />

ลักษณะการเปด – ป ิด รูบังคับเสียงปใน<br />

เร<br />

มี<br />

163


ตารางที่<br />

2 (ตอ)<br />

เสียง<br />

ฟา<br />

ลักษณะการเปด – ป ิด รูบังคับเสียงปตน<br />

ลักษณะการเปด – ป ิด รูบังคับเสียงปใน<br />

ซอล<br />

ลา<br />

164


ตารางที่<br />

2 (ตอ)<br />

เสียง<br />

ที<br />

ลักษณะการเปด – ป ิด รูบังคับเสียงปตน<br />

ลักษณะการเปด – ป ิด รูบังคับเสียงปใน<br />

หมายเหตุ: ปตนแสดงแบบโดย<br />

นายกฤษฎา สุขสําเนียง<br />

ปในแสดงแบบโดย<br />

นางสาวมธุริน เริ่มรุจน<br />

ระบบเสียงปที่วัดได<br />

ปรากฏผลการวัดดังนี้<br />

เสียงที่<br />

ระดับเสียง ขั้นคูเสียง<br />

่<br />

่<br />

เสียงที 1 C - 40<br />

เสียงที 2 D b ่<br />

+ 25<br />

เสียงที 3 E b ่<br />

- 20<br />

เสียงที 4 F b ่<br />

- 10<br />

เสียงที 5 G b ่<br />

่<br />

+ 10<br />

เสียงที 6 A - 45<br />

เสียงที 7 B b<br />

}<br />

}<br />

}<br />

165 เซนต<br />

155 เซนต<br />

110 เซนต<br />

220 เซนต<br />

245 เซนต<br />

145 เซนต<br />

7.3 ฝกการไลเสียงสูง – ต่ํา<br />

ใหผูเรียนเกิดความชํานาญ<br />

และเกิดเสียงชัดเจนถูกตองตาม<br />

บันไดเสียง<br />

7.4 ฝกการ “บายลม” โดยเริ่มฝกบายลมใชลิ้นป<br />

– พวดป<br />

ไมตองใสในกระบอกป<br />

จากนั้นก็จะฝกไลเสียงและบายลมไปพรอมๆ<br />

กัน จนเกิดความชํานาญ<br />

7.5 เริ่มฝกเพลงลงโรง<br />

(โหมโรง) และเพลงอื่นๆ<br />

165


บทที่<br />

6<br />

การวิเคราะหบทเพลงประกอบการแสดงโนรา ของโนราโรงเรียนศรียาภัย<br />

ในการศึกษาวิเคราะหบทเพลงประกอบการแสดงโนราของโนราศรียาภัยนั้น<br />

เพลงที่ผูวิจัย<br />

ไดคัดเลือกนํามาวิเคราะหคือ บทเพลงและบทรองประกอบการรําทาครู ซึ่งไดแก<br />

เพลงครูสอน<br />

เพลงสอนรํา และเพลงประถมพรหมสี่หนา<br />

โดยผูวิจัยไดทําการจัดลําดับการวิเคราะหบทเพลง<br />

ดังนี้<br />

1. การวิเคราะหบทรอง และความสัมพันธระหวางบทรองและทารํา<br />

2. การวิเคราะหเพลงประกอบการแสดงโนราของโรงเรียนศรียาภัย ตามทฤษฎีดุริยางค<br />

วิทยา<br />

3. การวิเคราะหบทเพลงประกอบการแสดงโนราของโรงเรียนศรียาภัย ตามทฤษฎีคติชน<br />

วิทยา<br />

การวิเคราะหบทรอง<br />

บทรองเพลงครูสอน<br />

เพลงครูสอน<br />

(บทนํา) ครูเอยครูสอน เสดื้องกรมาตองา<br />

่ บทที 1 ไหวครูสอนหนังสือ หารือครูสอนมโนรา<br />

ครูสอนใหผูกผา สอนขาใหทรงกําไล<br />

่ บทที 2 ครูสอนใหครอบเทริดนอย ทั้งตาบสรอย<br />

พวงมาลัย<br />

ครูสอนใหทรงกําไล ใสแขนซาย ยายแขนขวา<br />

่ บทที 3 ครูใหเสดื้องเยื้องซาย<br />

ตีคาไดหาพระพารา<br />

ครูใหเสดื้องเยื้องขวา<br />

ตีคาไดหาตําลึงทอง


่ บทที 4 รําทาตีนถีบพนัก สวนมือชักเอาแสงทอง<br />

หาไหนใหไดเสมือนนอง รําทํานองพระเทวดา<br />

เนื้อรองที่ปรากฏขางตน<br />

ความหมายโดยสรุปกลาวถึง การระลึกถึงคําสอนของครูบา<br />

อาจารย ที่สอนการรําโนรา<br />

รวมถึงการสอนกระบวนการแตงกายแบบโนรา<br />

แผนผังแสดงฉันทลักษณ<br />

บทนํา O O O O O O O O O O<br />

ครู เอย ครู สอน สะ เดื้อง<br />

กร มา ตอ งา<br />

บทที่<br />

1 O O O O O O O O O O O O<br />

ไหว ครู สอนหนัง สือ หา รือ ครู สอน มะ โน รา<br />

O O O O O O O O O O O<br />

ครู สอน ให ผูก ผา สอน ขา ให ทรง กํา ไล<br />

บทที่<br />

2 O O O O O O O O O O O O<br />

ครู สอน ให ครอบ เทริด นอย ทั้ง<br />

ตาบ สรอย พวง มา ลัย<br />

O O O O O O O O O O O O<br />

ครู สอน ให ทรง กํา ไล ใส แขน ซาย ยาย แขน ขวา<br />

บทที่<br />

3 O O O O O O O O O O O O O<br />

ครู ให สะ เดื้อง<br />

เยื้อง<br />

ซาย ตี คา ได หา พระ พา รา<br />

O O O O O O O O O O O O O<br />

ครู ให สะ เดื้อง<br />

เยื้อง<br />

ขวา ตี คา ได หา ตํา ลึง ทอง<br />

167


บทที่<br />

4 O O O O O O O O O O O O<br />

รํา ทา ตีน ถีบ พะ นัก สวน มือ ชัก เอา แสง ทอง<br />

O O O O O O O O O O O O O O<br />

หา ไหน ให ได สะ เหมือน นอง รํา ทํา นอง พระ เท วะ ดา<br />

วิธีการรองและการรับของลูกคู<br />

1. (รอง) จะรําทาครูเอยครูสอน เสดื้องกร<br />

มาตองา<br />

(รับ) ครูเอยครูสอน เสดื้องกรมาตองา<br />

แมเฮอ เดื้องกร<br />

มาตองา ละนอง<br />

เสดื้องกร<br />

มาตองา<br />

วาครูเอยครูสอน เสดื้องกรมาตองา<br />

2. (รอง) ไหวครูสอนหนังสือ ไหวครูสอนหนังสือ หารือครูสอน มโนรา<br />

(รับ) ไหวครูสอนหนังสือ หารือครูสอน มโนรา<br />

แมเฮอ ครูสอน มโนรา ละนอง<br />

ครูสอน มโนรา<br />

ไหวครูสอนหนังสือ หารือครูสอน มโนรา<br />

3. (รอง) ครูสอนใหผูกผา ครูสอนใหผูกผา สอนขาใหทรงกําไล<br />

(รับ) ครูสอนใหผูกผา สอนขาใหทรง ทรงกําไล<br />

ใหทรง ทรงกําไล<br />

แมเฮอ ใหทรง ทรงกําไล ละนอง<br />

ครูสอนใหผูกผา สอนขาใหทรง ทรงกําไล<br />

168


4. (รอง) ครูสอนใหครอบเทริดนอย ครูสอนใหครอบเทริดนอย ทั้งตาบสรอย<br />

พวงมาลัย<br />

(รับ) ครูสอนใหครอบเทริดนอย ทั้งตาบสรอย<br />

พวงมาลัย<br />

แมเฮอ ตาบสรอย พวงมาลัย ละนอง<br />

ตาบสรอย พวงมาลัย<br />

ครูสอนใหครอบเทริดนอย ทั้งตาบสรอย<br />

พวงมาลัย<br />

5. (รอง) ครูสอนใหทรงกําไล ครูสอนใหทรงกําไล ใสแขนซาย ยายแขนขวา<br />

(รับ) ครูสอนใหทรงกําไล ใสแขนซาย ยายแขนขวา<br />

แมเฮอ แขนซาย ยายขวา ละนอง<br />

แขนซาย ยายแขนขวา<br />

ครูสอนใหทรงกําไล ใสแขนซาย ยายแขนขวา<br />

6. (รอง) ครูใหเสดื้องเยื้องซาย<br />

ครูใหเสดื้องเยื้องซาย<br />

ตีคาไดหาพระพารา<br />

(รับ) ครูใหเสดื้องเยื้องซา<br />

ตีคาไดหาพระพารา<br />

แมเฮอ ไดหาพระพารา ละนอง<br />

ไดหาพระพารา<br />

ครูใหเสดื้องเยื้องซาย<br />

ตีคาไดหาพระพารา<br />

7. (รอง) ครูใหเสดื้องเยื้องขวา<br />

ครูใหเสดื้องเยื้องขวา<br />

ตีคาไดหาตําลึงทอง<br />

(รับ) ครูใหเสดื้องเยื้องขวา<br />

ตีคาไดหาตําลึงทอง<br />

แมเฮอ ไดหาตําลึงทอง ละนอง<br />

ไดหาตําลึงทอง<br />

ครูใหเสดื้องเยื้องขวา<br />

ตีคาไดหาตําลึงทอง<br />

169


8. (รอง) รําทาตีนถีบพนัก รําทาตีนถีบพนัก สวนมือชักเอาแสงทอง<br />

(รับ) ตีนถีบพนัก สวนมือชัก ชักเอาแสงทอง<br />

แมเฮอ มือชักเอาแสงทอง ละนอง<br />

มือชัก ชักเอาแสงทอง<br />

รําทาตีนถีบพนัก สวนมือชัก ชักเอาแสงทอง<br />

9. (รอง) หาไหนใหไดเสมือนนอง หาใหไดก็ไมเหมือนนอง รําทํานองพระเทวดา<br />

(รับ) หาไหนใหไดเสมือนนอง รําทํานองพระเทวดา<br />

(รอง) ออรําพระเทวดา ตะนอง<br />

(รับ) รําพระเทวดา<br />

หาไหนใหไดเสมือนนอง รําทํานองพระเทวดา<br />

ความสัมพันธระหวางบทรองและทารําในเพลงครูสอน<br />

ตารางที่<br />

3 ตารางความสัมพันธระหวางบทรองและทารําในเพลงครูสอน<br />

่<br />

ลําดับ ทารํา บทรอง<br />

ภาพที 1<br />

ครูเอย<br />

170


ตารางที่<br />

3 (ตอ)<br />

่<br />

ลําดับ ทารํา บทรอง<br />

ภาพที 2<br />

ครูสอน<br />

ภาพที่<br />

3<br />

ภาพที่<br />

4<br />

ภาพที่<br />

5<br />

เสดื้องกร<br />

มาตองา<br />

สอนหนังสือ<br />

171


ตารางที่<br />

3 (ตอ)<br />

่<br />

ลําดับ ทารํา บทรอง<br />

ภาพที 6<br />

หารือครูสอนมโนรา<br />

ภาพที่<br />

7<br />

ภาพที่<br />

8<br />

ภาพที่<br />

9<br />

สอนใหผูกผา<br />

สอนขาใหทรง<br />

ทรงกําไล<br />

172


ตารางที่<br />

3 (ตอ)<br />

่<br />

ลําดับ ทารํา บทรอง<br />

ภาพที 10<br />

สอนใหครอบเทริดนอย<br />

ภาพที่<br />

11<br />

ภาพที่<br />

12<br />

ภาพที่<br />

13<br />

ทั้งตาบสรอย<br />

พวงมาลัย<br />

ครูสอนใหทรงกําไล<br />

173


ตารางที่<br />

3 (ตอ)<br />

่<br />

ลําดับ ทารํา บทรอง<br />

ภาพที 14<br />

ใสแขนซาย<br />

ภาพที่<br />

15<br />

ภาพที่<br />

16<br />

ภาพที่<br />

17<br />

ยายแขนขวา<br />

ครูใหเสดื้องเยื้องซาย<br />

ตีคาไดหา<br />

174


ตารางที่<br />

3 (ตอ)<br />

่<br />

ลําดับ ทารํา บทรอง<br />

ภาพที 18<br />

พระพารา<br />

ภาพที่<br />

19<br />

ภาพที่<br />

20<br />

ภาพที่<br />

21<br />

เสดื้องเยื้องขวา<br />

ตีคาไดหา<br />

ตําลึงทอง<br />

175


ตารางที่<br />

3 (ตอ)<br />

่<br />

ลําดับ ทารํา บทรอง<br />

ภาพที 22<br />

ตีนถีบพนัก<br />

ภาพที่<br />

23<br />

ภาพที่<br />

24<br />

ภาพที่<br />

25<br />

สวนมือชัก<br />

แสงทอง<br />

176<br />

หาไหนใหไดเสมือนนอง


ตารางที่<br />

3 (ตอ)<br />

่<br />

ลําดับ ทารํา บทรอง<br />

ภาพที 26<br />

ทาหาใหไดก็ไมเหมือนนอง<br />

ภาพที่<br />

27<br />

ภาพที่<br />

28<br />

รําทํานอง<br />

พระเทวดา<br />

การวิเคราะหบทเพลงครูสอน ตามทฤษฎีดุริยางควิทยา (ดูโนตเพลงฉบับสมบูรณในภาคผนวก)<br />

สื่อสรางเสียง<br />

(Medium)<br />

1. เสียงรอง (Voice) แบงเปน 2 สวน คือ ตนเสียงกับลูกคู<br />

2. ปตน<br />

(Aerophones: Double reed) เครื่องดนตรีประเภทเปาลิ้นคู<br />

ขนาดใกลเคียงกับป<br />

177


ในของภาคกลาง เปนเครื่องดนตรีหลักมีหนาที่ดําเนินทํานองเพียงชิ้นเดียว<br />

3. ทับ (Membranophones: Goblet Tubular) หรือโทนชาตรี มีลักษณะเปนกลองหุน<br />

กลวงปากผาย ทําหนาที่เปนผูนําของการแสดงทั้งหมด<br />

4. กลอง (Membranophones: Conical Tubular) หรือกลองตุก<br />

มีลักษณะกลองหุนกลวงมี<br />

ทรงปองกลางใชตีลอ-รับไปกับทับ<br />

5. แตระ (Idiophones: Concussion) เปนเครื่องดนตรีที่เกิดเสียงจากการสั่นสะเทือนของ<br />

มวลวัตถุในตัวเองประเภทกระทบ มีหนาที่กํากับและเนนจังหวะยอย<br />

6. ฉิ่ง<br />

(Idiophones: Concussion) เปนเครื่องดนตรีที่เกิดเสียงจากการสั่นสะเทือนของมวล<br />

วัตถุในตัวเองประเภทกระทบ มีหนาที่กํากับจังหวะยอย<br />

7. โหมง ((Idiophones: Gong) หรือฆองคู<br />

เปนเครื่องดนตรีที่เกิดเสียงจากการ<br />

สั่นสะเทือนของมวลวัตถุในตัวเองประเภทกระทบ<br />

มีหนาที่กํากับและเนนจังหวะยอย<br />

ทวงทํานอง (Melody)<br />

1. ระบบเสียง (Tuning system)<br />

ระบบเสียงปหมายถึงเพียงเฉพาะปตน<br />

ที่ใชเปาในงานวิจัยนี้เทานั้น<br />

ซึ่งเปาโดยอาจารย<br />

นิยม บํารุงเสนา บันทึกเสียงเมื่อวันที่<br />

21 พฤษภาคม 2549 ระบบเสียงที่วัดไดดวยเครื่องวัดเสียง<br />

Planet Waves ปรากฏผลการวัดดังนี้<br />

เสียงที่<br />

ระดับเสียง ขั้นคูเสียง<br />

่<br />

่<br />

เสียงที 1 C - 40<br />

เสียงที 2 D b ่<br />

+ 25<br />

เสียงที 3 E b ่<br />

- 20<br />

เสียงที 4 F b ่<br />

- 10<br />

เสียงที 5 G b ่<br />

่<br />

+ 10<br />

เสียงที 6 A - 45<br />

เสียงที 7 B b<br />

}<br />

}<br />

}<br />

165 เซนต<br />

155 เซนต<br />

110 เซนต<br />

220 เซนต<br />

245 เซนต<br />

145 เซนต<br />

178


จากกระดับเสียงที่วัดไดนั้น<br />

สามารถนํามาคํานวณเปนระยะหางของคูเสียงในระบบเซ็นต<br />

(Cent) ของอเล็กซานเดอร เจ เอลลิส (Alexander J Ellis) ไดดังนี้<br />

165 155 110 220 245 145<br />

เสียงที่<br />

1 2 3<br />

4 5 6 7<br />

ภาพที่<br />

86 ภาพระยะหางของขั้นคูเสียงของปตน<br />

2. ชวงเสียง (Ranges) อยูระหวางเสียงที<br />

(ต่ํา)<br />

ถึงเสียงเร (ชวงทบที่<br />

3)<br />

3. รูปลักษณของทวงทํานอง (Malodic contour)<br />

รูปลักษณของทวงทํานองโดยภาพรวมของเพลง เปนประเภททวงทํานองที่มีความตอเนื่อง<br />

เชื่อมโยงกัน<br />

(Conjunct) เชน หองที่<br />

1-9<br />

แตมีทวงทํานองลักษณะที่ไมคอยขึ้นลงหรือสม่ําเสมอ<br />

(Terraced) โดยจะปรากฏอยู<br />

ตอนตนหรือตอนทายของประโยคเพลง โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเชื่อมประโยคเพลงและนําเสียง<br />

ใหแกนักรอง (ผูแสดง)<br />

เชน หองที่<br />

1-2 เปนประเภทที่อยูตอนตนของประโยค<br />

หองที่<br />

196-199 เปนประเภทอยูตอนทายของประโยคและเปนเสียงนําใหแกนักรอง<br />

179


ทํานองป<br />

ทํานองรอง<br />

นอกจากนั้นยังมีทวงทํานองในลักษณะที่ไมเชื่อมโยงกัน<br />

(Disjunct) ปรากฏเปนโนตตัว<br />

เดียวทายประโยค โดยการโหนเสียงของปจากเสียงระดับกลางขึ้นไปเสียงสูง<br />

เชน<br />

จากเสียงลา ในชวงทบที่<br />

1 ไปเสียงเร ในชวงทบที่<br />

3 (หองที่<br />

15-16)<br />

จากเสียงลา ในชวงทบที่<br />

1 ไปเสียงที ในชวงทบที่<br />

2 (หองที่<br />

87)<br />

จากเสียงซอล ในชวงทบที่<br />

1 ไปเสียงที ในชวงทบที่<br />

2 (หองที่<br />

96-97)<br />

4. การประดับตกแตงทํานอง (Ornamentation) มี 2 ลักษณะ เปนการประดับตกแตง<br />

ทํานองของป<br />

คือ การเปาโนตตัวเดียวเสียงสั้น<br />

(Staccato) ติดตอกันหลายๆครั้ง<br />

คอยๆเร็วขึ้นจน<br />

ครบจังหวะ โดยแสดงสัญลักษณ “ ” ไวเหนือโนตที่ตองการ<br />

และการตีกลอง/ฉิ่ง<br />

ใน<br />

ลักษณะการตีรัว โดยแสดงสัญลักษณขีด 3 ขีดคาบทับหางของตัวโนต “ ” เชน หองที่<br />

85-89<br />

180


ทํานองป<br />

ทํานองรอง<br />

ทํานองฆอง<br />

ฉิ่งและแตระ<br />

ทับและกลอง<br />

จังหวะ (Rhythm)<br />

ถึงแมวาในระหวางบทเพลงจะมีจังหวะที่เร็วขึ้นบางเล็กนอยโดยการเรงจังหวะของเครื่อง<br />

ประกอบจังหวะ แตเมื่อกลองบากก็จะกลับมาตั้งจังหวะในระดับความเร็วที่ใกลเคียงกับจังหวะเดิม<br />

จึงกลาวไดโดยภาพรวมของเพลงนี้มีจังหวะที่สม่ําเสมอ<br />

(Isometric) ในอัตราความเร็ว (Tempo)<br />

ดังนี้<br />

หองเพลงที่<br />

1 – 24 ความเร็ว เทากับ 90<br />

หองเพลงที่<br />

25 – 38 ความเร็ว เทากับ จังหวะความเร็วไมแนนอน<br />

หองเพลงที่<br />

39 – 46 ความเร็ว เทากับ 90<br />

หองเพลงที่<br />

47 – 61 ความเร็ว เทากับ จังหวะความเร็วไมแนนอน<br />

หองเพลงที่<br />

62 – 71 ความเร็ว เทากับ 120<br />

หองเพลงที่<br />

72 – 79 ความเร็ว เทากับ จังหวะความเร็วไมแนนอน<br />

หองเพลงที่<br />

80 – 84 ความเร็ว เทากับ 90<br />

หองเพลงที่<br />

85 – 89 ความเร็ว เทากับ จังหวะความเร็วไมแนนอน<br />

หองเพลงที่<br />

90 – 94 ความเร็ว เทากับ 90<br />

หองเพลงที่<br />

95 – 100 ความเร็ว เทากับ จังหวะความเร็วไมแนนอน<br />

หองเพลงที่<br />

101 – 128 ความเร็ว เทากับ 60<br />

หองเพลงที่<br />

129 – 144 ความเร็ว เทากับ 56<br />

หองเพลงที่<br />

145 – 158 ความเร็ว เทากับ จังหวะความเร็วไมแนนอน<br />

หองเพลงที่<br />

159 – 319 ความเร็ว เทากับ 130<br />

หองเพลงที่<br />

320 – 324 ความเร็ว เทากับ จังหวะความเร็วไมแนนอน<br />

181


ผิวพรรณ (Texture)<br />

เปนแบบทํานองเดี่ยว<br />

(Monophony) ดําเนินทํานองตอเนื่องกันระหวางทํานองปกับ<br />

ทํานองรองแลวจบลงดวยทํานองป<br />

โดยชวงตอเนื่องจากทํานองรองมาสูทํานองป<br />

ในตอนทาย<br />

นั้น<br />

ปจะดําเนินทํานองสวมเขามา<br />

มีลักษณะเปนการประสานเสียงแบบทํานองประสม<br />

(Polyphony) ในหองที่<br />

300-317<br />

ทํานองป<br />

ทํานองรอง<br />

ทํานองป<br />

ทํานองรอง<br />

รูปแบบ (Form)<br />

แบงเปน 3 สวน (ternary Form) โดยมีโครงสราง คือ / A / B / C / โดย<br />

A คือ ทํานองป<br />

ที่บรรเลงตั้งแตตนจนถึงกอนการขับรอง<br />

(โนตหองที่<br />

1-198)<br />

B คือ ทํานองขับรองทั้งหมด<br />

(โนตหองที่<br />

199-317)<br />

C คือ ทํานองป<br />

ที่บรรเลงตั้งแตสอดรับทายทํานองรองจนจบเพลง<br />

(โนตหองที่<br />

301-324)<br />

การวิเคราะหบทรอง<br />

บทรองเพลง สอนรํา<br />

เพลงสอนรํา<br />

สอนเอยสอนรํา ครูใหขารําเทียมบา<br />

ปลดปลงลงมา ครูใหขารําเทียมพก<br />

เยื้องซายกรายขวา<br />

ครูใหขารําหลายหนก<br />

182


วาดไวขางฝายอก ยกใหเปนแพนผาหลา<br />

ชอหนาชอหู ครูใหขารําหลายทา<br />

เนื้อรองที่ปรากฏขางตน<br />

ความหมายโดยสรุปกลาวถึง คําสอนของครู ที่สอนการรําโนรา<br />

ทาตาง ๆ<br />

แผนผังแสดงฉันทลักษณ<br />

O O O O O O O O O O<br />

สอน เอย สอน รํา ครู ให ขา รํา เทียม บา<br />

O O O O O O O O O O<br />

ปลด ปลง ลง มา ครู ให ขา รํา เทียม พก<br />

O O O O O O O O O O<br />

เยื้อง<br />

ซาย กราย ขวา ครู ให ขา รํา หลาย หนก<br />

O O O O O O O O O O O<br />

วาด ไว ขาง ฝาย อก ยก ให เปน แพน ผา หลา<br />

O O O O O O O O O O<br />

ชอ หนา ชอ หู ครู ให ขา รํา หลาย ทา<br />

วิธีการรองและการรับของลูกคู<br />

1. (รอง) สอนเอย สอนรํา<br />

(รับ) สาวเฮอ สอนเอย วาสอนรํา<br />

183


(รอง) ครูให เจาเฮอ ขารํา รําเจาเอย ขึ้นเทียมบา<br />

(รับ) ขารํา ขารํา เทียมบา<br />

ครูให เจาเฮอ ขารํา รําเจาเอยขึ้นเทียมบา<br />

วาขารํา รําเทียมบา<br />

2. (รอง) ไหนละนอง ปลดปลง ลงมา<br />

(รับ) สาวเฮอ ปลดปลง ลงมา<br />

(รอง) ครูให เจาเฮอ ขารํา รําเจาเอย ลงเทียมพก<br />

(รับ) ขารํา ขารํา เทียมพก<br />

ครูให เจาเฮอ ขารํา รําเจาเอยลงเทียมพก วาขารํา รําเทียมพก<br />

3. (รอง) นี่ละนอง<br />

เยื้องซาย<br />

แลวกรายขวา<br />

(รับ) แมเฮอ เยื้องซาย<br />

แลวกรายขวา<br />

(รอง) ครูให เจาเฮอ ขารํา รําเจาเอย ขึ้นหลายหนก<br />

(กนก)<br />

(รับ) ขารํา ขารํา หลายหนก<br />

ครูให เจาเฮอ ขารํา รําขาเอยหลายหนก วาขารํา รําหลายหนก<br />

4. (รอง) ไหนละนอง วาดไวขางฝายอก<br />

(รับ) วาดไวขางฝายอก<br />

(รอง) แลวยกให ยกใหเปนแพน แพนเจาเอย ผาหลา<br />

(รับ) เปนแพน เปนแพน ผาหลา<br />

ยกให เจาเฮอ เปนแพน แพนเจาเอยผาหลา วาเปนแพน แพนผาหลา<br />

5. (รอง) นี่ละนอง<br />

ชอหนา แลวชอหู<br />

(รับ) สาวเฮอ ชอหนา และชอหู<br />

(รอง) ครูให เจาเฮอ ขารํา รําเจาเอยขึ<br />

้นหลายทา<br />

(รับ) ขารํา ขารํา หลายทา<br />

184


ครูให เจาเฮอ ขารํา รําเจาเอยขึ้นหลายทา<br />

วาขารํา รําหลายทา<br />

ความสัมพันธระหวางบทรองและทารําในเพลงสอนรํา<br />

ตารางที่<br />

4 ตารางความสัมพันธระหวางบทรองและทารําในเพลงสอนรํา<br />

่<br />

ลําดับ ทารํา บทรอง<br />

ภาพที 1<br />

สอนเอยสอนรํา<br />

ภาพที่<br />

2<br />

ภาพที่<br />

3<br />

สอนเอยสอนรํา (ตอ)<br />

ครูใหขารํา<br />

185


ตารางที่<br />

4 (ตอ)<br />

่<br />

ลําดับ ทารํา บทรอง<br />

ภาพที 4<br />

รําเทียมบา<br />

ภาพที่<br />

5<br />

ภาพที่<br />

6<br />

ภาพที่<br />

7<br />

ปลดปลง<br />

ลงมา<br />

ครูใหขารํา<br />

186


ตารางที่<br />

4 (ตอ)<br />

่<br />

ลําดับ ทารํา บทรอง<br />

ภาพที 8<br />

รําเทียมพก<br />

ภาพที่<br />

9<br />

ภาพที่<br />

10<br />

ภาพที่<br />

11<br />

เยื้องซาย<br />

กรายขวา<br />

ครูใหขารํา<br />

187


ตารางที่<br />

4 (ตอ)<br />

่<br />

ลําดับ ทารํา บทรอง<br />

ภาพที 12<br />

หลายหนก (กนก)<br />

ภาพที่<br />

13<br />

ภาพที่<br />

14<br />

ภาพที่<br />

15<br />

วาดไวฝายอก<br />

วาดไวฝายอก (ตอ)<br />

ยกใหเปนแพน<br />

188


ตารางที่<br />

4 (ตอ)<br />

่<br />

ลําดับ ทารํา บทรอง<br />

ภาพที 16<br />

แพนผาหลา<br />

ภาพที่<br />

17<br />

ภาพที่<br />

18<br />

ภาพที่<br />

19<br />

ชอหนา - ชอหู<br />

ครูใหขารํา<br />

หลายทา<br />

189


การวิเคราะหบทเพลงสอนรํา ตามทฤษฎีดุริยางควิทยา (ดูโนตเพลงฉบับสมบูรณในภาคผนวก)<br />

สื่อสรางเสียง<br />

(Medium)<br />

อานคําอธิบายเรื่องสื่อสรางเสียงในการวิเคราะหบทเพลงครูสอน<br />

หนา 177<br />

ทวงทํานอง (Melody)<br />

1. ระบบเสียง (Tuning system) อานคําอธิบายเรื่องระบบเสียงในหนา<br />

178 -179<br />

2. ชวงเสียง (Ranges) อยูระหวางเสียงโดในชวงทบที่<br />

1 ถึงเสียงทีในชวงทบที่<br />

2<br />

3. รูปลักษณของทวงทํานอง (Malodic contour)<br />

รูปลักษณของทวงทํานองมีผสมสลับกันระหวางประเภททวงทํานองที่มีความตอเนื่อง<br />

เชื่อมโยงกัน<br />

(Conjunct) กับทวงทํานองลักษณะที่ไมคอยขึ้นลงหรือสม่ําเสมอ<br />

(Terraced) เชน<br />

ทวงทํานองที่มีความตอเนื่องเชื่อมโยงกัน<br />

(Conjunct) เชน โนตหองที่<br />

140-149<br />

ทวงทํานองลักษณะที่ไมคอยขึ้นลงหรือสม่ําเสมอ<br />

(Terraced) เชน โนตหองที่<br />

23-29<br />

190


4. การประดับตกแตงทํานอง (Ornamentation) มี 2 ประเภท เปนการประดับตกแตง<br />

ทํานองของป<br />

และการประดับตกแตงทํานองของกลอง<br />

การประดับตกแตงทํานองของป<br />

มี 3 ลักษณะ คือ<br />

การเปาโนตตัวเดียวเสียงสั้น<br />

(Staccato) ดวยเทคนิคที่เรียกวา<br />

“ตอด” ดังปรากฏในโนตหอง<br />

ที่<br />

93-98 ซึ่งกําหนดดวยสัญลักษณ<br />

“ ^ ” เหนือตัวโนตที่ตองการ<br />

การเปาโนตตัวเดียวเสียงสั้น<br />

(Staccato) ดวยเทคนิคที่เรียกวา<br />

“ตอด” ติดตอกันหลายๆครั้ง<br />

คอยๆเร็วขึ้นจนครบจังหวะ<br />

โดยแสดงสัญลักษณ “ ” ไวเหนือโนตที่ตองการ<br />

เชน โนตหอง<br />

ที่<br />

77-78<br />

การเปาปครั้งเดียวใหเกิดการเลื่อนไหลของเสียงจากเสียงต่ําขึ้นไปหาเสียงที่กําหนด<br />

ซึ่ง<br />

เปนเสียงที่สูงกวาเสียงแรก<br />

1 เสียง โดยใชเครื่องหมาย<br />

“ ” วางไวหนาตัวโนตที่ตองการ<br />

เชน<br />

โนตหองที่<br />

168 จะไดเสียง ซอล ลา<br />

การประดับตกแตงทํานองของกลอง มีเพียงลักษณะเดียว คือ ลักษณะการตีรัว โดยแสดง<br />

สัญลักษณขีด 3 ขีดคาบทับหางของตัวโนต “ ” เชนโนตหองที่<br />

121 – 126<br />

191


จังหวะ (Rhythm)<br />

ถึงแมวาในระหวางบทเพลงจะมีจังหวะที่เร็วขึ้นบางเล็กนอยโดยการเรงจังหวะของเครื่อง<br />

ประกอบจังหวะ แตเมื่อกลองบากก็จะกลับมาตั้งจังหวะในระดับความเร็วที่ใกลเคียงกับจังหวะเดิม<br />

จึงกลาวไดโดยภาพรวมของเพลงนี้มีจังหวะที่สม่ําเสมอ<br />

(Isometric) ในอัตราความเร็ว (Tempo)<br />

ดังนี้<br />

หองเพลงที่<br />

1 – 14 ความเร็ว เทากับ จังหวะความเร็วไมแนนอน<br />

หองเพลงที่<br />

55 – 66 ความเร็ว เทากับ 140<br />

หองเพลงที่<br />

67 – 126 ความเร็ว เทากับ จังหวะความเร็วไมแนนอน<br />

หองเพลงที่<br />

127 – 155ความเร็ว เทากับ 140<br />

หองเพลงที่<br />

156 – 202 ความเร็ว เทากับ จังหวะความเร็วไมแนนอน<br />

หองเพลงที่<br />

203 – 255 ความเร็ว เทากับ 140<br />

ผิวพรรณ (Texture)<br />

เปนแบบทํานองเดี่ยว<br />

(Monophony) ดําเนินทํานองตอเนื่องกันระหวางทํานองปกับ<br />

ทํานองรองแลวจบลงดวยทํานองป<br />

โดยชวงทายกอนที่จะลงจบ<br />

ในโนตหองที่<br />

200-218 มีทํานอง<br />

รองแทรกขึ้นมาระหวางทํานองป<br />

มีลักษณะเปนการประสานเสียงแบบทํานองประสม<br />

(Polyphony)<br />

192


รูปแบบ (Form)<br />

รูปแบบแบงเปน 3 สวน (ternary Form) โดยมีโครงสราง คือ<br />

/ A / B / B / B / B / B' / C / โดย<br />

A คือ ทํานองป<br />

ที่บรรเลงตั้งแตตนจนถึงกอนการขับรอง<br />

(โนตหองที่<br />

1-13)<br />

B คือ ทํานองขับรองที่มีทวงทํานองซ้ํากัน<br />

4 เที่ยว<br />

(โนตหองที่<br />

14-46)<br />

B’ คือ ทํานองขับรองที่มีทวงทํานองเหมือนกับ<br />

B แตมีความมีความยาวเพียงครึ่งเดียว<br />

ของ B (โนตหองที่<br />

47-66)<br />

C คือ ทํานองป<br />

ที่บรรเลงตอจากจากทํานองรองจนจบเพลง<br />

(โนตหองที่<br />

67-225)<br />

การวิเคราะหบทเพลง<br />

บทรองเพลงประถมพรหมสี่หนา<br />

ประถมพรหมสี่หนา<br />

ตั้งตนใหเปนประถม<br />

แกวขาเอยพรหมสี่หนา<br />

ถัดมาพระพรหม<br />

รําเปนทาสอดสรอย หอยเปนพวงมาลา<br />

รําทาเวโหยนโยนชา แกวขาเอยใหนองนอน<br />

รําทาแพนผาหลา ซัดลงมาเทียมไหล<br />

ทาพิสมัยรวมเรียง แกวขาเอยลงเคียงหมอน<br />

รําทาตางกันหันใหเปนมอน<br />

แกวขาเอยบินเขารัง<br />

มรคานกแขกเตา<br />

รําทากระตายชมจันทร ทาพระจันทรทรงกลด<br />

ทาพระรถโยนสาร แกวขาเอยมารกลับหลัง<br />

รําทาชูชายนาดกรายจะเขาวัง<br />

แกวขาเอยเจานครินทร<br />

ลงนั่งหมอบเฝา<br />

กินนรรอนรํามาเปรียบทา รําทาพระรามรามา<br />

193


แกวขาเอยทาวนาวศิลป<br />

มัจฉาลอยลองทองวาริน<br />

แกวขาเอยงามโสภา<br />

หลงใหลไปสิ้น<br />

รําทาสิงโตเลนหาง กวางโยนตัว<br />

รํายั่วขอแปง<br />

แกวขาเอยมาผัดหนา<br />

หงสทองลอยลองวายน้ํามา<br />

แกวขาเอยสําราญนัก<br />

เหราเลนน้ํา<br />

เนื้อรองที่ปรากฏขางตน<br />

ความหมายโดยสรุปกลาวถึง ทารําพื้นฐานของการรําโนรา<br />

ซึ่งทา<br />

รําในบทนี้จะเปนทารําที่ใชรําในการรําในชุดตาง<br />

ๆ ดวย<br />

แผนผังแสดงฉันทลักษณ<br />

O O O O O O O O O O<br />

ตั้ง<br />

ตน ให เปน ประ ถม<br />

O O O O O O<br />

ถัด มา พระ พรหม<br />

แกว ขา เอย พรหม สี่<br />

หนา<br />

O O O O O O O O O O<br />

รํา เปน ทา สอด สรอย หอย เปน พวง มา ลา<br />

O O O O O O O O O O O O<br />

รํา ทา เว โหยน โยน ชา แกว ขา เอย ให นอง นอน<br />

O O O O O O O O O O<br />

รํา ทา แพน ผา หลา ซัด ลง มา เทียม ไหล<br />

O O O O O O O O O O O O<br />

ทา พิส สะ มัย รวม เรียง แกว ขา เอย ลง เขียง หมอน<br />

194


O O O O O O O O O O O O O O<br />

รํา ทา ตาง กัน หัน ให เปน มอน มร ระ คา นก แขก เตา<br />

O O O O O O<br />

แกว ขา เอย บิน เขา รัง<br />

O O O O O O O O O O O<br />

รํา ทา กระ ตาย ชม จันทร ทา พระจันทรทรง กลด<br />

O O O O O O O O O O O<br />

ทา พระ รถ โยน สาร แกว ขา เอย มาร กลับ หลัง<br />

O O O O O O O O O O O O O<br />

รํา ทา ชู ชาย นาด กราย จะ เขา วัง ลง นั่ง<br />

หมอบ เฝา<br />

O O O O O O O<br />

แกว ขา เอย เจา นะ คะ รินทร<br />

O O O O O O O O O O O O O<br />

กิน นร รอน รํา มา เปรียบ ทา รํา ทา พระ ราม รา มา<br />

O O O O O O<br />

แกว ขา เอย ทาว นาว ศิลป<br />

O O O O O O O O O O O<br />

มัจ ฉา ลอย ลอง ทอง วา ริน<br />

O O O O O O<br />

หลง ใหลไป สิ้น<br />

แกว ขา เอย งาม โส ภา<br />

195


O O O O O O O O O<br />

รํา ทา สิง โต เลน หาง กวาง โยน ตัว<br />

O O O O O O O O O O<br />

รํา ยั่ว<br />

ขอ แปง แกว ขา เอย มา ผัด หนา<br />

O O O O O O O O O O O<br />

หงสทองลอย ลองวาย น้ํา<br />

มา<br />

O O O O O O<br />

เห รา เลน น้ํา<br />

แกว ขา เอย สํา ราญ นัก<br />

วิธีการรองและการรับของลูกคู<br />

1. (รอง) ตั้งตนใหเปนประถม<br />

(รับ) ตั้งตนใหเปนประถม<br />

(รอง) ถัดมาขวัญเอยพระพรหม แกวขาเอย สี่หนา<br />

(รับ) พระพรหม พระพรหมสี่หนา<br />

ถัดมาขวัญเอย พระพรหม<br />

แกวขาเอยสี่หนา<br />

พระพรหม พรหมสี่หนา<br />

2. (รอง) รําเปนทาสอดสรอย<br />

(รับ) รําทาสอดสรอย<br />

(รอง) แลวรําเปนทาสอดสรอย<br />

(รับ) สอดสรอย<br />

(รอง) แลวหอยเปนพวงมาลา<br />

(รับ) มาลา<br />

196


(รอง) หอยแลวเปนพวงมาลา<br />

(รับ) มาลา<br />

(รอง) รําทาเวโหยน 1 โยนชา<br />

(รับ) โยนชา<br />

(รอง) ทาเวโหยนโยนชา ละนอง<br />

แลวรําทาเวโหยนโยนชา แกวขาเอย ใหนองนอน<br />

(รับ) โยนชา โยนชา ใหนองนอน เวโหยนขวัญเอยโยนชา<br />

แกวขาเอย ใหนองนอน วาโยนชา ชาใหนองนอน<br />

3. (รอง) แลวรําเปนทา ทาแพนผาหลา<br />

(รับ) แมเฮอ ทาแพน ผาหลา<br />

(รอง) แลวจะซัดลงมาเทียมไหล<br />

(รับ) เทียมไหล<br />

(รอง) ทาพิศมัย เขามารวมแลวเรียง แกวขาเอย ลงเคียงหมอน<br />

(รับ) รวมเรียง รวมเรียง เคียงหมอน<br />

พิศมัย พิศมัยรวมเรียง แกวขาเอยลงเคียงหมอน วารวมเรียง ลงเคียงหมอน<br />

4. (รอง) แลวรําเปนทาเยื้องยางตางกัน<br />

(รับ) แมเฮอ เยื้องยาง<br />

แลวตางกัน<br />

(รอง) ไหนเจาลองหัน ใหเปนมอน<br />

(ดนตรี)<br />

(รอง) แลวรับเปนทา มรคานกแขกเตา แกวขาเอย บินเขารัง<br />

(ดนตรี)<br />

1<br />

โหยน เปนภาษาถิ่นใต<br />

แปลวา ไกวเปล<br />

197


5. (รอง) แลวรําเปนทากระตายชมจันทร ละนอง<br />

(ดนตรี)<br />

(รอง) แลวรําเปนทาพระจันทรเขามาทรงกรด<br />

(ดนตรี)<br />

(รอง) รําทาพระจันทรเขามาทรงกรด รําทาพระจันทรเขามาทรงกรด<br />

รําทาพระรถโยนสาน รําทาพระรถโยนสาน<br />

แกวขาเอย มารกลับหลัง<br />

(รับ) โยนสาร โยนสาร กลับหลัง<br />

วาพระรถ พระรถ โยนสาร<br />

แกวขาเอยมารกลับหลัง วาโยนสาร มารกลับหลัง<br />

(รอง) ออรําทาพระรถโยนสารมารกลับหลัง ละนอง<br />

6. (รอง) แลวรําเปนทาชูชาย ชูชายนาดกรายเขาวัง<br />

(รับ) เขาวัง<br />

(รอง) มาลงนั่ง<br />

ขวัญเอยหมอบเฝา แกวขาเอยเจานครินทร<br />

(รับ) หมอบเฝา หมอบเฝา เจานครินทร<br />

วาลงนั่ง<br />

เจาเฮอ หมอบเฝา<br />

แกวขาเอยเจานครินทร วาหมอบเฝา เจานครินทร<br />

7. (รอง) กินนรรอนรํา มาเปรียบทา<br />

(รับ) รอนรํา มาเปรียบทา<br />

(ดนตรี)<br />

(รอง) กินนรรอนรํา มาเปรียบทา<br />

(รับ) รอนรํา มาเปรียบทา<br />

198


(รอง) รําทาพระรามรามา<br />

(รับ) รามา<br />

(รอง) แกวขาเอย ทาวนาวศิลป<br />

(รับ) รามา รามา นาวศิลป รําทาพระรามรามา<br />

แกวขาเอยทาวนาวศิลป วารามา ทาวนาวศิลป<br />

8. (รอง) มัจฉาลอยลองทองวารินทร<br />

(รับ) ลอยลอง ทองวารินทร<br />

(ดนตรี)<br />

(รอง) มัจฉาลอยลองทองวารินทร<br />

(รับ) ทองวารินทร<br />

(รอง) วาหลงใหล หลงใหลไปสิ้น<br />

แกวขาเอย งามโสภา<br />

(รับ) ไปสิ้น<br />

ไปสิ้นโสภา<br />

หลงใหล สาวเฮอไปสิ้น<br />

แกวขาเอยงามโสภา วาไปสิ้น<br />

งามโสภา<br />

9. (รอง) แลวรํา ทาโตเลนหาง<br />

(รับ) ทาโต เลนหาง<br />

(ดนตรี)<br />

(รอง) แลวทาโต เลนหาง แลวรําทากวาง สาวเฮอโยนตัว<br />

(ดนตรี)<br />

(รอง) แลวรําทากวางโยนตัว<br />

(รับ) โยนตัว<br />

(รอง) แลวมารํายั่วขอแปง<br />

(รับ) ขอแปง<br />

(รอง) แกวขาเอย มาผัดหนา<br />

(รับ) ขอแปง ขอแปงผัดหนา<br />

รํายั่ว<br />

รํายั่ว<br />

ขอแปง<br />

199


แกวขาเอยมาผัดหนา วาขอแปง แปงผัดหนา<br />

10. (รอง) หงสทองลอยลอง วายน้ํามา<br />

(รับ) ลอยลองวายน้ํามา<br />

(ดนตรี)<br />

(รอง) หงสทองลอยลองวายน้ํามา<br />

(รับ) ลอยลองวายน้ํามา<br />

(รอง) รําทาเหราเลนน้ํา<br />

(รับ) เลนน้ํา<br />

(รอง) แกวขาเอย สําราญนัก<br />

(รับ) เลนน้ํา<br />

เลนน้ําสําราญนัก<br />

วาเหรา สาวเฮอเลนน้ํา<br />

แกวขาเอย สําราญนัก วาเลนน้ํา<br />

สําราญนัก<br />

(รับซ้ํา)<br />

เหราเลนน้ํา<br />

เลนน้ําสําราญนัก<br />

วาเหรา สาวเฮอเลนน้ํา<br />

แกวขาเอย สําราญนัก วาเลนน้ํา<br />

สําราญนัก<br />

ความสัมพันธระหวางบทรองและทารําในเพลงประถมพรหมสี่หนา<br />

ตารางที่<br />

5 ตารางความสัมพันธระหวางบทรองและทารําในเพลงประถมสี่หนา<br />

ลําดับ ทารํา บทรอง<br />

ภาพที่1<br />

ตั้งตนใหเปนประถม<br />

200


ตารางที่<br />

5 (ตอ)<br />

ลําดับ ทารํา บทรอง<br />

ภาพที่2<br />

พรหมสี่หนา<br />

ภาพที่<br />

3<br />

ภาพที่<br />

4<br />

พรหมสี่หนา<br />

(ตอ)<br />

สอดสรอย<br />

201


ตารางที่<br />

5 (ตอ)<br />

่<br />

ลําดับ ทารํา บทรอง<br />

ภาพที 5<br />

หอยเปนพวงมาลา<br />

ภาพที่<br />

6<br />

ภาพที่<br />

7<br />

หอยเปนพวงมาลา(ตอ)<br />

เวโหยนโยนชา<br />

202


ตารางที่<br />

5 (ตอ)<br />

่<br />

ลําดับ ทารํา บทรอง<br />

ภาพที 8<br />

เวโหยนโยนชา (ตอ)<br />

ภาพที่<br />

9<br />

ภาพที่<br />

10<br />

ใหนองนอน<br />

แพนผาหลา<br />

203


ตารางที่<br />

5 (ตอ)<br />

่<br />

ลําดับ ทารํา บทรอง<br />

ภาพที 12<br />

ซัดลงมาเทียมไหล<br />

(ผาหลาเทียมไหล)<br />

ภาพที่<br />

13<br />

ภาพที่<br />

14<br />

ภาพที่<br />

15<br />

พิสมัย<br />

มารวม<br />

มาเรียง<br />

204


ตารางที่<br />

5 (ตอ)<br />

่<br />

ลําดับ ทารํา บทรอง<br />

ภาพที 16<br />

ทาเคียง<br />

ภาพที่<br />

17<br />

ภาพที่<br />

18<br />

ภาพที่<br />

19<br />

รวมเรียงเคียงหมอน<br />

เยื้องยางตางกัน<br />

หันใหเปนมอน<br />

205


ตารางที่<br />

5 (ตอ)<br />

่<br />

ลําดับ ทารํา บทรอง<br />

ภาพที 20<br />

มรคานกแขกเตา<br />

ภาพที่<br />

21<br />

ภาพที่<br />

22<br />

ภาพที่<br />

23<br />

นกแขกเตาบินเขารัง<br />

206<br />

นกแขกเตาไซปกไซขน<br />

กระตายชมจันทร


ตารางที่<br />

5 (ตอ)<br />

่<br />

ลําดับ ทารํา บทรอง<br />

ภาพที 24<br />

กระตายชมจันทร (ตอ)<br />

ภาพที่<br />

25<br />

ภาพที่<br />

26<br />

ภาพที่<br />

27<br />

207<br />

กระตายชมจันทร (ตอ)<br />

กระตายชมจันทร (ตอ)<br />

พระจันทรทรงกลด


ตารางที่<br />

5 (ตอ)<br />

่<br />

ลําดับ ทารํา บทรอง<br />

ภาพที 28<br />

พระรถโยนสาร<br />

ภาพที่<br />

29<br />

ภาพที่<br />

30<br />

มารกลับหลัง<br />

ชูชาย<br />

208


ตารางที่<br />

5 (ตอ)<br />

่<br />

ลําดับ ทารํา บทรอง<br />

ภาพที 34<br />

ชูชาย (ตอ)<br />

ภาพที่<br />

35<br />

ภาพที่<br />

36<br />

ภาพที่<br />

37<br />

ชูชาย<br />

209<br />

ชูชายนาดกรายเขาวัง<br />

ลงนั<br />

่งหมอบเฝา<br />

เจานครินทร


ตารางที่<br />

5 (ตอ)<br />

่<br />

ลําดับ ทารํา บทรอง<br />

ภาพที 38<br />

ขี้หนอนเปรียบทา<br />

ภาพที่<br />

39<br />

ภาพที่<br />

40<br />

ภาพที่<br />

41<br />

พระรามรามา<br />

ทาวนาวศิลป<br />

มัจฉาทองวาริน<br />

210


ตารางที่<br />

5 (ตอ)<br />

่<br />

ลําดับ ทารํา บทรอง<br />

ภาพที 42<br />

มัจฉาทองวาริน (ตอ)<br />

ภาพที่<br />

43<br />

ภาพที่<br />

44<br />

ภาพที่<br />

45<br />

211<br />

หลงใหลไปสิ้น<br />

งามโสภา<br />

สิงโตเลนหาง<br />

กวางโยนตัว


ตารางที่<br />

5 (ตอ)<br />

่<br />

ลําดับ ทารํา บทรอง<br />

ภาพที<br />

46<br />

รํายั่ว<br />

ภาพที่<br />

47<br />

ภาพที่<br />

48<br />

ขอแปงผัดหนา<br />

212<br />

หงสทองวายน้ํา


ตารางที่<br />

5 (ตอ)<br />

่<br />

ลําดับ ทารํา บทรอง<br />

ภาพที<br />

49<br />

เหราเลนน้ํา<br />

การวิเคราะหบทเพลงประถมพรหมสี่หนา<br />

ตามทฤษฎีดุริยางควิทยา (ดูโนตเพลงฉบับสมบูรณใน<br />

ภาคผนวก)<br />

สื่อสรางเสียง<br />

(Medium)<br />

อานคําอธิบายเรื่องสื่อสรางเสียงในการวิเคราะหบทเพลงครูสอน<br />

หนา 177<br />

ทวงทํานอง (Melody)<br />

1. ระบบเสียง (Tuning system) อานคําอธิบายเรื่องระบบเสียงในหนา<br />

178 - 179<br />

2. ชวงเสียง (Ranges) อยูระหวางเสียงที<br />

(ต่ํา)<br />

ถึงเสียงเร (ชวงทบที่<br />

3)<br />

3. รูปลักษณของทวงทํานอง (Malodic contour)<br />

รูปลักษณของทวงทํานองมีผสมสลับกันระหวางประเภททวงทํานองที่มีความตอเนื่อง<br />

เชื่อมโยงกัน<br />

(Conjunct) กับทวงทํานองลักษณะที่ไมคอยขึ้นลงหรือสม่ําเสมอ<br />

(Terraced) เชน<br />

213


ทวงทํานองที่มีความตอเนื่องเชื่อมโยงกัน<br />

(Conjunct) เชน โนตหองที่<br />

341-350<br />

ทวงทํานองลักษณะที่ไมคอยขึ้นลงหรือสม่ําเสมอ<br />

(Terraced) เชน โนตหองที่<br />

233-240<br />

และโนตหองที่<br />

255-260<br />

4. การประดับตกแตงทํานอง (Ornamentation) มี 2 ประเภท เปนการประดับตกแตง<br />

ทํานองของป<br />

และการประดับตกแตงทํานองของกลอง<br />

การประดับตกแตงทํานองของป<br />

มี 4 ลักษณะ คือ<br />

การเปาโนตตัวเดียวเสียงสั้น<br />

(Staccato) ดวยเทคนิคที่เรียกวา<br />

“ตอด” เพื่อหยุดเสียง<br />

ดังปรากฏในโนตหองที่<br />

717 ซึ่งกําหนดดวยสัญลักษณ<br />

“ ^ ” เหนือตัวโนตที่ตองการ<br />

214


การเปาโนตตัวเดียวเสียงสั้น<br />

(Staccato) ดวยเทคนิคที่เรียกวา<br />

“ตอด” ติดตอกันหลายๆครั้ง<br />

คอยๆเร็วขึ้นจนครบจังหวะ<br />

โดยแสดงสัญลักษณ “ ” ไวเหนือโนตที่ตองการ<br />

เชน โนตหอง<br />

ที่<br />

96-97<br />

การเปาปครั้งเดียวใหเกิดการเลื่อนไหลของเสียงจากเสียงต่ําขึ้นไปหาเสียงที่กําหนด<br />

ซึ่ง<br />

เปนเสียงที่สูงกวาเสียงแรก<br />

1 เสียง โดยใชเครื่องหมาย<br />

“ ” วางไวหนาตัวโนตที่ตองการ<br />

เชน<br />

โนตหองที่<br />

419 จะไดเสียง ซอล ลา และในทางตรงกันขามเครื่องหมาย<br />

“ ” ก็แสดงถึง<br />

การผันเสียงจากเสียงสูงลงมาสูเสียงที่ต่ํากวาแตจะกําหนดเสียงต่ําดวยโนตตัวถัดไป<br />

เชน<br />

ดังนั้นโนตในหอง<br />

419 จะไดเสียง ซอล ลา แลวผันเสียงลงมาที่เสียงโดชารปซึ่งเปนโนต<br />

ตัวแรกของหอง 420<br />

การประดับตกแตงทํานองของกลอง มีเพียงลักษณะเดียว คือ ลักษณะการตีรัว โดยแสดง<br />

สัญลักษณขีด 3 ขีดคาบทับหางของตัวโนต “ ” เชนโนตหองที่<br />

437–440<br />

215


จังหวะ (Rhythm)<br />

ถึงแมวาในระหวางบทเพลงจะมีจังหวะที่เร็วขึ้นบางเล็กนอยโดยการเรงจังหวะของเครื่อง<br />

ประกอบจังหวะ แตเมื่อกลองบากก็จะกลับมาตั้งจังหวะในระดับความเร็วที่ใกลเคียงกับจังหวะเดิม<br />

จึงกลาวไดโดยภาพรวมของเพลงนี้มีจังหวะที่สม่ําเสมอ<br />

(Isometric) ในอัตราความเร็ว (Tempo)<br />

ดังนี้<br />

หองเพลงที่<br />

1 – 21 ความเร็ว เทากับ 100<br />

หองเพลงที่<br />

22 – 29 ความเร็ว เทากับ 105<br />

หองเพลงที่<br />

30 – 35 ความเร็ว เทากับ จังหวะความเร็วไมแนนอน<br />

หองเพลงที่ 36 – 42 ความเร็ว เทากับ 95<br />

หองเพลงที่<br />

43 – 49 ความเร็ว เทากับ 100<br />

หองเพลงที่<br />

50 – 59 ความเร็ว เทากับ จังหวะความเร็วไมแนนอน<br />

หองเพลงที่<br />

60 – 67 ความเร็ว เทากับ 130<br />

หองเพลงที่<br />

68 – 76 ความเร็ว เทากับ 95<br />

หองเพลงที่<br />

77 – 95 ความเร็ว เทากับ จังหวะความเร็วไมแนนอน<br />

หองเพลงที่<br />

96 – 106 ความเร็ว เทากับ จังหวะความเร็วไมแนนอน<br />

หองเพลงที่<br />

107 – 136 ความเร็ว เทากับ 85<br />

หองเพลงที่<br />

137 – 153 ความเร็ว เทากับ จังหวะความเร็วไมแนนอน<br />

หองเพลงที่<br />

154 – 167 ความเร็ว เทากับ 64<br />

หองเพลงที่<br />

168 – 187 ความเร็ว เทากับ 100<br />

หองเพลงที่<br />

188 – 193 ความเร็ว เทากับ 80<br />

หองเพลงที่<br />

194 – 214 ความเร็ว เทากับ 105<br />

หองเพลงที่<br />

215 – 225 ความเร็ว เทากับ จังหวะความเร็วไมแนนอน<br />

หองเพลงที่<br />

226 – 307 ความเร็ว เทากับ 70<br />

หองเพลงที่<br />

308 – 320 ความเร็ว เทากับ จังหวะความเร็วไมแนนอน<br />

หองเพลงที่<br />

321 – 326 ความเร็ว เทากับ จังหวะความเร็วไมแนนอน<br />

หองเพลงที่<br />

327 – 334 ความเร็ว เทากับ 60<br />

หองเพลงที่<br />

335 – 340 ความเร็ว เทากับ จังหวะความเร็วไมแนนอน<br />

หองเพลงที่<br />

341 – 356 ความเร็ว เทากับ 120<br />

หองเพลงที่<br />

357 – 497 ความเร็ว เทากับ 100<br />

216


หองเพลงที่<br />

498 – 517 ความเร็ว เทากับ 105<br />

หองเพลงที่<br />

518 – 521 ความเร็ว เทากับ 64<br />

หองเพลงที่<br />

522 – 536 ความเร็ว เทากับ จังหวะความเร็วไมแนนอน<br />

หองเพลงที่<br />

537 – 544 ความเร็ว เทากับ 105<br />

หองเพลงที่<br />

545 – 569 ความเร็ว เทากับ 70<br />

หองเพลงที่<br />

570 – 592 ความเร็ว เทากับ จังหวะความเร็วไมแนนอน<br />

หองเพลงที่<br />

593 – 603 ความเร็ว เทากับ 60<br />

หองเพลงที่<br />

604 – 624 ความเร็ว เทากับ 70<br />

หองเพลงที่<br />

625 – 640 ความเร็ว เทากับ จังหวะความเร็วไมแนนอน<br />

หองเพลงที่<br />

641 – 650 ความเร็ว เทากับ 90<br />

หองเพลงที่<br />

651 – 669 ความเร็ว เทากับ 70<br />

หองเพลงที่<br />

670 – 682 ความเร็ว เทากับ จังหวะความเร็วไมแนนอน<br />

หองเพลงที่<br />

683 – 735 ความเร็ว เทากับ 70<br />

หองเพลงที่<br />

736 – 747 ความเร็ว เทากับ จังหวะความเร็วไมแนนอน<br />

หองเพลงที่<br />

748 – 770 ความเร็ว เทากับ 70<br />

หองเพลงที่<br />

771 – 820 ความเร็ว เทากับ จังหวะความเร็วไมแนนอน<br />

ผิวพรรณ (Texture)<br />

เปนแบบทํานองเดี่ยว<br />

(Monophony) ที่ดําเนินทํานองตอเนื่องสลับกัน<br />

(Interlocking)<br />

ระหวางทํานองปกับทํานองรอง<br />

ในบางชวงเปนการบรรเลงของกลุมเครื่องดนตรีประเภทประกอบ<br />

จังหวะ ซึ่งหนาที่ในการขับรองและบรรเลงของเครื่องดนตรีแตละชิ้นจะขึ้นอยูกับทารําเปนหลัก<br />

หนาที่ของเครื่องดนตรีชิ้นหนึ่งจะหยุดลงก็ตอเมื่อเครื่องดนตรีชิ้นตอไปเขามารับหนาที่ตอไม<br />

ซ้ําซอนกัน<br />

แตมีบางชวงที่มีลักษณะเปนการประสานเสียงแบบทํานองประสม<br />

(Polyphony) ซึ่งมี<br />

ทั ้งประสานในตัวประโยคเพลงและประสานตอนทายทํานองรองโดยการสอดรับของทํานองป<br />

เชน<br />

217


ทํานองประสานในตัวประโยคแบบทํานองประสม (โนตหองที่<br />

708-711)<br />

ทํานองประสานตอนทายทํานองรองโดยการสอดรับของทํานองป<br />

(โนตหองที่<br />

649-650)<br />

รูปแบบ (Form)<br />

รูปแบบของทํานองเพลงนี้มีลักษณะเปนรูปแบบอิสระ<br />

(Free Form) ที่สามารถยืดหยุนได<br />

(Flexibility) ในการบรรเลงและขับรองนั้น<br />

การกําหนดความสั้น-ยาวของบทเพลงจึงขึ้นอยูกับ<br />

ปจจัยเรื่องเวลาในการแสดงเปนสําคัญ<br />

ซึ่งลักษณะของรูปแบบประเภทนี้<br />

ไมปรากฏในดนตรี<br />

ตะวันตก<br />

การวิเคราะหบทเพลงประกอบการแสดงโนราของโรงเรียนศรียาภัย ตามทฤษฎีคติชนวิทยา<br />

เพลงพื้นบานในความหมายทางคติชนวิทยา<br />

หมายถึง บทเพลงที่ชาวบานแตละทองถิ่นได<br />

ประดิษฐเนื้อรองและทํานองขึ้นตามความนิยมของคนในทองถิ่น<br />

และคนในทองถิ่นนั้นไดยอมรับ<br />

วาเปนเอกลักษณของทองถิ่นตน<br />

บทเพลงพื้นบานมักจะเกิดจากอารมณความรูสึก<br />

การใชปฏิภาณไหวพริบซึ่งไดสะทอนให<br />

เห็นสภาพชีวิต ความเปนอยู<br />

วัฒนธรรม ความเชื่อของทองถิ่นนั้น<br />

ๆ ดวย<br />

218


จากการศึกษาเรื่องบทเพลงประกอบการแสดงโนรา<br />

ซึ่งจัดเปนบทเพลงและวัฒนธรรม<br />

พื้นบานประเภทหนึ่ง<br />

ทําใหทราบวา การแสดงโนรามีบทบาทและหนาที่ตามทฤษฎีบทบาทหนาที่<br />

นิยม (Functionalism) สามารถสรุปไดดังนี้<br />

1. โนราเปนทั้งศิลปะและสัญลักษณทางสังคมที่สะทอนใหเห็นระบบความเชื่อ<br />

ศาสนา<br />

ซึ่งพบใน<br />

การรองในบทกาศครู ซึ่งเปนการรองประกาศระลึกถึงพระคุณของครูบาอาจารยและสิ่ง<br />

ศักดิ์สิทธ<br />

เพื่อขอใหการแสดงทั้งรําและรองโนราประสบความสําเร็จดวยดี<br />

เชน<br />

- ไดฤกษงามยามดี ปานนี้ชอบพระเวลา<br />

- แมศรีมาลาเปนครูตน ลูกขามไมพนเสียแลวหนา<br />

- นั่งไหวพอเทพสิงหร<br />

เชิญมาใหพรมโนรา<br />

- พอตาหมอเฒา ตาหมอใหญ เชิญทานคลาไคลมาเถิดหนา<br />

- พอขุนศรัทธา บานทาแค เปนคนเฒาคนแกของโนรา<br />

- พอตาขุนพราน พระยาพราน จะดําเนินเชิญทานกันเขามา<br />

- เชิญพอตาหลวงทุก ๆ องค ขอเชิญทานลงมานั่งหนา<br />

- ศักดิ์สิทธ<br />

ศักดิ์ชล<br />

ในบานนี้<br />

ไหวภูมิเจาที่เทวดา<br />

- (ทาวโลกบาล)ผูทรงฤทธิ์<br />

มาสถิตยเหนือเกลาเกศา<br />

- ลูกตั้งสัคเคกาเม<br />

ชุมนุมพระเทวดา<br />

ฯลฯ<br />

2. โนรามีบทบาทในการรักษาสถาบันที่สําคัญทางสังคม<br />

เชน ศาสนา ความเชื่อ<br />

และทําให<br />

การประกอบพิธีกรรมมีเหตุผล ซึ่งพบใน<br />

การแกบน ซึ่งวัฒนธรรมการแกบนของชาวชุมพรนั้น<br />

มักจะมีการรับโนราไปรวมในงานดวย ซึ่งการแกบนนั้น<br />

ตอบสนองความเชื่อ<br />

ถือเปนเครื ่องมือ<br />

นําไปสูการคงไวทางสถาบันทางสังคมนั่นเอง<br />

ที่มาของบทรองเพลงโนรา<br />

1. ที่มาจากสังคมทองถิ่น<br />

เนื่องจากบทรองเพลงโนราสวนใหญจะมีเนื้อหาสะทอนสภาพสังคม<br />

ตลอดจนชีวิตความ<br />

เปนอยูของคนในชุมชน<br />

รวมทั้งพฤติกรรมและวิถีชีวิตของคนในชุมชนนั้น<br />

ๆ เชน ในบทรอง<br />

219


ประถมพรหมสี่หนา<br />

ในวรรคที่วา<br />

“รําทาเวโหยนโยนชา แกวขาเอยใหนองนอน” คําวา<br />

“โหยน” เปนภาษาถิ่นใต<br />

แปลวา ไกวเปล เปนตน<br />

2. ที่มาจากเรื่องเกี่ยวกับเพศ<br />

มนุษยโดยทั่วไปจะรูสึกพอใจหรือสนุกที่ไดพูดในเรื่องเกี่ยวกับเพศ<br />

หรือเรื่องสองแงสอง<br />

งาม ดังนั้นบทรองในเพลงโนรามีเนื้อหาเกี่ยวกับเพศ<br />

โดยเนื้อหาเปนลักษณะการเปรียบเทียบและใช<br />

ภาษาสองแงสองงาม ใหผูฟงคิดเองแลวจากนั้นจึงจะเฉลยความหมายของคํานั้น<br />

ๆ ดังตัวอยางจาก<br />

ในการทําบท คือ<br />

1 นั่งผันหนาไปบูรพา<br />

ชมบรรพตาสามยอด<br />

2 เขียวขาว ยาวโยง แลโลง ทะลุหลอด<br />

3 เวิ้งถ้ํา<br />

น้ําลอด<br />

ตั้งแตยอด<br />

หลอด (ถึง) ดิน<br />

4 ลําคลองชองใหญ น้ําไหลออก<br />

(ตาม) ซอกหิน<br />

5 น้ําใส<br />

ไหลริน หยดยอย (ใน) รอยแยก<br />

ลักษณะสําคัญของบทเพลงและบทรองประกอบการแสดงโนราในทางคติชนวิทยา<br />

1. บทรองโนราจัดเปนมรดกของชาวบาน บทรองโนรานั้นมีทั้งที่ทราบและไมทราบผูแตง<br />

และที่มาของบทนั้น<br />

ๆ แตไดมีการรองสืบทอดกันมาแบบปากตอปาก หรือที่เรียกวาแบบมุขปาฐะ<br />

โดยใชการฟงและจดจํา ไมคอยพบการจดบันทึกเปนลายลักษณอักษร เนื้อหาในบางบทสะทอนให<br />

สภาพชีวิตความเปนอยูของคนในสังคม<br />

ตลอดจนสะทอนใหเห็นความเชื่อ<br />

และคานิยมทางสังคมที่<br />

มีการยึดเปนแนวปฏิบัติ<br />

2. บทรองโนราจะมีเนื้อหาที่แบงออกเปน<br />

2 แบบ คือ บทรองตามตํานานโนรา และบทรอง<br />

ที่แตงขึ้นเอง<br />

โดยบทรองที่แตงขึ้นเองนั้นจะมีเนื้อหาเนนเรื่องความสนุกสนานเปนหลัก<br />

โดยใช<br />

ถอยสองแงสองงามซึ่งเปนการกลาวในเชิงสัญลักษณหรือเปรียบเทียบที่ผูใหญดวยกันจะฟงเขาใจ<br />

3. บทรองโนราจะจะมีความเรียบงาย โดยความเรียบงายที่ปรากฏในบทเพลงนั้นจะอยูใน<br />

รูปของการใชถอยคําภาษา เนื้อรองจึงสั้น<br />

ๆ งาย ๆ มีการรองโตตอบกัน ในการรองมีการซ้ําวรรค<br />

เนื้อหาของบทรองเขาใจงาย<br />

และสวนใหญเปนเรื่องใกลตัว<br />

220


4. บทรองและบทเพลงโนราในบางบทเพลงไมมีเนื้อรองและทํานองตายตัว<br />

ในบางบท<br />

เพลงสามารถขยายออกหรือตัดทอนใหสั้นลงไดตามระยะเวลาที่ตองการ<br />

ซึ่งขึ้นอยูกับความ<br />

เหมาะสมของระยะเวลาที่จัดการแสดง<br />

วามีเวลาที่ตองการใหแสดงนานเทาไร<br />

ทางคณะโนราก็จะ<br />

จัดการแสดงใหเหมาะสมเวลานั้น<br />

ๆ โดยเนื้อหาเกี่ยวกับโนรายังคงครบถวน<br />

และความสั้น<br />

- ยาว<br />

แตกตางกันออกไป<br />

5. บทรองและบทเพลงประกอบการแสดงโนราของแตละทองถิ่นจะมีความคลายคลึงกัน<br />

ซึ่งเปนการแสดงใหเห็นจุดกําเนิดการแลกเปลี่ยน<br />

การถายทอดและการประสมประสานระหวางถิ่น<br />

ความคลายคลึงของบทรองและบทเพลงโนรา มี 2 ประการคือ<br />

- ความคลายคลึงทางดานเนื้อหาและการเรียบเรียง<br />

การแสดงโนราของแตละคณะนั้นจะ<br />

เริ่มตนเหมือนกัน<br />

คือ เริ่มจากการโหมโรง<br />

กาศครู และหนาฉาก<br />

- ความคลายคลึงทางดานการใชถอยคํา<br />

6. การแสดงโนราซึ่งประกอบดวยการขับรอง<br />

การทําทํานองเพลง และทาทางการรํา นั้น<br />

ไดสรางความบันเทิงแกคนในสังคม ในสภาพสังคมที่ยังไมมีความเจริญทางดานวัตถุมากนั้น<br />

โนรา<br />

นับวาเปนมหรสพชิ้นเอกของชาวบานที่สรางความเพลิดเพลินใหแกคนในชุมชน<br />

ทั้งยามวาง<br />

ยาม<br />

เทศกาล เพราะเนื้อหาของบทรองสนุกสนาน<br />

เขาใจงาย มีการแสดงถึงปฏิภาณของผูรอง<br />

อีกทั้ง<br />

จังหวะของดนตรีที่เราใจดวย<br />

7. การแสดงโนราเปนเครื่องมือควบคุมสังคม<br />

ถึงแมวาเนื้อหาบางสวนของบทรองโนราจะ<br />

มีการกลาวถึงเรื่องราวสองแงสองงาม<br />

แตในตอนทายจะชี้แนะระเบียบแบบแผนและพฤติกรรมที่<br />

เหมาะสมทางสังคม รวมทั้งการโนมนาวจิตใจใหคนในสังคมไดคลอยตามในสิ่งที่ดี<br />

ๆ ที่สังคม<br />

ตองการ เชน การกลาวถึงเรื่องความรักของวัยรุน<br />

แตตัวโนราที่รองจะรองบอกวา<br />

เรื่องรักไมควรยุง<br />

เพราะโนราศรียาภัยเปนโนรานักเรียน เรื่องที่เหมาะสมที่จะคิดเปนหลักคือเรื่องการเรียนเทานั้น<br />

ซึ่ง<br />

จะพบไดในบทกลอนโต ที่วา<br />

(รุง)<br />

2 มาตาพี่ฝนเราสองคนพี่นอง<br />

มาขับรองกลอนโชวในโวหาร<br />

(ฝน) ฝนหวังวาพี่นองยังตองการ<br />

ใหลูกหลานขับโชวกลอนโนรา<br />

2<br />

ชื่อในวงเล็บ<br />

คือชื่อนักแสดงโนรา<br />

221


้<br />

่<br />

่ <br />

์<br />

(รุง)<br />

เชิญพอ – แมเขามานั่งฟงใหดี<br />

วาพี่นองคูนี<br />

ใครจะดีหวา (กวา)<br />

(ฝน) เอะ ทําไมนองรุงเขามารองทา<br />

ทําเปนคนใจกลา ชาติหนาตี<br />

(รุง)<br />

ถึงนองรุงตัวเล็ก<br />

ยังเด็กกวา ถาพี่ฝนใจกลา<br />

อยาถอยหนี<br />

(ฝน) ประชันกลอนโนรา ที่หนาเวที<br />

ขึ้นชื่อวาฝนพี<br />

ไมเคยหนีใคร<br />

(รุง)<br />

พี่ฝนชวยบอกหนูใหรูกัน<br />

วาเราจะประชันกันแบบไหน<br />

(ฝน) เรามาแขงโนรากันใหสะใจ ดูวาใครมีปญญามากกวากัน<br />

(รุง)<br />

รุงจะถามฝนพี<br />

ถาจะมีคู พี่จะดูแบบไหน<br />

ชายในฝน<br />

(ฝน) มีชายทุง<br />

ชายนา สารพัน ชายในฝนของพี่ฝน<br />

คือ คนดี<br />

(รุง)<br />

ถามีชายรูปหลอมาขอความรัก หรือพี่ฝนจะผลักรักถอยหนี<br />

(ฝน) นั้นคือคนที่พี่รอ<br />

ทั้งหลอทั้งดี<br />

แตผูชายแบบนี้จะสักกี่คน<br />

(รุง)<br />

ถามีชายร่ํารวยดวยยศศักดิ<br />

ขอความรักภักดีกับพี่ฝน<br />

(ฝน) รวยเงินทอง ใชวาบอกคาคน จะรวยจนขอใหดี พี่พอใจ<br />

(รุง)<br />

เปนสามีภรรยา นองหารูไม<br />

หญิงกับชาย คูกันทําพรรคไหน<br />

(ฝน) ตัวนองรุง<br />

ยังเล็กเด็กเกินไป เปนผูใหญ<br />

รุงหนูจะรูเอง<br />

นองรุงอยูวัยเรียน<br />

อยาเพียรรัก ถาอกหักดังเผาะ ไมเหมาะเหม็ง<br />

(รุง)<br />

เห็นวัยรุนคราวหนู<br />

ดูครื้นเครง<br />

เปนนักเรียน นักเลง ไมเกรงใคร<br />

(ฝน) ความเปนหญิงจะถอยถดหมดความหมาย นาเสียดายอนาคตที่สดใส<br />

(รุง)<br />

ตอไปนี้นองรุง<br />

จะไมยุงใคร<br />

มอบหัวใจใหโนรา และวิชาการ<br />

(ฝน) เรานักเรียนโนรา มุงอนาคต<br />

ใหสวยสดแจมใสในวัยหวาน<br />

222


1. ความสําคัญและที่มาของปญหา<br />

บทที่<br />

7<br />

สรุปผลการวิจัย อภิปรายผลและขอเสนอแนะ<br />

สรุปผลการวิจัย<br />

มโนหรา เปนการแสดงที่ยิ่งใหญของชาวไทยภาคใตเกือบทุกจังหวัด<br />

เปนการละเลน<br />

พื้นเมืองที่สืบทอดกันมานานและนิยมกันอยางแพรหลายในภาคใต<br />

การแสดงโนรานั้นแบงออกเปน<br />

2 ประเภทคือ การแสดงที่ใชประกอบในพิธีกรรม<br />

และการแสดงเพื่อความบันเทิง<br />

ความเปนเอกลักษณทางวัฒนธรรมของชาวใต โดยเฉพาะอยางยิ่งคือภาษาถิ่นของชาวใต<br />

ทําใหการแสดงโนราไมแพรหลายไปในภูมิภาคอื่น<br />

รวมถึงการถายทอดแบบมุขปาฐะกันเฉพาะ<br />

คณะโนราเดียวกันเทานั้น<br />

ทําใหโนราภาคใตกําลังจะสูญหายไปพรอมกับการจากไปของนายโรง<br />

โนราคนแลวคนเลา ดวยเหตุนี้ผูวิจัยจึงตระหนักถึงคุณคา<br />

ความงามทางศิลปะการแสดง “โนรา” วา<br />

นอกจากจะทําใหเกิดความบันเทิงแกผูชมแลว<br />

การแสดงโนรายังเปนสื่อสะทอนภาพชีวิต<br />

ความคิด<br />

ความรู<br />

คานิยม ตลอดจนความเชื่อของชนชาวใตอยางชัดเจน<br />

ประกอบกับผูวิจัยเปนคนใน<br />

วัฒนธรรมถิ่นใต<br />

จึงไดมองเห็นความสําคัญโนราชุมพรที่กําลังจะสูญหายไป<br />

จึงไดศึกษาวิจัยในเรื่อง<br />

โนราชุมพร: กรณีศึกษา การแสดงโนราของโรงเรียนศรียาภัย จังหวัดชุมพร เพื่อเปนประโยชนใน<br />

ดานการอนุรักษ และเผยแพรวัฒนธรรมอันดีงามอีกทั้งยังทําใหเกิดความกาวหนาในการศึกษาดาน<br />

มานุษยดุริยางควิทยาตอไป<br />

2. จุดมุงหมายในการวิจัย<br />

การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาศึกษาประวัติความเปนมา<br />

และองคประกอบของโนรา<br />

ตลอดจนพิธีกรรมตาง ๆ เพื่อใหทราบถึงความเชื่อในการแสดงโนราภาคใตและโนราศรียาภัย<br />

จังหวัดชุมพร และศึกษาวิเคราะหเพลงประกอบการแสดงโนรา ซึ่งไดแก<br />

เพลงครูสอน เพลงสอน


รํา และเพลงประถมพรหมสี่หนา<br />

รวมไปถึงการศึกษาเครื่องดนตรีที่ใชในการแสดงโนราของโนรา<br />

ศรียาภัย ทั้งลักษณะทางกายภาพและบทบาทหนาที่ที่มีตอการแสดงโนรา<br />

3. วิธีดําเนินการวิจัย<br />

การวิจัยครั้งนี้เปนการศึกษาเชิงมานุษยดุริยางควิทยา<br />

(Ethnomusicology) ซึ่งใชการวิจัยเชิง<br />

คุณภาพ (Qualitative Research) โดยการตรวจสอบเอกสารที่เกี่ยวของไดแกแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับ<br />

มานุษยดุริยางควิทยา ดุริยางควิทยา คติชนวิทยา และศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวของ<br />

ในการศึกษาผูวิจัย<br />

ใชวิธีศึกษาภาคสนามโดยการเก็บขอมูลสัมภาษณบุคคลที่เกี่ยวของ<br />

จดบันทึกขอมูล บันทึกเสียง<br />

ภาพนิ่ง<br />

และภาพเคลื่อนไหว<br />

ทั้งจากเอกสารที่คนควาเพิ่มเติม<br />

และการสัมภาษณครูผูสอน<br />

นักแสดง<br />

และนักดนตรีโนราในโรงเรียนศรียาภัย จากนั้นจึงไดนําขอมูลที่ไดมาสรุปและวิเคราะห<br />

สังเคราะห<br />

ทั้งในดานดนตรีและสภาพสังคม<br />

และจัดทํารายงานแบบชาติพันธุวรรณลักษณ<br />

(Ethnographic) คือมี<br />

ทั้งการบรรยาย<br />

ภาพ และโนตเพลงประกอบ<br />

4. ผลการวิจัย<br />

จากการวิจัยทําใหสามารถสรุปผลการวิจัยเรื่องโนราชุมพร:<br />

กรณีศึกษา การแสดงโนราของ<br />

โรงเรียนศรียาภัย จังหวัดชุมพร ไดเปน 4 ประเด็นคือ<br />

4.1 ประเด็นทางประวัติศาสตร<br />

จากการวิจัยทําใหทราบวา การศึกษาเรื่องราวทางประวัติความเปนมาของโนราจาก<br />

ตํานาน นิทานพื้นบานตางๆ<br />

และการศึกษาจากหลักฐานทางประวัติศาสตรนั้น<br />

ผูวิจัยพบวามี<br />

ตํานาน นิทานพื้นบาน<br />

และหลักฐานทางประวัติศาสตรที่เกี่ยวของกับโนรามากมาย<br />

การรําโนรานาจะมีมานานแลว มีการรําและแสดงในราชสํานัก (อาณาจักรศรีธรรม<br />

ราชหรือกอนนั้น)<br />

จนกระทั่งพระบรมวงศานุวงศทั่วไปมีความรูความชํานาญจนสามารถเปนครูได<br />

เริ่มแรกของผูเปนราชครูนาจะเปนนางนวลทองสําลี<br />

หรือ แมศรีคงคา ซึ่งในคํากาศครูบอกวา<br />

แมศรีคงคาเปนครูตน และตามประวัติโนรา โอรสของแมศรีคงคาก็เปนที่โปรดปรานของพระ<br />

อัยกา คือพระยาสายฟาฟาด พระยาสายฟาฟาดถึงกับพระราชทานเครื่องทรงใหแตงองครําถวาย<br />

224


จากนั้นพระองคคงจะโปรดการรําโนรา<br />

เมื่อพระเจาแผนดินโปรด<br />

พระบรมวงศานุวงศและ<br />

อํามาตยขาราชการทั้งหลายก็ตองสนใจและเอาจริงเอาจัง<br />

จากเหตุผลอันนี้<br />

จึงมีราชครู แลวตอมา<br />

อํามาตยขาราชการก็เปนครูโนราไปตามกัน เชน ขุนโหร ญาโหร เปนตน<br />

จากหลักฐาน เชน ความศิลาจารึกสุโขทัยวา “สังฆราชปราชญเรียนจบพระปดกไตร<br />

หลวกกวาปูครูทั้งหลายในเมืองนี้<br />

ทุกคนลุกแตศรีธรรมราชมา” ทําใหสันนิษฐานไดวาวัฒนธรรม<br />

ตาง ๆ จากใตเหนือตั้งแตสมัยสุโขทัย<br />

และตอมาในสมัยกรุงศรีอยุธยาก็มีทํานองเดียวกันอีกหลาย<br />

ครั้ง<br />

ดังนั้นโนรา<br />

ซึ่งเปนทารําตาง<br />

ๆ ของทางภาคใตก็ไปเปนทารําของโนราชาตรี ละครชาตรี<br />

และทารําอื่น<br />

ๆ จากการศึกษาทารําตาง ๆของละครชาตรี ทําใหทราบวา ทารําของละครชาตรี<br />

โดยเฉพาะคําไหวครูมีเนื้อความตรงกันมาก<br />

ตอนรองก็รองเลียนเสียงชาวภาคใต จึงสามารถยืนยัน<br />

ขอสันนิษฐานนี้ไดวา<br />

โนราเปนตนแบบของละครชาตรีและตนแบบทารําของละครอื่น<br />

ๆ<br />

คําวา “โนรา” กับ “มโนหรา” คําวาโนรา เปนทารําชนิดหนึ่ง<br />

หรือจะหมายความวา<br />

ผูนําทางการฟอนรํา<br />

การรําโนรานาจะมีมาแตเดิมแลว ตอมามีการแสดงเรื่อง<br />

ก็ไดนําเรื่องจาก<br />

นิทานทองถิ่น<br />

หรือจากชาดก มาแสดง เรื่องที่มักนํามาแสดงมีเรื่อง<br />

พระรถเมรี ลักษณวงศ ดารา<br />

วงศ สังขทอง จันทธโครพ เรื่องทาวสินราช<br />

โคบุตร สังขศิลปชัย เรื่องนางยอพระกลิ่นหรือนาง<br />

ผมหอม เรื่องไกรทอง<br />

และเรื่องพระสุธนนางมโนหรา<br />

โดยจะเห็นไดจากมีการรํา “คลองหงส”<br />

คือ ตอนที่พรานบุญคลองนางมโนหรา<br />

และมีการรําแทงเข (แทงจระเข) คือการแสดงเรื่องไกร<br />

ทอง<br />

4.2 ประเด็นที่เกี่ยวของกับโนราชุมพรและโนราศรียาภัย<br />

จังหวัดชุมพร<br />

โนราชุมพรมาสันนิษฐานวามีมาตั้งแตสมัยโบราณ<br />

ซึ่งรับแบบอยางมาจากจังหวัดอื่น<br />

ทางภาคใต เชนสุราษฎรธานี พัทลุง นครศรีธรรมราช<br />

โนราชุมพรที่เกาแก<br />

ไดแกโนราแนบ ชูสกุล คณะโนราในอําเภอหลังสวน จังหวัด<br />

ชุมพร ไดเคยเลาวา เมื่อ<br />

พ.ศ.2459 โนราแนบ ไดไปฝกหัดวิชาโนรา มาจากโนราเอี่ยม<br />

ครูโนราใน<br />

อําเภอพิปูน จังหวัดนครศรีธรรมราช โนราแนบเริ่มฝกโนราเมื่ออายุประมาณ<br />

19 – 20 ป โนราที่ไป<br />

ฝกพรอมโนราแนบในคราวนั้น<br />

คือ โนราแพ และโนราซอน<br />

225


ในปจจุบันโนราชุมพร แบงออกเปน 2 แบบคือ โนราชาวบาน คือ คณะโนราพื้นบาน<br />

ที่รับงานแสดงโดยทั่วไป<br />

แสดงโดยบุคคลที่ฝกหัดโนราในทองถิ่น<br />

หรือลูกหลานของชาวคณะโนรา<br />

และโนราโรงเรียน คือ คณะโนราที่จัดตั้งขึ้นในโรงเรียน<br />

และแสดงโดยนักเรียนของโรงเรียนนั้น<br />

ๆ<br />

โนราศรียาภัย โรงเรียนศรียาภัย เปนโนรานักเรียนที่รวมกันอนุรักษภูมิปญญา<br />

ทองถิ่นของจังหวัดชุมพร<br />

และเปนภูมิปญญาทองถิ่นของชาวปกษใต<br />

นักเรียนโรงเรียนศรียาภัยที่<br />

ไดรับการฝกฝนถายทอดความรู<br />

แลวนําความรูที่ติดตัวนี้ไปใชในอนาคตได<br />

เพราะการฝกฝนโนรา<br />

ของโรงเรียนศรียาภัยมิไดเปนแคการฝกฝนเพื่อรับงานแสดงเทานั้น<br />

แตเปนการฝกฝนในดานจิตใจ<br />

ของผูแสดงโนราดวยวาตองมีความขยัน<br />

อดทน ซื่อสัตย<br />

กลาคิดกลาทําในสิ่งที่ถูกตองและ<br />

เหมาะสม มีความรับผิดชอบในหนาที่ของตน<br />

และมีความกตัญูรูคุณตอบิดามารดา<br />

ครูบาอาจารย<br />

รวมถึงจะตองเคารพตัวเองอีกดวย<br />

การแสดงโนราศรียาภัย มีการจัดชุดการแสดงทั้งหมด<br />

16 ชุดการแสดง โดยแตละชุด<br />

การแสดงก็จะมีเอกลักษณที่แตกตางกันออกไป<br />

ความแตกตางนั้นยังรวมถึงการพัฒนาทาทางใน<br />

การรําและบทรองใหแตกตางจากโนราในจังหวัดอื่น<br />

ซึ่งอาจจะเรียกไดวา<br />

โนราศรียาภัยนั้นยัง<br />

อนุรักษศิลปการแสดงและดนตรีของโนราไวอยางครบถวนและยังมฃีการพัฒนาทางความคิดให<br />

แตกตางออกไปเพื่อนําไปสูคววามเขาใจและการเขาสูผูชมไดกวางขวางมากขึ้น<br />

เปนผลใหโนราศรี<br />

ยาภัยไดรับการยอมรับวาเปนโนรานักเรียนที่รําอยางมีแบบแผน<br />

สวยงามและพรอมเพรียง แสดงถึง<br />

วินัยของนักแสดงและนักดนตรีวาไดรับการอบรมสั่งสอนเปนอยางดี<br />

การฝกรําโนรานั้น<br />

ตองเริ่มฝกจากทาพื้นฐานซึ่งไดแก<br />

ทารําในบทครูสอน บทสอน<br />

รํา และบทประถมพระหมสี่หนา<br />

โดยผูแสดงโนราจะนําทาตาง<br />

ๆ นี้มาประสมประสานกัน<br />

ใน<br />

เวลารําโชว และทารําเหลานี้จะนําไปใชในการรําทําบท<br />

ซึ่งเปนศิลปะชั้นสูงของโนราตอไป<br />

4.3 ประเด็นทางดุริยางควิทยา<br />

การศึกษาบทเพลงประกอบการแสดงในการรําครูสอน สอนรํา และประถมพรหมสี<br />

่<br />

หนา แบงการศึกษาออกเปน แบบคือ<br />

226


การศึกษาบทรองหรือเนื้อรองของการแสดงในเรื่องการรอยสัมผัสในบทกลอน<br />

และ<br />

ความสัมพันธระหวางบทรองและทารําของการแสดงทั้ง<br />

3 ชุด พบวาเนื้อรองในบทเพลงที่กลาว<br />

ขางตนมีการใชการสัมผัสทั้งในวรรคและระหวางวรรคตรง<br />

รวมถึงความสัมพันธกับทารําก็มี<br />

ความสัมพันธกัน<br />

การศึกษาสื่อสรางเสียง<br />

หรือเครื่องดนตรีที่ใชบรรเลง<br />

ประกอบดวยเสียงรอง และ<br />

เครื่องดนตรี<br />

คือ ปตน<br />

ทับ กลอง แตระ ฉิ่ง<br />

และโหมวง ซึ่งเครื่องดนตรีที่ที่เปนหลักไดแก<br />

ปตน<br />

และทับ ปตนเปนเครื่องดนตรีที่เปนเครื่องดําเนินทํานองหลัก<br />

และมีทับเปนตัวกํากับจังหวะของทั้ง<br />

นักดนตรี นักรอง และผูรําโนรา<br />

ลักษณะทํานองเพลงของเพลงประกอบการแสดงโนราทั้ง<br />

3 เพลง ไดแก เพลงครูสอน<br />

ทเพลงสอนรํา และประถมพรหมสี่หนา<br />

โดยแตละเพลงจะมีสวนที่ที่ตรงกัน<br />

และสวนที่แตกตาง<br />

กัน กลาวคือ<br />

สวนที่ตรงกัน<br />

คือ เรื่องระบบเสียง<br />

(Tuning system) หมายถึงการวัดเสียงปตน<br />

ดวย<br />

เครื่องวัดเสียง<br />

Planet Waves ปรากฎผลตามหลักของอเล็กซานเดอร เจ เอลลิส (Alexander J<br />

Ellis) ไดดังนี้<br />

165 155 110 220 245 145<br />

เสียงที่<br />

1 2 3<br />

4 5 6 7<br />

ภาพที่<br />

86 ภาพระยะหางของขั้นคูเสียงของปตน<br />

จังหวะ(Rhythm) พบวาในระหวางบทเพลงมีจังหวะเร็วขึ้นเล็กนอยโดยการเรงจังหวะ<br />

ของเพครื่องประกอบจังหวะ<br />

แตเมื่อกลองบาก<br />

ก็จะกลับมาตั้งจังหวะในระดับความเร็วที่ใกลเคียง<br />

กับจังหวะเดิม จึงกลาวไดวา ทั้ง<br />

3 เพลง มีจังหวะที่สม่ําเสมอ<br />

(Isometric)<br />

สําหรับสวนที่แตกตางกันนั้น<br />

สามามรถจําแนกตามแตละบทเพลงไดดังนี้<br />

227


เพลงครูสอน เปนเพลงแบบทํานองเดี่ยว<br />

(Monophony) คือดําเนินทํานองตอเนื่องกัน<br />

ระหวางทํานองปกับทํานองรองแลวจบดวยทํานองป<br />

ในตอนทายเพลงนั้นปจะดําเนินทํานองสวม<br />

เขามามีลักษณะเปนการประสานเสียงแบบทํานองประสม (Polyphony) รูปแบบ (Form) ของเพลง<br />

แบงเปน 3 สวน (Ternary Form) โดยมีโครงสรางคือ / A / B / C /<br />

เพลงสอนรํา เปนเพลงแบบทํานองเดี่ยว<br />

(Monophony) คือดําเนินทํานองตอเนื่องกัน<br />

ระหวางทํานองปกับทํานองรองแลวจบดวยทํานองป<br />

ในตอนทายเพลงนั้นปจะดําเนินทํานองสวม<br />

เขามามีลักษณะเปนการประสานเสียงแบบทํานองประสม (Polyphony) รูปแบบ (Form) ของเพลง<br />

แบงเปน 3 สวน (Ternary Form) คือ A / B / B / B / B / B' / C /<br />

เพลงประถมพรหมสี่หนา<br />

ปนแบบทํานองเดี่ยว<br />

(Monophony) ที่ดําเนินทํานอง<br />

ตอเนื่องสลับกัน<br />

(Interlocking) ระหวางทํานองปกับทํานองรอง<br />

ในบางชวงเปนการบรรเลงของ<br />

กลุมเครื่องดนตรีประเภทประกอบจังหวะ<br />

ซึ่งหนาที่ในการขับรองและบรรเลงของเครื่องดนตรีแต<br />

ละชิ้นจะขึ้นอยูกับทารําเปนหลัก<br />

หนาที่ของเครื่องดนตรีชิ้นหนึ่งจะหยุดลงก็ตอเมื่อเครื่องดนตรีชิ้น<br />

ตอไปเขามารับหนาที่ตอไมซ้ําซอนกัน<br />

แตมีบางชวงที่มีลักษณะเปนการประสานเสียงแบบทํานอง<br />

ประสม (Polyphony) ซึ่งมีทั้งประสานในตัวประโยคเพลงและประสานตอนทายทํานองรองโดย<br />

การสอดรับของทํานองป<br />

รูปแบบของทํานองเพลงประถมพรหมสี่หนานี้<br />

มีลักษณะเปนรูปแบบอิสระ (Form<br />

Free) ที่สามารถยืดหยุนได<br />

(Flexibility) ในการบรรเลงและขับรองนั้น<br />

การกําหนดความสั้น-ยาว<br />

ของบทเพลงจึงขึ้นอยูกับปจจัยเรื่องเวลาในการแสดงเปนสําคัญ<br />

ซึ่งลักษณะของรูปแบบประเภทนี้<br />

ไมปรากฏในดนตรีตะวันตก<br />

4.4 ประเด็นทางมานุษยวิทยาและสังคมวิทยา<br />

จากการศึกษา ทําใหทราบวา โนราเปนทั้งศิลปะและสัญลักษณทางสังคมที่สะทอนให<br />

เห็นระบบความเชื่อ<br />

ศาสนา ซึ่งพบใน<br />

การรองในบทกาศครู ซึ่งเปนการรองประกาศระลึกถึง<br />

พระคุณของครูบาอาจารยและสิ่งศักดิ์สิทธ<br />

เพื่อขอใหการแสดงทั้งรําและรองโนราประสบ<br />

ความสําเร็จดวยดี<br />

228


โนรามีบทบาทในการรักษาสถาบันที่สําคัญทางสังคม<br />

เชน ศาสนา ความเชื่อ<br />

และทํา<br />

ใหการประกอบพิธีกรรมมีเหตุผล ซึ่งพบใน<br />

การแกบน ซึ่งวัฒนธรรมการแกบนของชาวชุมพร<br />

นั้น<br />

มักจะมีการรับโนราไปรวมในงานดวย ซึ่งการแกบนนั้น<br />

ตอบสนองความเชื่อ<br />

ถือเปนเครื่องมือ<br />

นําไปสูการคงไวทางสถาบันทางสังคมนั่นเอง<br />

โนรามีหนาที่ตอบสนองทางดานความเชื่อ<br />

จิตใจ ศิลปะและอารมณของคนในสังคม<br />

สวนสังคมก็นําโนราไปเปนสวนหนึ ่งของเครื่องมือควบคุมสังคมและการแสดงโนรายังนําไปสูการ<br />

คงไวทางสถาบันทางสังคม<br />

อภิปรายผล<br />

จากการวิจัยเรื่องโนราชุมพร:<br />

กรณีศึกษา การแสดงโนราของโรงเรียนศรียาภัย จังหวัดชุมพร<br />

ผูวิจัยมีความรูสึกเขาใจในวัฒนธรรมทองถิ่นมากยิ่งขึ้น<br />

และจากการทํางานที่ตองเขาไปสัมผัสชีวิต<br />

ของครูโนรา นักแสดงโนราและนักดนตรีประจําคณะโนราโรงเรียนศรียาภัย ทําใหผูวิจัยไดรับรูวา<br />

“โนรา เปนศิลปะเพื่อชีวิต”<br />

เพราะโนรามีเนื้อแทที่หลากหลาย<br />

โนรามิใชเปนเพียงศิลปะ โนรามิใชเปน<br />

เพียงนาฎศิลป แตโนราเปนองครวมของ “นาฎศิลป ดุริยางคศิลป วาทศิลป วิจิตรศิลป วรรณศิลป การ<br />

บริหารรางกาย อุดมคติ ศาสนา ไสยศาสตร และพีธีกรรม”<br />

โนราเปนนาฎศิลป กลาวคือ โนรามีทารําพื้นฐานที่เกาแก<br />

กลาวกันวามี 12 ทา และแตกยอย<br />

ออกเปนทารําอีกหลายรอยทา มีลีลาที่นิ่มนวล<br />

แข็งกราว ตอเนื่อง<br />

บงบอกถึงจินตนาการที่สัมพันธ<br />

กันระหวาง มนุษย กับ มนุษย และระหวางมนุษย กับ สิ่งที่ลึกลับ<br />

หรือจิตวิญญาณ เชน ทาแมลาย ทา<br />

ราหูจับจันทร ทาขี้หนอน<br />

(กินนร) ทาจับระบํา ทาลงฉาก ทาผาหลา ทาบัวตูม บัวคลี่<br />

บัวบาน บัว<br />

แยม ทาแมงมุมชักใย ทาครูสอน ทาเฆี่ยนพราย<br />

ทาคลองหงษ ทาแทงเข ทารําเพลงป<br />

เพลงทับ ทา<br />

สอด ทาทองโรง (เกียดไก) ทาพราน ทาเดินรํา เปนตน<br />

โนราเปนดุริยางคศิลป กลาวคือ เครื่องดนตรีโนรามีความโดดเดนเปนเอกลักษณของ<br />

ตนเอง มีวิธีการเลนที่มีหลักเกณฑ<br />

และเลนตามจินตนาการ ผสมผสานกันอยางลงตัวกับทารํา มี<br />

ความลึกซึ้งและลึกล้ําอยูในตัวเอง<br />

มีเพลงเครื่องที่หลากหลาย<br />

229


โนราเปนวาทศิลป และวรรณศิลป กลาวคือ การขับกลอน หรือ รองกลอนโนรา นับวาเปน<br />

สิ่งที่สําคัญคูกับการรํา<br />

และการเลนดนตรี มีศิลปะในการขับรอง คํากลอนโนรามีฉันทลักษณที่<br />

หลากหลาย และเปนตัวของตัวเอง การขับรองสด กลอนโต (มุตโต) คําพรัด กลอนสี่<br />

กลอนหก<br />

กลอนแปด กลอนประกอบเพลงทับ กลอนกาศครูประเภทตางๆ จะตองฝกฝนเปนอยางดี จึงจะ<br />

สามารถทําไดอยางถูกตอง และมีเสนห นักปราชญทางโนรานั้น<br />

นอกจากจะรําเกง เลนดนตรีเกง<br />

แลว ยังจะตองขับรองเกง และประพันธคํากลอนใหเขากับสถานการณในการแสดงไดอยาง<br />

เหมาะสม<br />

โนราเปนวิจิตรศิลป กลาวคือ เครื่องแตงกาย<br />

และวิธีการแตงกายของผูรําโนรา<br />

มีความโดด<br />

เดนเฉพาะตัว สวยงาม แปลกตา (กลาวกันวา มีแบบเคามาจากเครื่องทรงกษัตริยหัวเมืองพัทลุง)<br />

มี<br />

ความเปนตัวตนที่สูงยิ่ง<br />

โนราเปนการบริหารรางกาย กลาวคือ ขอนี้ถือวาเปนความชาญฉลาดของคนยุคโบราณ<br />

ที่<br />

สามารถนําศิลปะมาประยุกตใชกับการบริหารรางกาย เพื่อสุขภาพของชีวิตไวอยางนาทึ่ง<br />

การรํา<br />

โนราจึงเหมือนกับการฝก โยคะ ยิมนาสติกส เพราะผูรํา<br />

จะบริหารรางกายทุกสวน ตั้งแตหัวจดเทา<br />

ผู<br />

รําโนราอยูเปนประจํา<br />

จะมีสุขภาพโดยรวมดีมาก กลามเนื้อ<br />

กระดูก เส็นเอ็น จะแข็งแรง และได<br />

สัดสวนอยางสวยงามเหมาะสม<br />

โนราเปนอุดมคติ ศาสนา ความเชื่อ<br />

และพิธีกรรม กลาวคือ ผูฝกโนราจะมีความเครงครัด<br />

ในสิ่งตอไปนี้คือ<br />

- ความเคารพ และศรัทธาในพระรัตนตรัย บิดา มารดา ครู อาจารย ผูมีพระคุณ<br />

ครูหมอ ครู<br />

โนรา อยางสูงยิ่ง<br />

จะละเมิดมิได<br />

- จะตองปฏิบัติตามประเพณีโนรา ในเรื่องพิธีกรรม<br />

จะมากนอย สั้น<br />

ยาว ขึ้นอยูกับความ<br />

เหมาะสมของกาละเทศะ<br />

- โนรา จะตองรอบรูเกี่ยวกับศาสตรที่ลึกลับตางๆ<br />

เชน จิตศาสตร ไสยศาสตร พุทธศาสตร<br />

และสามารถนํามาใชไดอยางเหมาะสม เกิดประโยชนตอตนเอง และผูอื่น<br />

- การรําโนรา การเลนดนตรีโนรา เปนการฝกสมาธิจิต หรือกรรมฐานชนิดหนึ่ง<br />

ซึ่งเปน<br />

ผลดีตอผูเรียนสืบเนื่องไปสูการเรียนรูสรรพวิชาอื่นๆ<br />

ไดเปนอยางดี<br />

230


เมื่อผูวิจัยทําการศึกษาและเขาไปก็บขอมูลในสถานที่จริง<br />

ทําใหทราบถึงปญหาและความ<br />

ยากลําบากในการอนุรักษวัฒนธรรมทองถิ่นใหคงอยู<br />

ความเจริญทางสังคมไดสงผลกระทบใหเกิด<br />

การเปลี่ยนแปลงในทุก<br />

ๆ ดานไมวาจะเปนดานเศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง โดยเฉพาะอยางยิ่ง<br />

การเปลี่ยนแปลงทางดานวัฒนธรรมทางสังคม<br />

ทั้งนี้เพื่อใหสอดคลองกับสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลง<br />

ไป ซึ่งผลของการเปลี่ยนแปลงนั้นก็ไดสงผลกระทบตอโนราดวยเชนกัน<br />

ทําใหการแสดงโนราเริ่ม<br />

หมดความนิยมลงเรื่อย<br />

ๆ จากการศึกษาผูวิจัยสามารถสรุปสาเหตุสําคัญของการเสื่อมความนิยมใน<br />

การแสดงโนราไดดังนี้<br />

1. การเปลี่ยนแปลงทางระบบเศรษฐกิจ<br />

แตเดิมสังคมไทยเปนสังคมกสิกรรม การผลิต<br />

สินคาตาง ๆ เปนไปเพื่อการยังชีพ<br />

แตเมื่อสังคมเขาสูระบบทุนนิยมจําเปนตองมีพลังในการผลิต<br />

มากขึ้นเพื่อการคา<br />

ทําใหมีการนําเอาเทคโนโลยีตาง ๆ เขามาใชแทนแรงงานคน เมื่อวิถีชีวิตของคน<br />

ในสังคมเริ่มเปลี่ยนแปลงตามสภาพสังคมที่เปลี่ยนนั้น<br />

เงินกลายเปนปจจัยหลักในการดํารงชีวิต<br />

การแขงขันในการทํางานก็มีมากยิ่งขึ้น<br />

เวลาสวนใหญของคนในสังคมคือ การทํางานหรือการหา<br />

เงิน การใชเวลาเพื่อความบันเทิงหรือการพักผอนนั้นนอยลง<br />

มหรสพตาง ๆ อยางเชน คณะโนรา<br />

เมื่อไมมีผูวาจาง<br />

บางคณะก็ตองปรับเปลี่ยนวิธีการแสดงเพื่อใหถูกใจคนดู<br />

เพื่อหวังวาจะกลับมา<br />

ไดรับความนิยมเชนเดิม หรือบางคณะเมื่อไมมีผูวาจาง<br />

ก็ตองยุบคณะนั้น<br />

ๆ ไปเพื่อไปทํางานอยาง<br />

อื่นที่มีรายไดมากกวา<br />

เปนตน<br />

2. การคมนาคม มีความสะดวกมากยิ่งขึ้น<br />

เพราะเมื่อมีการสรางถนนหนทางเขาสูหมูบาน<br />

ทําใหการติดตอตาง ๆ เปนไปอยางสะดวก ซึ่งเปนปจจัยใหวัฒนธรรมประเภทมหรสพเพื่อความ<br />

บันเทิงเริงใจจากภายนอก หลั่งไหลเขาสูทองถิ่นไดอยางรวดเร็วตามกระแสนิยม<br />

เชนการเขามา<br />

ของการจัดแสดงดนตรีลูกทุงในงานบุญประจําปของวัดตาง<br />

ๆ ที่แตเดิมไมสามารถเขามาจัดการ<br />

แสดงได หรือเขามาดวยความยากลําบาก เนื่องจากในการจัดการแสดงแตละครั้งจะตองอาศัยสงน<br />

ประกอบหลายอยาง ไดแก ผูแสดงที่มีจํานวนเปนสิบ<br />

จนถึงจํานวนกวารอยคน วงดนตรีวงใหญ<br />

ตลอดจนเวที แสง สี เสียง ซึ่งลวนแตตองใชระบบขนสงดวยรถยนตโดยสารขนาดใหญทั้งสิ้น<br />

แตครั้งเมื่อวงดนตรีลูกทุงจากตางวัฒนธรรมสามารถเขามาไดโดยสะดวกเชนนี้<br />

วงดนตรีลูกทุงจึง<br />

กลายเปนสวนหนึ่งของวัฒนธรรมทองถิ่น<br />

เริ่มจากการเปนมหรสพตัวเลือก<br />

มหรสพหลัก จน<br />

พัฒนาการในขั้นสูงสุดของการผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรมเกิดขึ้น<br />

คือการนําโนราไปเปนสวนฃ<br />

หนึ่งของการแสดงลูกทุง<br />

และในทางตรงกันขามคือ การนําเพลงลูกทุงมาขับรองในการแสดงโนรา<br />

เปนเหตุใหวัฒนธรรมการแสดงโนราดั้งเดิมเปลี่ยนแปลงไป<br />

231


3. การแพรกระจายของวัฒนธรรมตะวันตก โดยผานสื่อมวลชน<br />

ไมวาจะเปนวิทยุ<br />

โทรทัศน ภาพยนต สื่อบันเทิงเหลานี้ไดเปลี่ยนแปลงคานิยมและวิถีทางการดําเนินชีวิตของคนใน<br />

สังคม เมื่อความคิดของคนในสังคมเริ่มเปลี่ยนแปลงและยอมรับในวัฒนธรรมตางชาติที่เขามามาก<br />

ขึ้น<br />

วัฒนธรรมและความบันเทิงของตางชาติก็ไดรับความนิยมมากขึ้นดวย<br />

ในยุคแหงการ<br />

เปลี่ยนแปลงนั้นไดมีสิ่งบันเทิงใหม<br />

ๆ เกิดขึ้นมาแทนที่บทเพลงหรือการแสดงพื้นบาน<br />

กลาวคือ ได<br />

เกิดวงดนตรีไทยสากลและวงการเพลงลูกทุง<br />

โดยมีลักษณะความบันเทิงที่เปนธุรกิจการคา<br />

มีการ<br />

ซื้อขายบทเพลง<br />

อัดแผนเสียง มีอาชีพนักรอง โดยเพลงไทยสากลในระยะแรก ๆ จะลอกทํานอง<br />

ฝรั่ง<br />

ตอมาจึงมีการดัดแปลงใหเปนทํานองเพลงไทย ชวงกอนสมัยสงครามโลกครั้ง<br />

ที่<br />

2 เพลงไทย<br />

สากลไดรับความนิยมเปนอยางมาก จนกลายเปนเพลงของคนเมืองหลวง สวนเพลงลูกทุงก็จะมี<br />

เนื้อหาที่สนุกสนาน<br />

โดยสวนใหญจะกลาวถึงชีวิตชนบทของชาวบาน ซึ่งเปนลักษณะผสมผสาน<br />

ระหวางชาวบานกับชาวเมือง ทั้งนี้เนื้อหาของเพลงก็ยังสะทอนใหเห็นชีวิตความเปนอยูของ<br />

ชาวบาน แตจะใชเครื่องดนตรีสากล<br />

4. บทบาทการสืบทอดและการอนุรักษ ในกลุมคนรุนเกาที่กําลังจะหมดไป<br />

กับคนรุนใหม<br />

ซึ่งมีความสนใจเปนอยางอื่น<br />

มีทางเลือกมากขึ้น<br />

ขอเสนอแนะ<br />

ตลอดระยะเวลาที่ศึกษา<br />

ที่ผูวิจัยมีโอกาสไดศึกษาวัฒนธรรมทางดานดนตรี<br />

สังคมและวิถี<br />

ชีวิต ความเปนอยูของคนปกษใต<br />

ผูวิจัยมีขอเสนอแนะเพื่อการสืนสาน<br />

อนุรักษ และเผยแพร<br />

ศิลปวัฒนธรรมภาคใตใหคงอยูเปนมรดกทางวัฒนธรรมของประเทศไทย<br />

ของภูมิภาคเอเชีย<br />

ตะวันออกเฉียงใต และของโลกสืบไป 4 ประการดวยกัน คือ<br />

1. ขอเสนอแนะเชิงนโยบายตอรัฐบาลไทย<br />

1.1 กระทรวงศึกษาธิการของไทยควรบรรจุวิชาดนตรี-นาฏศิลปพื้นบานในทองถิ่นนั้น<br />

เขาเปนวิชาบังคับในหลักสูตรการศึกษาภาคบังคับของประเทศ เพื่อเปนทางเลือกใหแกเยาวชนในรุน<br />

ตอๆไปจะไดมีโอกาสรูจัก<br />

ศึกษา และพิจารณาเลือกและหาแนวทางอนุรักษตอไปในอนาคต<br />

1.2 ยกยอง สงเสริมศิลปนผูมีความรูความสามารถเปนที่ยอมรับของทองถิ่น<br />

ใหมีความ<br />

เปนอยูที่ดี<br />

มีขวัญกําลังใจที่จะสืบสานและเผยแพรศิลปวัฒนธรรมสืบตอไป<br />

232


1.3 รวบรวมศิลปน ศึกษาประวัติและผลงานของศิลปนทองถิ่นที่มีความสามารถ<br />

จัดเก็บ<br />

อยางเปนระบบเพื่อสะดวกแกการศึกษาคนควาและชวยมิใหศิลปะเหลานั้นสูญหายไป<br />

1.4 สงเสริมการทํางานวิจัยเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมภายในประเทศอยางจริงจัง<br />

โดยการ<br />

ใหทุนสนับสนุนที่เพียงพอแกผูวิจัย<br />

และสนับสนุนผูที่สนใจเกี่ยวกับการศึกษาวิจัยใหมีโอกาสไป<br />

ศึกษาเกี่ยวกับเครื่องมือและอุปกรณที่ทันสมัย<br />

1.5 ผลิตรายการโทรทัศนเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมที่มีคุณภาพนาสนใจติดตามชม<br />

ออก<br />

แพรภาพอยางสม่ําเสมอ<br />

2. ขอเสนอแนะตอสาธารณชน<br />

2.1 รวมกันจัดตั้งศูนยวัฒนธรรมชุมชนขึ้น<br />

เพื่อเก็บรวบรวมขอมูลเชิงวิชาการเกี่ยวกับ<br />

ศิลปวัฒนธรรมในทองถิ่น<br />

2.2 จัดการแสดงศิลปวัฒนธรรมของทองถิ่น<br />

สับเปลี่ยนหมุนเวียนไปตามแตโอกาสจะ<br />

อํานวยอยางสม่ําเสมอในชวงเวลาที่เหมาะสม<br />

เชนทุกเย็นวันศุกรตนเดือน เปนตน เพื่อเปนแหลง<br />

พักผอนหยอนใจแกคนในชุมชน เปนแหลงศึกษาของผูสนใจ<br />

และเปนสถานที่ทองเที่ยวทาง<br />

วัฒนธรรมแกนักทองเที่ยวชาวตางชาติ<br />

2.3 จัดกิจกรรมการประกวดแขงขันทางดานศิลปวัฒนธรรมแกเยาวชนและบุคคลทั่วไป<br />

เพื่อกระตุนความสนใจในศิลปวัฒนธรรมทองถิ่นใหเกิดแกคนในชุมชน<br />

2.4 ปลูกจิตสํานึกใหเยาวชนเห็นคุณคาของศิลปวัฒนธรรมประจําชาติ ผานการอบรม<br />

สั่งสอนของครู-<br />

อาจารยในโรงเรียน พอแมผูปกครอง<br />

ดวยการชี้นําใหเห็นถึงคุณคาของ<br />

ศิลปวัฒนธรรม ใหเห็นประโยชนและภาคภูมิใจในความเปนผูมีวัฒนธรรม<br />

และแสดงตนเปน<br />

แบบอยางที่ดีในการใหความสําคัญแกวัฒนธรรม<br />

3. ขอเสนอแนะในการจัดการเรียนการสอนวิชาโนรา<br />

3.1 ครูผูสอนจะตองเนนคุณธรรม<br />

คือความเคารพบิดา มารดา ครูอาจารย ผูมีพระคุณ<br />

อยาเครงครัด ครูผูสอนจะตองเปนแบบอยางที่ดีของศิษย<br />

ผลที่เกิด<br />

ผูเรียนจะไดรับการปลูกฝงคุณธรรมโดยไมรูตัว<br />

3.2 มีความเคารพในวิชาโนรา อุปกรณโนรา อยางเครงครัด<br />

233


ผลที่เกิด<br />

ผูเรียนจะเรียนวิชานี้ดวยความเคารพ<br />

จะมีความภาคภูมิใจ เพราะถือวา<br />

วิชานี้เปนของสูง<br />

เปนมงคลกับชีวิต<br />

3.3 ครูผูสอน<br />

จะตองมีวิชาความรูดานโนราเปนอยางดี<br />

พรอมจะไขขอของใจในวิชานี้<br />

ไดอยางกระจาง และมีเหตุผลที่เปนวิทยาศาสตร<br />

ผลที่เกิด<br />

ผูเรียนจะศรัทธาครู<br />

และพรอมที่จะปฏิบัติตามกรอบคุณธรรมที่ครู<br />

คาดหวัง<br />

3.4 การเรียน การสอน ควรจะจําลองสถานการณของครอบครัวมาใชในการสราง<br />

บรรยากาศ ครูเปนเสมือนพอคนที่<br />

2 เปนทั้งครู<br />

พอ แม เพื่อน<br />

และหมอ<br />

ผลที่เกิด<br />

ผูเรียนจะเรียนอยางเปนสุข<br />

อบอุน<br />

มีที่พึ่ง<br />

และเห็นคุณคาของบรรยากาศ<br />

แบบ “วิถีไทย”<br />

3.5 สถานที่สําหรับจัดการเรียนการสอน<br />

ควรเปนสถานที่<br />

ที่เด็กจะเขาไปฝกฝนตนเอง<br />

ไดตลอดเวลา ถาเด็กมีเวลาวาง แมมิใชคาบเรียน เพราะการที่เด็กไดมีเวลาฝกตนเองอยางเปนอิสระ<br />

บางครั้งจะเกิดผลดีกวาการที่ครูสอนในเวลาปกติ<br />

ผลที่เกิด<br />

ผูเรียนจะเกิดการเรียนรูอยางรวดเร็ว<br />

และสนุกกับการเรียนอยางอิสระ<br />

3.6 ครูผูสอนควรศึกษาตํานาน<br />

ประวัติ ความลี้ลับของโนราใหกระจางเพราะเด็กจะ<br />

ชอบฟงตํานาน เรื่องราวที่ลี้ลับ<br />

ในโอกาสนี้ผูสอนก็จะไดสอดแทรกความรู<br />

และคุณธรรมดานตางๆ<br />

ใหไปพรอมๆ กัน<br />

วิธีใช เมื่อฝกปฏิบัติจนเหนื่อยลา<br />

ครูควรเลา ตํานาน และเรื่องลี้ลับของโนราให<br />

เด็กฟง เด็กจะชอบมาก<br />

3.7 ธรรมชาติของผูเรียน<br />

ประมาณ 50% ที่มีใจรัก<br />

แตไมมีพรสวรรคในดาน<br />

ศิลปะการแสดง ครูผูสอนตองใหกําลังใจ<br />

อยาปลอยใหเด็กเกิดความทอแทและหมดกําลังใจในการ<br />

เรียน<br />

234


3.8 ครูควรชี้แจงใหผูเรียนเขาใจ<br />

และรูจักการบุรณาการ<br />

ระหวางวิชาโนรา การบริหาร<br />

รางกาย สมาธิตามหลักพุทธศาสนา ความงดงามของวิถีไทย และภาษาไทย ในทุกขั้นตอนของการ<br />

ฝกรํา และฝกเครื่องดนตรี<br />

ผลที่เกิด<br />

ผูเรียนจะภาคภูมิใจ<br />

เพราะเขาไดเรียนรูวิชาตางๆ<br />

ไปพรอมๆ กัน หลายๆ<br />

วิชา<br />

3.9 ควรหาโอกาสพาผูเรียนไปหาประสบการณ<br />

จากการแสดงจริง ในสถานการณ<br />

จริง ตามควรแกโอกาส และเมื่อเสร็จสิ้นการแสดงในแตละครั้ง<br />

ควรจะใหผูเรียนไดมีการประชุม<br />

เพื่อประเมินตนเอง<br />

ผลที่เกิด<br />

เด็กจะมีกําลังใจฝกฝนเปนอยางมาก และจะเกิดการพัฒนาอยางรวดเร็ว<br />

3.10 วิธีการถายทอดที่ไดผลอยางมาก<br />

คือ “พี่สอนนอง”<br />

ครูตองสอนใหนองเคารพพี่<br />

และพี่จะตองเมตตานอง<br />

ผลที่เกิด<br />

ความสามัคคีในหมูคณะจะเกิดขึ้นอยางรวดเร็ว<br />

และจะกลายเปน<br />

วัฒนธรรมของการเรียนวิชาโนราไปโดยปริยาย<br />

3.11 การสอนทารํา จะตองสอนทาพื้นฐานเปนสิ่งแรก<br />

ไมควรสอนลวดลายชั้นสูง<br />

ใหกับผูเรียนกอนการทาพื้นฐาน<br />

(การรําลวดลายชั้นสูง<br />

เชน การรําสะบัดเครื่อง<br />

เปนตน)<br />

3.12 กอนที่ครูจะรับผูเรียนเปนศิษย<br />

ขอใหทําความเขาใจกับผูปกครองของผูเรียนให<br />

ชัดเจน และควรทําพิธีรับศิษยทุกคน (ใชดอกไม ธูปเทียน เงิน 12 บาท)<br />

ผลที่เกิด<br />

ผูเรียนจะเกิดความภาคภูมิใจ<br />

เพราะเปนศิษยมีครู และผูปกครองจะให<br />

การสนับสนุนเต็มกําลัง<br />

4. ขอเสนอแนะในการทําการศึกษาวิจัยในครั้งตอไป<br />

ในการวิจัยเรื่อง<br />

โนราชุมพร: กรณีศึกษาการแสดงโนราศรียาภัย จังหวัดชุมพร ทําให<br />

ผูวิจัยไดศึกษาเรื่องราวของโนราทั้งจากเอกสาร<br />

งานวิจัยที่เกี่ยวของ<br />

และศึกษาจากขอมูลภาคสนาม<br />

ที่ผูวิจัยไดลงไปเก็บขอมูล<br />

ทําใหทราบวาในการศึกษาเรื่องราวของโนรานั้น<br />

ไดมีอาจารยหรือ<br />

นักวิชาการในภาคใตหลายทานไดศึกษาวิจัยเรื่องราวของโนราในเชิงประวัติความเปนมา<br />

สังคม<br />

235


วัฒนธรรม และพิธีกรรมที่เกี่ยวข<br />

องกับโนราไวหลายเลมดวยกัน และยังพบวามีนักศึกษาปริญญา<br />

โททางดานนาฏยศาสตรไดทําการศึกษาทางดานการรําโนราในเชิงนาฏศิลปไวอีกมากมาย แต<br />

การศึกษาเรื่องราวของโนราในเชิงดุริยางคศาสตร<br />

หรือการศึกษาเรื่องดนตรีประกอบการแสดง<br />

โนรานั้นไมมีผูทําการศึกษาเลย<br />

งานวิจัยเรื่อง<br />

โนราชุมพร: กรณีศึกษาการแสดงโนราของโรงเรียน<br />

ศรียาภัย จังหวัดชุมพร จึงเปนงานวิจัยเลมแรกที่ศึกษาในเรื่องราวทางดานดนตรี<br />

แตผูวิจัยก็ศึกษา<br />

เฉพาะบทเพลงในชุดทาครู คือ เพลงครูสอน เพลงสอนรํา และเพลงประถมพรหมสี่หนา<br />

เทานั้น<br />

ยังมีบทเพลงที่ใชในการแสดงโนราและบทเพลงที่ใชในพิธีกรรมอีกมากที่ยังไมมีผูศึกษา<br />

สําหรับการศึกษาในเรื่องราวทางดนตรีที่ใชประกอบการแสดงโนรา<br />

หรือดนตรีใน<br />

พิธีกรรมโนรานั้น<br />

ผูวิจัยมีขอเสนอแนะวา<br />

สําหรับผูที่ตองการศึกษาในเรื่องราวดังกลาว<br />

ควร<br />

จะตองมีความรูทางดานดนตรีเปนอยางดี<br />

จะตองมีความรูทั้งดานดนตรีไทย<br />

เพราะดนตรี<br />

ประกอบการแสดงโนรานั้นเปนเครื่องดนตรีทองถิ่นที่มีลักษณะคลายเครื่องดนตรีไทย<br />

รวมถึงยัง<br />

ตองมีความรูทางดานดนตรีสากล<br />

เพื่อใหงานวิจัยในเรื่องนี้เขาใจไดอยางเปนสากลมากขึ้น<br />

และ<br />

ผูวิจัยจะมีความรูและสามารถใชภาษาถิ่นใตสื่อสารกับบุคคลขอมูลไดเปนอยางดีอีกดวย<br />

236


เอกสารและสิ่งอางอิง<br />

กรมศิลปากร. 2512. บทละครครั้งกรุงเกา<br />

เรื่อง<br />

นางมโนหรา และสังขทอง ฉบับหอสมุดแหงชาติ.<br />

พิมพครั้งที่<br />

5. กรุงเทพฯ: โรงพิมพรุงวัฒนา.<br />

_______. 2542. วิพิธทัศนา พรอมคําอธิบายชุดการแสดงและภาพประกอบ. กรุงเทพฯ: เซเวน<br />

พริ้นติ้ง<br />

กรุป.<br />

การทองเที่ยวแหงประเทศไทย.<br />

2548. แผนที่จังหวัดชุมพร<br />

(Online). Available: www.tat.or.th<br />

กุหลาบ มัลลิกะมาส. 2528. เอกสารการสอนชุดวิชาภาษาไทย 8 หนวยที่<br />

1 – 7. กรุงเทพฯ:<br />

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.<br />

โกมล อภัยวงศ. 2532. ผลการฝกโนราที่มีสมรรถภาพทางกายของนักศึกษาวิทยาลัยครู<br />

นครศรีธรรมราช. วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.<br />

ขนิษฐา จิตชินะกุล. 2545. คติชนวิทยา. กรุงเทพฯ: โอ เอส พริ้นติ้ง<br />

เฮาส.<br />

คณะกรรมการฝายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ. 2542. วัฒนธรรม พัฒนาการทาง<br />

ประวัติศาสตร เอกลักษณและภูมิปญญา จังหวัดชุมพร. ม.ป.ท. (จัดพิมพเนื่องในโอกาส<br />

พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธันวาคม 2542).<br />

ครื่น<br />

มณีโชติ. 2542. โนราแขก. สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคใต เลมที่<br />

8: 3906– 3911.<br />

ฉันทัส ทองชวย. 2536. ภาษาและวัฒนธรรมภาคใต. กรุงเทพฯ: โอ เอส พริ้นติ้ง<br />

เฮาส. อางถึง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สงขลา. 2517. ละครชาวบาน. วารสาร<br />

มศว. สงขลา ปที่<br />

1 ฉบับที่<br />

1 มกราคม – มิถุนายน: 94-111.


ชวน เพชรแกว. 2540. ปจจุบันและอนาคตของโนรา. รวมบทความทางวิชาการวัฒนธรรม<br />

ศึกษา: ทีทรรศนวัฒนธรรม สถาบันทักษิณคดีศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ. กรุงเทพฯ:<br />

อัมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ้ง<br />

จํากัด (มหาชน), หนา 85-94.<br />

ชัยวัฒน พิยะกูล และ พิทยา บุษรารัตน. 2548. พระสุธน – นางมโนหรา ฉบับวัดโพธิ์ปฐมาวาส.<br />

วรรณกรรมทักษิณ วรรณกรรมคัดสรร เลม 5. กรุงเทพฯ: อมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง<br />

จํากัด (มหาชน), หนา 1 – 476.<br />

ณรงคชัย ปฎกรัชต. 2538. มานุษยดนตรีวิทยา ดนตรีพื้นบานภาคใต.<br />

นครปฐม: วิทยาลัยดุริยางค<br />

ศิลป มหาวิทยาลัยมหิดล. (จัดพิมพเนื่องในงานดนตรีไทยอุดมศึกษา<br />

ครั้งที่<br />

32<br />

มหาวิทยาลัยมหิดล).<br />

ดํารงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยา. 2507. ตํานานละครอิเหนา. ธนบุรี: ป.<br />

พิศนาคะ การพิมพ<br />

_______. 2546. ละครฟอนรํา: ประชุมเรื่องละครฟอนรํากับระบํารําเตน<br />

ตําราฟอนรํา ตํานาน<br />

เรื่องอิเหนา<br />

ตํานานละครดึกดําบรรพ. กรุงเทพฯ: พิฆเนศ พริ้นติ้ง<br />

เซ็น<br />

เตอร.<br />

ธนะรัชต อนุกูล. 2543. กลองสะบัดชัยในสังคมและวัฒนธรรมชาวเชียงใหม. วิทยานิพนธ<br />

ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยมหิดล.<br />

ธรรมนิตย นิคมรัตน. 2540. โนราตัวออน. กรุงเทพฯ: กรุงสยามการพิมพ. (สํานักศิลปและ<br />

วัฒนธรรม สถาบันราชภัฏสงขลา จัดพิมพเปนที่ระลึกในงานวัฒนธรรมสัมพันธ’<br />

40<br />

วันที่<br />

10 – 16 กรกฎาคม 2540).<br />

ธีรชัย อิศรเดช. 2542. นัยทางสังคมของพิธีโนราลงครู : กรณีบานบอแดง. วิทยานิพนธ<br />

ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยศิลปากร.<br />

238


_______. 2546. ตัวตนของคนใต: นัยความหมายใตพิธีโนราโรงครู. ในปริตตา เฉลิมเผา<br />

กออนันตกูล. (บรรณาธิการ). เจาแม เจาปู<br />

ชางซอ ชางฟอน และเรื่องอื่นๆ<br />

วาดวย<br />

พิธีกรรมและนาฏกรรม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ แปลน พริ้นติ้ง<br />

จํากัด, หนา 109 – 140.<br />

ธีรวัตน ชางสาน. 2537. พรานโนรา. วิทยานิพนธปริญญาโท, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.<br />

นงพรรณ พิริยานุพงศ. 2546. คูมือวิจัยและพัฒนา.<br />

กรุงเทพฯ: บริษัท มายด พับลิชชิ่ง<br />

จํากัด.<br />

นริศรานุวัดติวงศ, สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยา และ ดํารงราชานุภาพ, สมเด็จ<br />

พระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยา. 2515. สาสนสมเด็จ เลม 21 ลายพระหัตถ. พิมพครั้งที่<br />

2.<br />

กรุงเทพฯ: โรงพิมพคุรุสภา<br />

นเรศ ศรีรัตน. 2542. โนราโลน. สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคใต เลมที่<br />

8: 3919 – 3920.<br />

นิธิมา ชูเมือง. 2544. การปรับตัวของสื่อพื้นบานโนราในสังคม.<br />

วิทยานิพนธปริญญาโท,<br />

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.<br />

นิยม บํารุงเสนา. 2548. สัมภาษณ, 13 เมษายน 2548<br />

ประทุม ชุมเพ็งพันธุ.<br />

2544. วิถีชีวิตชาวใต: ประเพณีและวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ:<br />

สํานักพิมพชมรมเด็ก.<br />

ประพนธ เรืองณรงค. 2519. ตํานานการละเลนและภาษาชาวใต. กรุงเทพฯ: โพธิ์สามตนการพิมพ<br />

_______. 2542. หนังสือบุด. สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคใต เลมที่<br />

17: 8328 – 8337.<br />

ปรีชา นุนสุข.<br />

2537. โนรา. กรุงเทพฯ: องคการคาของคุรุสภา.<br />

239


_______. 2540. ประวัติศาสตรและโบราณคดีภาคใต. รวมบทความทางวิชาการวัฒนธรรม<br />

ศึกษา: ทีทรรศนวัฒนธรรม สถาบันทักษิณคดีศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ. กรุงเทพฯ:<br />

อัมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ้ง<br />

จํากัด (มหาชน), หนา 45–68.<br />

ปญญา รุงเรือง.<br />

2546ก. คูมือนักศึกษา<br />

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาดนตรีชาติพันธุ<br />

วิทยา. ม.ป.ท.<br />

_______. 2546ข. ประวัติการดนตรีไทย ฉบับปรับปรุง. พิมพครั้งที่<br />

5. กรุงเทพมหานคร:<br />

สํานักพิมพไทยวัฒนาพานิช จํากัด.<br />

_______. 2546ค. หลักวิชามานุษยดุริยางควิทยา. ม.ป.ท.<br />

พรศักดิ์<br />

พรหมแกว. 2540. การละเลนพื้นบาน:<br />

บทประมวลเพื่อเสนอภาพรวม.<br />

รวมบทความทาง<br />

วิชาการวัฒนธรรมศึกษา: ทีทรรศนวัฒนธรรม สถาบันทักษิณคดีศึกษา มหาวิทยาลัย<br />

ทักษิณ. กรุงเทพฯ: อัมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ้ง<br />

จํากัด (มหาชน), หนา 69-84 .<br />

พวง บุษรารัตน. 2542. โนราโกลน. สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคใต เลมที่<br />

8: 3904 – 3906<br />

พิทยา บุษรารัตน. 2539. รายงานการวิจัยเรื่องตํานานโนรา:<br />

ความสัมพันธทางสังคมและ<br />

วัฒนธรรมบริเวณรอบลุมทะเลสาบสงขลา.<br />

ภิญโญ จิตตธรรม. 2515. ความเปนมาของโนรา. หนังสือประกอบการแสดงนาฏศิลปและดนตรี<br />

ไทย ป 2515. ม.ป.ท. (พิมพประกอบการสัมมนานาฏศิลปและดนตรีไทย 23 – 25<br />

มิถุนายน 2515 สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร).<br />

_______. 2532. ดนตรีที่ใชประกอบการแสดงโนรา.<br />

ม.ป.ท. (พิมพเปนที่ระลึกเนื่องใน<br />

โอกาสมหาวิทยาลัยสงขลานครินทรเปนเจาภาพงานดนตรีไทยอุดมศึกษา ครั้งที่<br />

21 เมื่อ<br />

วันที่<br />

18 พฤศจิกายน 2532).<br />

_______. ม.ป.ป. ทารําโนรา (Online). Available: www.phatlung.com/nora/taram.php<br />

240


มาลินี ดิลกวณิช. 2543. ระบําและละครในเอเชีย. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ<br />

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.<br />

วิเชียร ณ นคร. 2523. ตํานานและความเปนมาของโนหราหรือโนรา. ใน สํานักงาน<br />

คณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ. (ผูรวบรวม).<br />

พุมเทวา<br />

ที่ระลึกงานเชิดชูเกียรติศิลปน<br />

ภาคใต: ขุนอุปถัมภนรากร. กรุงเทพฯ: กรุงสยามการพิมพ, หนา 73 – 99 (จัดพิมพเนื่อง<br />

ในงานเชิดชูเกียรติศิลปนภาคใต ครั้งแรก<br />

ณ จังหวัดพัทลุง วันที่<br />

29 – 30 สิงหาคม 2523).<br />

วิไลลักษณ เล็กศิริรัตน. 2548. มโนรานิบาต ฉบับวัดมัชเมาวาส สงขลา (คําฉันทแปลงเปนคํา<br />

กาพย). วรรณกรรมทักษิณ วรรณกรรมคัดสรร เลม 13. กรุงเทพฯ: อมรินทรพริ้นติ้ง<br />

แอนดพับลิชชิ่ง<br />

จํากัด (มหาชน), หนา 255 - 422.<br />

รัตนา มณีสิน. 2524. ประวัติการละครและประวัติบุคคลสําคัญในวงการนาฏศิลปไทย(นาฏ๔๖๑).<br />

กรุงเทพฯ: สํานักพิมพสารเศรษฐ.<br />

ราชบัณฑิตยสถาน. 2542. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ:<br />

ไทยวัฒนาพานิช.<br />

รุจี ศรีสมบัติ. 2547. สารานุกรมนาฏศิลปไทย. กรุงเทพฯ: ธนรัชการพิมพ.<br />

เรณู โกศินานนนท. 2539. การแสดงพื้นบานในประเทศไทย.<br />

พิมพครั้งที่<br />

4. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ<br />

ไทยวัฒนาพานิช.<br />

ศรีศักร วัลลิโภดม. 2546. อูอารยธรรมแหลมทองคายสมุทรสยาม.<br />

กรุงเทพฯ: สํานักพิมพมติชน.<br />

ศิราพร ณ ถลาง. 2548. ทฤษฎีคติชนวิทยา: วิธีวิทยาในการวิเคราะหตํานาน – นิทานพื้นบาน.<br />

กรุงทพฯ: โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.<br />

สถาบันไทยคดีศึกษา. 2545. โนรา: นาฏลักษณแหงปกษใต. กรุงเทพฯ: เอมี่<br />

เทรดดิ้ง.<br />

241


สนั่น<br />

ชุมวรฐายี. 2545. คําชุมพร: พจนานุกรมภาษาถิ่นชาวชุมพร.<br />

กรุงเทพฯ: เจริญวิทยการพิมพ.<br />

สมโภชน เกตุแกว. 2537. การศึกษาเปรียบเทียบทารําโนราของครูโนรา 5 ทาน. วิทยานิพนธ<br />

ปริญญาโท, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.<br />

สวาง สุวรรณโร. 2542. โนราลงครู. สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคใต เลมที่<br />

8: 3914 – 3919.<br />

สิริวรรณ วงษทัต. ม.ป.ป. เอกสารประกอบการสอนวิชาคติชนวิทยา. ม.ป.ท.<br />

สุจริต บัวพิมพ. 2538. มรดกไทย. กรุงเทพ: สํานักพิมพโอเดียนสโตร.<br />

สุจิตต วงษเทศ. 2532. ปพาทย<br />

ระนาด – ฆอง และหลักฐานทางโบราณคดีจากภาคใต. ม.ป.ท.<br />

(พิมพเปนที่ระลึกเนื่องในโอกาสมหาวิทยาลัยสงขลานครินทรเปนเจาภาพงานดนตรีไทย<br />

อุดมศึกษา ครั้งที่<br />

21 เมื่อวันที่<br />

18 พฤศจิกายน 2532).<br />

_______. 2542. รองรําทําเพลง: ดนตรีและนาฏศิลปชาวสยาม. พิมพครั้งที่<br />

2. กรุงเทพฯ:<br />

พิฆเนศ พริ้นติ้ง<br />

เซ็นเตอร<br />

_______. 2547. ประวัติศาสตรสังคมและวัฒนธรรมสยามประเทศไทย. กรุงเทพฯ:<br />

สํานักพิมพมติชน.<br />

สุธิวงศ พงศไพบูลย. ม.ป.ป. มโนรานิบาต ฉบับวัดมัชฌิมาวาส สงขลา. สงขลา: วิทยาลัยวิชาการ<br />

ศึกษาสงขลา และวิทยาลัยครูสงขลา.<br />

_______. 2542. ขนมเดือนสิบ. สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคใต เลมที่<br />

2: 613 – 620.<br />

_______. 2542. โนรา. สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคใต เลมที่<br />

8: 3871 – 3896.<br />

242


_______. 2548. บทละครเรื่องนางมโนหรา<br />

ตอนนางมโนหราถูกจับไปถวายพระสุธน.<br />

วรรณกรรมทักษิณ วรรณกรรมคัดสรร เลม 5. กรุงเทพฯกรุงเทพฯ: อมรินทรพริ้นติ้ง<br />

แอนดพับลิชชิ่ง<br />

จํากัด (มหาชน), หนา 477 - 514.<br />

สุพัฒน นาคเสน. 2539. โนรา : รําเฆี่ยนพราย<br />

– หยาบลูกมะนาว. วิทยานิพนธปริญญาโท,<br />

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.<br />

สุภางค จันทวานิช. 2545. วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. พิมพครั้งที่<br />

10. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพแหง<br />

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.<br />

สํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ. 2523. พุมเทวา<br />

ที่ระลึกงานเชิดชูเกียรติศิลปน<br />

ภาคใต: ขุนอุปถัมภนรากร. กรุงเทพฯ: กรุงสยามการพิมพ. (จัดพิมพเนื่องในงานเชิดชู<br />

เกียรติศิลปนภาคใต ครั้งแรก<br />

ณ จังหวัดพัทลุง วันที่<br />

29 – 30 สิงหาคม 2523).<br />

_______. 2542. ศิลปะการแสดงของไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพการศาสนา.<br />

_______. ม.ป.ป. ดนตรีพื้นบานและศิลปการแสดงของไทย.<br />

ม.ป.ท.<br />

อนุมานราชธน, พระยา. 2506. บันทึกเรื่องความรูตาง<br />

ๆ. พระนคร: หางหุนสวนจํากัด<br />

ศิวพร.<br />

อรวรรณ สันโลหะ. 2542. โนราผูหญิง.<br />

วิทยานิพนธปริญญาโท, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.<br />

อมรา กล่ําเจริญ.<br />

2542. สุนทรียนาฏศิลปไทย. พิมพครั้งที่<br />

3 . กรุงเทพฯ: โอ เอส พริ้นติ้ง<br />

เฮาส.<br />

อรุณ เวชสุวรรณ. 2540. เอกลักษณไทย. พิมพครั้งที่<br />

3. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพดอกหญา.<br />

อุดม หนูทอง. 2524. ดนตรีพื้นเมืองภาคใต.<br />

กรุงเทพฯ: กรุงสยามการพิมพ. (จัดพิมพ เนื่องใน<br />

โอกาส “งานสงเสริมดนตรีไทยภาคใต ครั้งที่<br />

1” ณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ<br />

สงขลา วันที่<br />

24 – 25 มกราคม 2524).<br />

243


_______. 2536. รายงานผลการศึกษาตามโครงการ “การผลิตตําราทางวัฒนธรรม เรื่องโนรา”.<br />

_______. 2542. โนรา: ตํานาน. สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต เลมที่<br />

8: 3879 – 3904.<br />

244


ภาคผนวก


ภาคผนวก


ภาคผนวก ก<br />

โนตเพลงครูสอน


โนตเพลงครูสอน<br />

247


248


249


250


251


252


253


254


255


256


ภาคผนวก ข<br />

โนตเพลงสอนรํา


258


259


260


261


262


263


ทํานองรองเพลงสอนรํา<br />

264


ภาคผนวก ค<br />

โนตเพลงประถมพรหมสี่หนา


266


267


268


269


270


271


272


273


274


275


276


277


278


279


280


281


282


283


284


285


286


287


288


289


290


291


292


293


ประวัติการศึกษาและการทํางาน<br />

ชื่อ<br />

- นามสกุล นางสาวกมลวรรณ พลรักดี<br />

วัน เดือน ป เกิด 26 มกราคม 2524<br />

สถานที่เกิด<br />

อําเภอเมือง จังหวัดชุมพร<br />

ที่อยูปจจุบัน<br />

10/242 หมู 6 ถนนนวมินทร แขวงคลองกุม<br />

เขตบึงกุม<br />

กรุงเทพมหานคร<br />

ประวัติการศึกษา ศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาดุริยางคศาสตร (ดนตรีไทย)<br />

มหาวิทยาลัยบูรพา

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!