13.07.2015 Views

บทที่7 ภาวะมลพิษ - สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ ...

บทที่7 ภาวะมลพิษ - สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ ...

บทที่7 ภาวะมลพิษ - สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ ...

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

รายงานสถานการณคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2548.......................................................................................................... บทที่ 7 <strong>ภาวะมลพิษ</strong>ตารางที่ 7-3 ปริมาณขยะจากชุมชนที่สามารถคัดแยกนํากลับมาใชประโยชนป พ.ศ. 2539-2547ป พ.ศ. ปริมาณขยะทั่วประเทศ ปริมาณขยะที่นํากลับมาใช รอยละ(ลานตัน)ประโยชน (ลานตัน)2539 13.1 1.4 10.692540 13.5 1.5 11.112541 13.6 1.6 11.762542 13.8 1.8 13.042543 13.9 2.0 14.392544 14.1 2.2 15.602545 14.3 2.6 18.182546 14.4 2.8 19.442547 14.6 3.1 21.23ที่มา : กรมควบคุมมลพิษ 2548สําหรับการออกแบบบรรจุภัณฑเพื่อสิ่งแวดลอมหรือเพื่อใหใชวัสดุที่ยอยสลายงายและสามารถนํากลับมาใชประโยชนใหมไดนั้น ประเทศไทยยังมีการดําเนินงานนอยมากแมวาขยะในประเทศจํานวนประมาณรอยละ 50 เปนขยะหรือของเสียบรรจุภัณฑ ในขณะที่นานาประเทศไดใหความสําคัญกับการจัดการของเสียบรรจุภัณฑอยางมากเพราะเปนการลดขยะและสามารถใชทรัพยากรไดอยางคุมคา เชน การสงออกสินคาไปยังกลุมประเทศในยุโรปจะตองเสียคาจัดการของเสียบรรจุภัณฑ (packaging disposal fee) ใหแกประเทศผูนําเขามานานหลายปแลว แตก็ยังไมเปนปจจัยกระตุนใหเกิดการจัดการบรรจุภัณฑทั้งในประเทศและบรรจุภัณฑที่มากับสินคานําเขา อยางไรก็ตาม ภาครัฐไดมีความพยายามโดยกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม (เดิม)กระทรวงการคลัง กระทรวงพาณิชย และอีกหลายหนวยงานไดตั้งคณะทํางานระหวางกระทรวงขึ้นเพื่อกําหนดมาตรการเก็บภาษีบรรจุภัณฑตามลักษณะของวัสดุที่ใชทําบรรจุภัณฑและการจัดการซากบรรจุภัณฑมาตั้งแตป พ.ศ. 2544 แตในปจจุบันไมมีขอบังคับเปนทางการ จึงไมมีผลในทางปฏิบัติ1.2.4 ความรวมมือและการยอมรับจากประชาชนปญหาขยะเปนปญหาที่มีความสัมพันธกับสถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคม ปริมาณและองคประกอบของขยะในแตละชุมชนสามารถบงบอกฐานะทางเศรษฐกิจ วิถีชีวิตและลักษณะของสินคาที่เปลี่ยนไปในชุมชนนั้น ดังนั้นการมีสวนรวมจากประชาชนในทุกขั้นตอนของวงจรการจัดการขยะ จะสามารถทําใหการดําเนินงานของภาครัฐมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลไดสูงสุด อยางไรก็ตาม อาจจะเปนการยากที่จะระบุวาความรวมมือหรือการมีสวนรวมของประชาชนในปจจุบันอยูในระดับใด แตสิ่งที่สะทอนใหเห็นความแตกตางระหวางอดีตและปจจุบันคือปริมาณขยะริมถนนในเมืองตางๆ มีใหเห็นนอยลงซึ่งการเก็บกวาดของเจาหนาที่ทองถิ่นเพียงลําพังคงไมสามารถกระทําไดตลอดเวลา ดัชนีที่สะทอนความรวมมือของประชาชนที่สําคัญอีกประการหนึ่งคือการจายคาธรรมเนียมเก็บขนขยะซึ่งปจจุบันทองถิ่นตางๆสามารถจัดเก็บคาธรรมเนียมเฉลี่ยไดเพียงไมถึงรอยละ 50นอกจากนี้ การใชที่ดินสําหรับเปนที่ตั้งระบบกําจัดขยะนั้นเกือบทุกแหงไดรับการตอตานจากประชาชนและไมทราบวาเกิดจากสาเหตุใดแนชัด วาเปนเพราะความเกรงกลัววาจะเกิดผลกระทบสิ่งแวดลอม หรือความขัดแยงของการเมืองทองถิ่น1.3 สรุปและขอเสนอแนะปริมาณขยะในประเทศไทยมีแนวโนมเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ในป พ.ศ. 2547 มีปริมาณขยะที่เกิดขึ้นประมาณ14.58 ลานตัน หรือในอัตรา 39,956 ตันตอวัน เปนปริมาณขยะที่เกิดในกรุงเทพมหานครประมาณรอยละ 23.42 ในเขตเทศบาลและเมืองพัทยาประมาณรอยละ 31.28 ที่เหลือประมาณรอยละ 45.30 เปนขยะที่เกิดขึ้นนอกเขตเทศบาล ซึ่งรวมองคการบริหารสวนตําบลทั้งหมดสภาพการจัดการขยะของประเทศในปจจุบันยังประสบปญหาอยูมากถึงแมวากรุงเทพมหานครจะมีความสามารถในการเก็บขนขยะไดหมดทุกวัน แตในเขตเทศบาลสามารถกําจัดไดไมถึงรอยละ 50 ของปริมาณขยะที่เกิดขึ้นในแตวัน สวนนอกเขตเทศบาลสวนใหญยังไมมีสถานที่กําจัดขยะที่ถูกหลักสุขาภิบาล จึงกําจัดดวยวิธีการเผากลางแจง ขุดหลุมฝงหรือกองทิ้งไว สําหรับการนําขยะจาก233


รายงานสถานการณคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2548.......................................................................................................... บทที่ 7 <strong>ภาวะมลพิษ</strong>กรอบที่ 7-1 ผลิตภัณฑฉลากเขียวปจจุบันประเทศไทยมีมาตรฐานผลิตภัณฑฉลากเขียว (Green Label) จํานวน 17 กลุมผลิตภัณฑ โดยสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม และสถาบันสิ่งแวดลอมไทย เปนผูกําหนดมาตรฐานและพิจารณาใหมาตรฐานฉลากเขียวแกผลิตภัณฑหรือสินคาที่ผูผลิตรองขอสินคาฉลากเขียวนับเปนมาตรการหนึ่งที่ชวยลดของเสียที่แหลงกําเนิด ซึ่งมีการลดของเสียในกระบวนการผลิตและการใชสินคาฉลากเขียวนั้นจะลดการใชทรัพยากรและไมกอใหเกิดของเสียเหมือนสินคาทั่วไป ปจจัยเหลานี้เปนเงื่อนไขประการหนึ่งของการพิจารณาใหมาตรฐานฉลากเขียวตาราง จํานวนมาตรฐานสินคาฉลากเขียวในประเทศไทย (วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2548)ลําดับ กลุมผลิตภัณฑที่มีมาตรฐานฉลากเขียวจํานวนรุนของผลิตภัณฑที่ไดรับมาตรฐานฉลากเขียวจํานวนบริษัท/ผูผลิตที่มีสินคาไดรับมาตรฐานฉลากเขียว1 ตูเย็น 14 12 สี 30 63 สีเคลือบกระเบื้องหลังคา 1 14 หลอดฟลูออเรสเซนซ 24 55 กระดาษบรรจุภัณฑ10 2กระดาษกลองเคลือบ6 ฉนวนกันความรอน 4 27 ฉนวนยางกันความรอน 1 18 เครื่องปรับอากาศ 24 39 เครื่องเรือนเหล็ก 5 110 สถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิง 7 111 เครื่องถายเอกสาร 16 312 ผลิตภัณฑที่ทําจากไมยางพารา 2 213 เครื่องสุขภัณฑ 8 114 กอกน้ําและอุปกรณประหยัดน้ํา 3 115 สารซักฟอก 2 216 ผลิตภัณฑทําความสะอาด1 1ถวยชาม17 ผลิตภัณฑทําความสะอาดพื้นผิว 1 1ที่มา : สถาบันสิ่งแวดลอมไทย “คูมือเลือกซื้อผลิตภัณฑคุณภาพเพื่อสิ่งแวดลอม”ฐานเศรษฐกิจ-เอ็กเซกคิวทีฟมีเดีย เมษายน 2548234


รายงานสถานการณคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2548.......................................................................................................... บทที่ 7 <strong>ภาวะมลพิษ</strong>ชุมชนกลับมาใชประโยชนใหมในป พ.ศ. 2547 มีประมาณรอยละ 21 จากปริมาณขยะที่เกิดขึ้นทั้งหมดการจัดการขยะที่มีประสิทธิภาพตองพิจารณาวงจรการเกิดขยะหรือของเสียใหครบทุกขั้นตอน คือ การเกิดขยะ(ซึ่งเกิดจากการผลิต การใชสินคาและบรรจุภัณฑ) การทิ้งและกักเก็บขยะ การเก็บขน การขนสง การคัดแยก การนํากลับมาใชประโยชนและการกําจัดทําลาย องคกรภาครัฐทั้งสวนกลางและทองถิ่นแตละแหงจึงควรใหความสําคัญในขั้นตอนตางๆตามบทบาทของตน ซึ่งจากสถานภาพปจจุบันของการจัดการขยะดังกลาวขางตน ไดมีขอเสนอแนะ ดังนี้1) สงเสริมการแยกขยะ/ของเสียเพื่อนํากลับมาใชประโยชนใหมใหมากขึ้นโดยการกําหนดกฎระเบียบหรือกฎหมายใหเกิดพฤติกรรม “การคัดแยกและคืนผลิตภัณฑหรือบรรจุภัณฑ” ขึ้นอยางเปนทางการ (formal system) ใหครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศ ควบคูไปกับการสงเสริมรณรงคการคัดแยกและซื้อขายขยะของเสียอยางไมเปนทางการ(informal system) ตามที่ไดปฏิบัติกันมาจนหลายชุมชนมีการดําเนินการอยางเขมแข็งและมีประสิทธิภาพ2) สงเสริมการผลิตที่สะอาด (cleaner production)และการแลกเปลี่ยนวัสดุเหลือใช (waste exchange system)เพื่อลดปริมาณของเสียจากกระบวนการผลิตในภาคอุตสาหกรรม3) กําหนดกฎระเบียบเกี่ยวกับการสงเสริมการจัดการของเสียบรรจุภัณฑและการออกแบบผลิตภัณฑที่สามารถนํากลับมาใชประโยชนใหมไดมากขึ้นและใชวัสดุที่ยอยสลายงาย4) สรางแรงจูงใจที่มีผลตอบแทนแกประชาชนที่เสียคาธรรมเนียมในการเก็บขนขยะ เพื่อเปนตัวอยางใหประชาชนเต็มใจและรวมมือจายคาธรรมเนียมมากขึ้น5) สงเสริมใหภาคเอกชนรับเหมาดําเนินการ(privatization) ตามความเหมาะสมของแตละทองถิ่นในการเก็บขน ขนสง และกําจัดขยะ6) พัฒนาศูนยจัดการขยะรวมที่สามารถใชประโยชนรวมกันไดหลายชุมชน โดยมีกระบวนการตั้งแตการคัดแยกขยะ การจําหนายวัสดุเหลือใช สถานีขนถาย และการกําจัดขยะที่เหลือดวยรูปแบบตางๆ ที่มีการผลิตพลังงานดวย(waste to energy)ขยะทั้งจากภาคชุมชน ภาคการบริการ และภาคอุตสาหกรรม ลวนเปนวัสดุเหลือใชที่เปนทรัพยากรที่ควรนํากลับมาใชประโยชนใหไดมากที่สุด และเหลือทิ้งใหนอยที่สุด ซึ่งหากกระทําไดมากเทาใดก็เทากับเปนการชวยเพิ่มผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศดวย และเปนการเพิ่มประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจ (eco- efficiency) ซึ่งเปนยุทธศาสตรสําคัญของการพัฒนาในกลุมประเทศอุตสาหกรรมที่มีแนวทางวาการรักษาทรัพยากรสิ่งแวดลอมเปนการลดตนทุนและเพิ่มกําไรที่จะทําใหเกิดการพัฒนาอยางยั่งยืนแกประเทศไดอยางเปนรูปธรรม22. มลพิษทางน้ํา..แหลงน้ําสําคัญในประเทศไทยหลายแหงไดถูกคุกคามและรบกวนจากกิจกรรมทางเศรษฐกิจและการขยายตัวของชุมชนโดยเฉพาะแมน้ําสายหลัก ทะเลสาบและแหลงน้ํานิ่งสําคัญๆ ของประเทศที่มีคุณภาพน้ําเสื่อมโทรมมากขึ้นมาเปนลําดับตลอดระยะ 2-3 ทศวรรษ ที่ผานมา เชน แมน้ําเจาพระยาตอนลางแมน้ําทาจีนตอนลาง ทะเลสาบสงขลา ลําตะคอง และแหลงน้ําที่ผานชุมชนหรือแหลงกําเนิดน้ําเสียขนาดใหญ เชนเทศบาลนคร เทศบาลเมืองตางๆ บริเวณที่มีการเลี ้ยงปศุสัตวอยางหนาแนน รวมทั้งแหลงทองเที่ยว ซึ่งมูลเหตุสําคัญมาจากการระบายน้ําเสียจากครัวเรือน อาคาร และกิจกรรมทางเศรษฐกิจตางๆ โดยไมไดผานการบําบัดหรือบําบัดไมไดตามมาตรฐานที่กําหนดสําหรับแหลงน้ํา2.1 คุณภาพน้ําผิวดินกรมควบคุมมลพิษ ไดรายงานคุณภาพน้ําแหลงน้ําผิวดินทั่วประเทศโดยรวมในป พ.ศ. 2547 พบวามีคุณภาพน้ําอยูในเกณฑดี พอใช เสื่อมโทรมและเสื่อมโทรมมาก คิดเปนรอยละ 23 51 21 และ 5 ตามลําดับ และเมื่อเปรียบเทียบคุณภาพน้ํา 3 ปยอนหลัง (รูปที่ 7-3) พบวาแหลงน้ําที่มีคุณภาพน้ําอยูในเกณฑดีมีจํานวนลดลงเกือบเทาตัวในระยะเวลาเพียง 3 ป โดยแหลงน้ําที่เคยมีคุณภาพน้ําดีเหลานั้นไดเสื่อมโทรมลงอยูในเกณฑพอใช จึงทําใหประเภทแหลงน้ําที่คุณภาพน้ําในเกณฑพอใชมีจํานวนเพิ่มขึ้น ในขณะที่แหลงน้ําที่เคยมีคุณภาพน้ําในเกณฑเสื่อมโทรมไดรับการฟนฟูดวยทองถิ่นหลายแหงเริ่มมีระบบบําบัดน้ําเสียมากขึ้นจึงมีจํานวนลดลง แตแหลงน้ําที่มีคุณภาพน้ําในเกณฑเสื่อมโทรมมากนั้นยังมีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มมากขึ้นเล็กนอย ทั้งนี้คุณภาพน้ําที่เปลี่ยนแปลงในแตละปขึ้นอยูกับปจจัยหลายอยาง ไดแก สภาพเศรษฐกิจที่มีการใชน้ํา ชวงระยะเวลาของภัยแลงหรือภาวะปริมาณน้ําฝน ความกาวหนาของโครงการบําบัดน้ําเสียรวมของชุมชนตางๆ และความเขมงวดตรวจสอบในการบังคับใชกฎหมายที่เกี่ยวของ เปนตน ทั้งนี้ แหลงน้ําที่235


รายงานสถานการณคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2548.......................................................................................................... บทที่ 7 <strong>ภาวะมลพิษ</strong>คุณภาพน้ําอยูในระดับเสื่อมโทรมมากนั้นเปนแหลงน้ําเดิมมาตลอด ไดแก แมน้ําทาจีนตอนลาง ตั้งแตอําเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร ถึง อําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม ลําตะคองตอนลาง บริเวณอําเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา และทะเลสาบสงขลาบริเวณปากคลองสําโรง อําเภอเมือง จังหวัดสงขลาปญหาคุณภาพน้ําเสื่อมโทรมนั้น สวนใหญมีสภาพการปนเปอนของแบคทีเรียกลุมโคลิฟอรม และความสกปรกในรูปบีโอดีที่สงผลใหคาออกซิเจนละลายต่ําลง และมีแอมโมเนียสูงขึ้นรูปที่ 7-3 คุณภาพน้ําแหลงน้ําผิวดินทั่วประเทศ พ.ศ. 2545, 2546 และ 25471009080706050403020100ดี พอใช เสื่อมโทรม เสื่อมโทรมมากรอยละที่มา : กรมควบคุมมลพิษ 25483 6 53225340 3213 51232545 2546 2547จากการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ําในแมน้ําสายสําคัญประมาณ 48 สายทั่วประเทศ และแหลงน้ํานิ่ง 4 แหลง(กวานพะเยา บึงบอระเพ็ด หนองหาน และทะเลสาบสงขลา)โดยใชดัชนีคุณภาพน้ําทั่วไป (Water Quality Index) พิจารณาจากคาคุณภาพน้ํา 8 พารามิเตอร คือ ออกซิเจนละลาย(Dissolved Oxygen, DO) แบคทีเรียกลุมฟคอลโคลิฟอรม(Fecal Coliform Bacteria, FCB) ความเปนกรด-ดาง (pH)ความสกปรกในรูปบีโอดี (Biochemical Oxygen Demand,BOD) ไนเตรท (NO - 3) ฟอสฟอรัสรวม (Total Phosphorous,TP) ของแข็งรวม (Total Solids, TS) และสารแขวนลอย(Suspended Solids, SS) เพื่อหาเกณฑคุณภาพน้ํา แบงเปนระดับ ดี พอใช เสื่อมโทรม และ เสื่อมโทรมมาก ในป พ.ศ.2547 สามารถสรุปคุณภาพน้ําในภาคตางๆ ของประเทศไดดังนี้2.1.1 แหลงน้ําภาคเหนือแหลงน้ําในภาคเหนือที่ตรวจสอบทั้งหมด 11 แหลง ดังแสดงในตารางที่ 7-4 พบวาแหลงน้ําที่มีคุณภาพน้ําในระดับ ดีไดแก แมน้ําแมจาง และบึงบอระเพ็ด แหลงน้ําที่มีคุณภาพน้ําในระดับ พอใช ไดแก แมน้ําปง วัง ยม กก ลี้ อิง นาน และกวานพะเยา แหลงน้ําที่มีคุณภาพน้ําในระดับ เสื่อมโทรมไดแก แมน้ํากวง แมน้ําที่มีการปนเปอนแบคทีเรียกลุมโคลิฟอรมทั้งหมดและฟคอลโคลิฟอรมเปนปริมาณมาก ไดแกแมน้ํากวงและแมน้ําปง นอกจากนั้น หากพิจารณาถึงแหลงน้ําที่ผานชุมชนเมือง พบวา มีการปนเปอนของแบคทีเรียคอนขางสูง ไดแก แมน้ํายมบริเวณบานวังหินพัฒนา ตําบลปากแคว อําเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย แมน้ําวังบริเวณเทศบาลเมืองลําปาง จังหวัดลําปาง แมน้ําปง บริเวณอําเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค อําเภอเมือง จังหวัดตาก และ อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม แมน้ํานาน บริเวณตําบลบางมูลนากอําเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร อําเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถและ อําเภอเมือง จังหวัดนาน แมน้ํากวงบริเวณ อําเภอเมืองจังหวัดลําพูน โดยที่บางแหงบางชวงเวลามีปริมาณแบคทีเรียกลุมโคลิฟอรมทั้งหมดสูงสุดถึง 240,000 หนวย ซึ่งไดแกแมน้ําปงที่บริเวณสะพานบานวังสิงหคํา ตําบลปาตาล อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม และแมน้ํากวงที่บริเวณสะพานปาซาน(ฝายทดน้ําสมทบ) จังหวัดลําพูนอยางไรก็ดี เมื่อพิจารณาในภาพรวมแลวแหลงน้ําในภาคเหนือมีการปนเปอนจากสิ่งปฏิกูลในภาคการเกษตรคอนขางมากเมื่อเทียบกับแหลงชุมชน <strong>ภาวะมลพิษ</strong>จึงมีลักษณะของแหลงกําเนิดที่กระจายตัวไมเปนจุด (non-pointsource pollution) ในขณะที่ชุมชนเปนแหลงกําเนิดน้ําเสียที่สําคัญแตเปนเฉพาะแหง เฉพาะจุด (point source pollution)236


รายงานสถานการณคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2548.......................................................................................................... บทที่ 7 <strong>ภาวะมลพิษ</strong>แหลงน้ํา DO(มก./ล.)ตารางที่ 7-4 คุณภาพน้ําของแหลงน้ําในภาคเหนือ ป พ.ศ. 2547BOD(มก./ล.)คาเฉลี่ยคุณภาพน้ําที่สําคัญTCB FCB(หนวย 1 ) (หนวย 1 )NH 3(มก./ล.)ระดับคุณภาพน้ําปง 6.7 1.2 16,000 10,000 0.12 พอใชวัง 8.2 1.5 13,000 1,500 0.05 พอใชยม 6.9 1.8 3,900 1,900 0.20 พอใชนาน 6.5 1.3 6,000 2,600 0.20 พอใชกวง 5.4 2.2 30,000 16,800 0.47 เสื่อมโทรมกก 7.3 1.1 13,400 2,500 0.16 พอใชลี้ 6.2 1.9 3,700 1,980 0.29 พอใชอิง 6.0 1.4 900 100 0.15 พอใชแมจาง 7.2 1.7 550 70 0.15 ดีกวานพะเยา 6.1 2.3 1,600 300 0.31 พอใชบึงบอระเพ็ด 7.2 2.0 100 20 0.06 ดีหมายเหตุ :ที่มา : กรมควบคุมมลพิษ 25481 หนวย หมายถึง MPN (Most Probable Number) ตอ 100 มิลลิลิตรคุณภาพน้ําที่เปนปญหา พิจารณาดังนี้ DO ต่ํากวา 2.0 มก./ล. BOD มากกวา 4.0 มก./ล.TCB มีคา มากกวา 20,000 หนวย FCB มากกวา 4,000 หนวย NH 3 มากกวา 0.5 มก./ล.2.1.2 แหลงน้ําภาคกลางแหลงน้ําในภาคกลางที่มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ํา มีทั้งหมด 12 แหลงน้ํา พบวาแหลงน้ําที่มีคุณภาพน้ําในเกณฑ ดี ไดแก แมน้ําเพชรบุรีตอนบนและแควนอยแหลงน้ําที่มีคุณภาพน้ําในระดับ พอใช ไดแก แมน้ําปราณบุรีกุยบุรี เจาพระยาตอนบน แมกลอง นอย ทาจีนตอนบนเพชรบุรีตอนลาง แควใหญและสะแกกรัง สวนแหลงน้ําที่มีคุณภาพน้ําในระดับ เสื่อมโทรม ไดแก แมน้ําเจาพระยาตอนกลางและตอนลาง ทาจีนตอนกลาง ปาสัก และลพบุรีและสําหรับแหลงน้ําที่มีคุณภาพน้ําในระดับที่ถือวาอยูในเกณฑ เสื่อมโทรมมาก ไดแก แมน้ําทาจีนตอนลางปญหาคุณภาพน้ําที่สําคัญของแหลงน้ําในภาคกลางคือ การปนเปอนของแบคทีเรียกลุมโคลิฟอรมทั้งหมด (TCB)และฟคอลโคลิฟอรม (FCB) ออกซิเจนละลายและแอมโมเนียโดยบริเวณที่เปนปญหาคุณภาพน้ําอยูเสมอ คือ แมน้ําเจาพระยาตอนลางตั้งแตบริเวณอําเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ ขึ้นไปถึง จังหวัดนนทบุรี และ แมน้ําทาจีนตอนลางตั้งแตบริเวณอําเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร ขึ้นไปถึง อําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม โดยเฉพาะแมน้ําทาจีนตอนลางมีคุณภาพน้ําอยูในเกณฑเสื่อมโทรมมาก มีคาความสกปรกในรูปบีโอดี แบคทีเรียทั้งกลุมโคลิฟอรมทั้งหมดและกลุมฟคอลโคลิฟอรม และแอมโมเนียสูงมากเมื่อเปรียบเทียบกับแหลงน้ําอื่นๆ ดังแสดงในตารางที่ 7-52.1.3 แหลงน้ําภาคตะวันออกเฉียงเหนือแหลงน้ําในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ํา มีทั้งหมด 11 แหลง พบวาแหลงน้ําที่มีคุณภาพน้ําอยูในเกณฑ ดี ไดแก แมน้ําสงคราม พอง ลําปาวชี อูน และ หนองหาน สวนแหลงน้ําที่มีคุณภาพน้ําในระดับพอใช ไดแก แมน้ําลําชี เสียว และ เลย สวนแหลงน้ําที่มีคุณภาพน้ําในระดับ เสื่อมโทรม ไดแก แมน้ํามูล และลําตะคอง237


รายงานสถานการณคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2548.......................................................................................................... บทที่ 7 <strong>ภาวะมลพิษ</strong>ตารางที่ 7-6 คุณภาพน้ําของแหลงน้ําในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ป พ.ศ. 2547แหลงน้ํา DO(มก./ล.)BOD(มก./ล.)คาเฉลี่ยคุณภาพน้ําที่สําคัญTCB(หนวย 1 )FCB(หนวย 1 )NH 3(มก./ล.)ระดับคุณภาพน้ําพอง 5.3 1.3 950 330 0.13 ดีชี 5.6 1.5 4,000 700 0.50 ดีมูล 6.1 1.6 21,200 18,000 0.29 เสื่อมโทรมสงคราม 6.2 1.0 1,000 300 0.07 ดีลําตะคองตอนบน 5.4 2.5 50,000 20,900 0.18 เสื่อมโทรมลําตะคองตอนลาง 3.0 5.3 95,300 31,300 0.15 เสื่อมโทรมมากลําปาว 6.4 1.6 800 380 0.26 ดีเสียว 5.8 1.6 300 200 0.11 พอใชเลย 6.1 1.1 32,600 3,700 0.13 พอใชอูน 6.0 1.0 2,000 250 0.12 ดีลําชี 6.8 2.1 2,000 200 0.09 พอใชหนองหาน 7.1 0.8 70 15 0.13 ดีหมายเหตุ :1 หนวย หมายถึง MPN (Most Probable Number) ตอ 100 มิลลิลิตรคุณภาพน้ําที่เปนปญหา พิจารณาดังนี้ DO ต่ํากวา 2.0 มก./ล. BOD มากกวา 4.0 มก./ล.TCB มีคามากกวา 20,000 หนวย FCB มากกวา 4,000 หนวย NH 3 มากกวา 0.5 มก./ล.ที่มา : กรมควบคุมมลพิษ 25482.1.4 แหลงน้ําภาคตะวันออกแหลงน้ําในภาคตะวันออกที่มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ํามีทั้งหมด 9 แหลง พบวาแหลงน้ําที่มีคุณภาพน้ําอยูในเกณฑ ดี ไดแก แมน้ําเวฬุ สวนแหลงน้ําที่มีคุณภาพน้ําในระดับ พอใช ไดแก แมน้ําปราจีนบุรี พังราด จันทบุรี และตราด สวนแหลงน้ําที่มีคุณภาพน้ําในเกณฑ เสื่อมโทรมไดแก แมน้ําบางปะกง นครนายก ระยอง ประแสร (ตารางที่7-7)ปญหาคุณภาพน้ําที่สําคัญของแหลงน้ําในภาคตะวันออก คือ การปนเปอนของแบคทีเรียกลุมโคลิฟอรมทั้งหมดและฟคอลโคลิฟอรมในพื้นที่ชุมชนหนาแนน บริเวณที่คุณภาพน้ํามีปญหาคอนมากคือ แมน้ํานครนายกที่บริเวณอําเภอเมือง จังหวัดนครนายก และ แมน้ําประแสรที่อําเภอแกลง จังหวัดระยอง นอกจากนี้ ยังมีปญหาการรุกล้ําของน้ําทะเลในชวงฤดูแลง กลาวคือมีการรุกล้ําของน้ําเค็มในแมน้ําบางปะกงสูงเขาไปถึงบริเวณ สะพานบางขนาก อําเภอบางน้ําเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา2.1.5 แหลงน้ําภาคใตแหลงน้ําที่มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ําในภาคใตมีทั้งหมด 9 แหลง พบวาแหลงน้ําที่มีคุณภาพน้ําในเกณฑ ดี ไดแก แมน้ําตาปตอนบน พุมดวง และสายบุรีแหลงน้ําที่มีคุณภาพน้ําในระดับ พอใช ไดแก แมน้ําตาปตอนลาง ปากพนัง ตรัง หลังสวน ปตตานีตอนบนและตอนลางรวมทั้งทะเลนอยและทะเลหลวงของทะเลสาบสงขลา สวนแหลงน้ําที่มีคุณภาพน้ําในระดับ เสื่อมโทรม ไดแก แมน้ําชุมพร และแหลงน้ําที่มีคุณภาพน้ําอยูในเกณฑ เสื่อมโทรมมาก คือ ทะเลสาบสงขลาปญหาคุณภาพน้ําที่สําคัญของแหลงน้ําในภาคใตคือ การปนเปอนสิ่งปฏิกูลในรูปของแบคทีเรียกลุมโคลิฟอรมทั้งหมดและฟคอลโคลิฟอรมในพื้นที่ชุมชนหนาแนน โดยบริเวณที่มีคุณภาพน้ําเสื่อมโทรมเปนปญหาอยูเสมอ คือทะเลสาบสงขลาที่บริเวณปากคลองสําโรง อําเภอเมือง จังหวัดสงขลา บริเวณอื่นๆ ที่มีปญหา เชน ทะเลสาบสงขลาที่บริเวณปากคลองพะวง อําเภอหาดใหญ แมน้ําตาปตอนลางที่บริเวณอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี และแมน้ําชุมพรที่บริเวณบานปากน้ํา ตําบลปากน้ํา อําเภอเมือง จังหวัดชุมพร239


รายงานสถานการณคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2548.......................................................................................................... บทที่ 7 <strong>ภาวะมลพิษ</strong>แหลงน้ํา DO(มก./ล.)ตารางที่ 7-7 คุณภาพน้ําของแหลงน้ํา ในภาคตะวันออก ป พ.ศ. 2547BOD(มก./ล.)คาเฉลี่ยคุณภาพน้ําที่สําคัญTCB(หนวย 1 )FCB(หนวย 1 )NH 3(มก./ล.)ระดับคุณภาพน้ําบางปะกง 3.9 1.8 11,800 2,100 0.17 เสื่อมโทรมปราจีนบุรี 5.2 1.9 1,800 680 0.38 พอใชนครนายก 4.2 1.7 28,500 25,500 0.38 เสื่อมโทรมระยอง 3.1 3.0 6,200 3,900 0.15 เสื่อมโทรมประแสร 3.4 3.9 110,000 16,000 0.09 เสื่อมโทรมพังราด 4.4 2.7 4,200 970 0.03 พอใชจันทบุรี 5.4 2.3 3,700 1,800 0.04 พอใชเวฬุ 4.5 1.5 170 90 0.11 ดีตราด 3.4 1.0 850 200 0.09 พอใชหมายเหตุ :1 หนวย หมายถึง MPN (Most Probable Number) ตอ 100 มิลลิลิตรคุณภาพน้ําที่เปนปญหา พิจารณาดังนี้ DO ต่ํากวา 2.0 มก./ล. BOD มากกวา 4.0 มก./ล.TCB มีคามากกวา 20,000 หนวย FCB มากกวา 4,000 หนวย NH 3 มากกวา 0.5 มก./ล.ที่มา : กรมควบคุมมลพิษ 2548แหลงน้ํา DO(มก./ล.)ตารางที่ 7-8 คุณภาพน้ําของแหลงน้ําในภาคใต ป พ.ศ. 2547BOD(มก./ล.)คาเฉลี่ยคุณภาพน้ําที่สําคัญTCB(หนวย 1 )FCB(หนวย 1 )NH 3(มก./ล.)ระดับคุณภาพน้ําตาปตอนบน 7.5 0.7 1,100 100 0.05 ดีตาปตอนลาง 5.7 1.4 15,000 3,700 0.11 พอใชพุมดวง 5.5 0.6 4,000 600 0.14 ดีปากพนัง 4.4 2.0 3,400 1,000 0.13 พอใชปตตานีตอนบน 4.2 1.1 2,000 900 0.25 พอใชปตตานีตอนลาง 4.6 1.8 9,500 1,000 0.12 พอใชชุมพร 5.6 2.1 12,400 6,900 0.16 เสื่อมโทรมหลังสวน 6.8 1.0 5,300 2,600 0.16 พอใชตรัง 5.9 1.0 17,000 2,400 0.07 พอใชสายบุรี 6.8 0.6 2,000 1,000 0.14 ดีทะเลนอย 3.3 1.9 740 300 0.07 พอใชทะเลหลวง 5.5 2.0 2,400 1,200 0.06 พอใชทะเลสาบสงขลา 5.0 3.0 86,800 20,500 0.77 เสื่อมโทรมมากหมายเหตุ :1 หนวย หมายถึง MPN (Most Probable Number) ตอ 100 มิลลิลิตรคุณภาพน้ําที่เปนปญหา พิจารณาดังนี้ DO ต่ํากวา 2.0 มก./ล. BOD มากกวา 4.0 มก./ล.TCB มีคามากกวา 20,000 หนวย FCB มากกวา 4,000 หนวย NH 3 มากกวา 0.5 มก./ล.ที่มา : กรมควบคุมมลพิษ 2548240


รายงานสถานการณคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2548.......................................................................................................... บทที่ 7 <strong>ภาวะมลพิษ</strong>2.2 คุณภาพน้ําทะเลชายฝงกรมควบคุมมลพิษมีสถานีติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ําทะเลชายฝงทั่วประเทศ จํานวน 240 สถานี ใน 23จังหวัด โดยทําการตรวจสอบ ในชวง 2 ฤดู คือฤดูแลง(เมษายน-พฤษภาคม) และ ฤดูฝน (กรกฎาคม-สิงหาคม)สําหรับป พ.ศ. 2547 พบวาคุณภาพน้ําทะเลชายฝงสวนใหญอยูเกณฑดี และพอใช (รอยละ 43 และ 45 ของจํานวนที่ตรวจสอบทั้งหมดตามลําดับ) อยูในเกณฑเสื่อมโทรมและเสื่อมโทรมมาก รอยละ 9 และอยูในเกณฑดีมาก เพียงรอยละ 3ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับของป พ.ศ. 2545-2546 พบวา คุณภาพน้ําทะเลชายฝงเสื่อมโทรมลงเปนลําดับ โดยในป พ.ศ. 2545คุณภาพน้ําทะเลที่ตรวจวัดอยูในเกณฑดีมาก ถึงรอยละ 47ลดลงเหลือเพียงรอยละ 7 และรอยละ 3 ของจํานวนที่ตรวจวัดทั้งหมดในป พ.ศ. 2546 และ 2547 ตามลําดับ รูปที่ 7-4แสดงบริเวณและคุณภาพน้ําทะเลชายฝงของประเทศไทย ปพ.ศ. 2547รูปที่ 7-4 แผนที่แสดงบริเวณและคุณภาพน้ําทะเลชายฝงทั่วประเทศ ป พ.ศ. 2547ที่มา : กรมควบคุมมลพิษ 2548241


รายงานสถานการณคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2548.......................................................................................................... บทที่ 7 <strong>ภาวะมลพิษ</strong>2.2.1 อาวไทยตอนบน บริเวณปากแมน้ําสายหลัก 4 สายคุณภาพน้ําทะเลชายฝงในป พ.ศ. 2547 บริเวณปากแมน้ําเจาพระยา ทาจีน แมกลอง และบางปะกง ตรวจพบวามีคุณภาพน้ําไมเปนไปตามมาตรฐานคุณภาพน้ําทะเลชายฝง โดยคาออกซิเจนละลายมีคาต่ํากวามาตรฐานที่บริเวณปากแมน้ําเจาพระยา ทาจีน ปากคลอง 12 ธันวา หนาโรงงานฟอกยอม กม. 35 จังหวัดสมุทรปราการ และชายฝงบางขุนเทียนของกรุงเทพมหานคร กลาวคือ มีคาอยูระหวาง 0.7-3.8 มก./ล.โดยที่บริเวณหนาโรงงานฟอกยอม กม. 35 มีคาต่ําสุด สวนปริมาณสารแขวนลอย มีคาสูงอยูระหวาง 114.4-914.8 มก./ล.โดยที่บริเวณปากแมน้ําเจาพระยามีคาสูงสุด สวนปริมาณแบคทีเรียกลุมโคลิฟอรมทั้งหมดสูงกวาคามาตรฐานมาก ทั้งนี้เนื่องมาจากบริเวณเหลานี้เปนแหลงรองรับของเสียที่มาจากกิจกรรมตางๆ ของชุมชน อุตสาหกรรม และเกษตรกรรมนอกจากนี้ ปริมาณสารอาหารบริเวณปากแมน้ําก็มีคาสูงกวามาตรฐานมากจึงเปนปจจัยใหเกิดการเติบโตของสาหราย (algae bloom) ในทะเลที่เปนสาเหตุของปรากฏการณที่เรียกวา “ขี้ปลาวาฬ” ซึ่งเกิดขึ้นบอยครั้งในอาวไทยตอนบนรวมทั้งมีสารเหล็กซึ่งถูกชะลางมาจากแผนดิน มีปริมาณสูงเกินมาตรฐานที่บริเวณปากแมน้ําบางปะกง เจาพระยา ทาจีนแมกลอง ปากคลอง 12 ธันวา และบางขุนเทียน แสดงใหเห็นถึงปญหาการพังทะลายของชายฝงและมีผลกระทบตอระบบนิเวศชายฝง2.2.2 อาวไทยตอนบนฝงตะวันออก (จังหวัดชลบุรี – จังหวัดตราด)คุณภาพน้ําชายฝงดานตะวันออกของอาวไทยตอนบน สวนใหญมีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน ยกเวนคาออกซิเจนละลายซึ่งมีคาต่ํากวามาตรฐานที่บริเวณหาดบางแสนจังหวัดชลบุรี มีคา 3.9 มก./ล. และบริเวณชายฝงตลาดนาเกลือบางพระ เกาะลอยศรีราชา จังหวัดชลบุรี มีคา 3.0 มก./ล.ปริมาณสารแขวนลอยในน้ําทะเลพบวามีคาสูง ที่บริเวณทาเรือแหลมฉบัง หาดบางแสน จังหวัดชลบุรี ปากแมน้ําพังราด จังหวัดจันทบุรี แหลมศอก และปากคลองใหญ จังหวัดตราด มีคาอยูระหวาง 401.7-580.7 มก./ล. โดยที่บริเวณชายฝงหาดบางแสน มีคาสูงสุดปริมาณสารอาหารที่พบวามีปริมาณสูงกวาคามาตรฐานคุณภาพน้ําชายฝง คือสารอาหารประเภทไนเตรท-ไนโตรเจน ที่บริเวณปากแมน้ําเวฬุ จังหวัดจันทบุรี ปากคลอง-ใหญและปากแมน้ําตราด-แหลมศอก (บานปู) จังหวัดตราดซึ่งพบวามีปริมาณอยูในชวง 158-179 มคก./ล. โดยที่บริเวณปากแมน้ําตราด-แหลมศอก (บานปู) มีปริมาณสูงสุด และพบสารอาหารประเภทฟอสเฟต-ฟอสฟอรัสคอนขางสูง ที่บริเวณอาวชลบุรี บริเวณฟารมหอยนางรมอาวชลบุรี ทาเรือแหลม-ฉบังตอนทาย จังหวัดชลบุรี บริเวณทาเรือมาบตาพุด และหาดทรายทอง จังหวัดระยอง มีคาระหวาง 105-279 มคก./ล.โดยที่บริเวณหาดทรายทองมีปริมาณสูงสุดคุณภาพน้ําทะเลที่พบความสกปรกในรูปของแบคทีเรียกลุมโคลิฟอรมทั้งหมด มีปริมาณสูงเกินมาตรฐานฯที่อาวชลบุรีและฟารมเลี้ยงหอยนางรมอาวชลบุรี เกาะลอยศรีราชาสะพานปลาอาวอุดม ทาเรือแหลมฉบัง สโมสรเรือใบพัทยาจังหวัดชลบุรี ปากน้ําระยอง ทาเรือประมงตลาดบานเพแหลมแมพิมพ จังหวัดระยอง และปากคลองใหญ จังหวัดตราดปากแมน้ําประแสร ปากแมน้ําจันทบุรี ปากแมน้ําเวฬุ จังหวัดจันทบุรี แหลมงอบ ปากแมน้ําตราด-แหลมศอก (บานปู)ปากคลองใหญ อาวสลักเพชร (เกาะชาง) อาวบางเบา (เกาะชาง)จังหวัดตราด มีคาอยูในชวง 1,100-350,000 หนวย (MPN /100 มล.) โดยมีคาสูงสุดที่บริเวณปากคลองใหญ ซึ่งเปนบริเวณปาชายเลน และมีชุมชนหมูบานชาวประมง รวมทั้งอูตอเรือและอูซอมรถ สําหรับแบคทีเรียกลุมเอนเทโรค็อกไค (enterococci)พบคาสูงบริเวณแหลมงอบ จังหวัดตราด มีคา 540 หนวยสวนปริมาณโลหะหนักในน้ําทะเลชายฝงตะวันออกของอาวไทยตอนบนนี้ พบสารโครเมียมสูงเกินมาตรฐาน ในปริมาณ 180 มคก./ล. ที่บริเวณปากคลองใหญ จังหวัดตราดพบสารตะกั่วมีปริมาณสูงเกินมาตรฐานที่บริเวณปากคลอง-ใหญ จังหวัดตราด ที่ระยะ 100 เมตรจากฝงมีคา 170 มคก./ล.และที่ระยะ 500 เมตรจากฝง พบสารตะกั่วมีคา 51 มคก./ล.นอกจากนี้ พบวา มีสารทองแดงในปริมาณ 100 มคก./ล. สูงเกินมาตรฐานที่บริเวณปากคลองใหญ จังหวัดตราด และพบสารแมงกานีสในปริมาณที่สูงเกินมาตรฐาน กลาวคือ อยูในชวง110-2,000 มคก./ล. ที่บริเวณทาเรืออางศิลา จังหวัดชลบุรีปากแมน้ําพังราด จังหวัดจันทบุรี ปากคลองใหญ และปากแมน้ําตราด-แหลมศอก จังหวัดตราด โดยมีคาสูงสุดที่บริเวณปากคลองใหญ สวนสารเหล็ก พบวามีปริมาณสูงเกินคามาตรฐานที่บริเวณอาวชลบุรี ทาเรืออางศิลา และเกาะลอย-ศรีราชา จังหวัดชลบุรี ปากแมน้ําประแสร ปากแมน้ําพังราดและปากแมน้ําเวฬุ จังหวัดจันทบุรี ทาเรือแหลมงอบ ปากแมน้ําตราด-แหลมศอก และปากคลองใหญ จังหวัดตราด ซึ่งมีคาระหวาง 420-170,000 มคก./ล. โดยที่บริเวณปากคลองใหญ242


รายงานสถานการณคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2548.......................................................................................................... บทที่ 7 <strong>ภาวะมลพิษ</strong>มีคาสูงสุด นอกจากนี้ สารพิษจากดีบุกประเภทไตรบิวทิล(tributyl tin) ซึ่งเปนสารเคมีและสารพิษที่ผสมอยูในสีกันเพรียง(antifouling paint) ที่ใชทาสีเรือ พบวามีคาสูงกวามาตรฐานที่บริเวณทาเรือแหลมฉบังโดยมีคา 11 นาโนกรัมตอลิตร2.2.3 อาวไทยฝงตะวันตก (จังหวัดเพชรบุรี –จังหวัดนราธิวาส)น้ําทะเลชายฝงของอาวไทยฝงตะวันตกพบวาคุณภาพน้ํามีปริมาณสารแขวนลอยสูง ที่บริเวณอาวประจวบคีรีขันธ หนาเขาตามองลาย บานบอนอก จังหวัดประจวบคีรีขันธ และปากคลองทาเคย จังหวัดสุราษฎรธานีโดยมีคา 634.8-860.2 มก./ล. ซึ่งบริเวณปากคลองทาเคย มีปริมาณสารแขวนลอยสูงสุดอันแสดงถึงสภาพตนน้ําที่มีการชะลางพังทะลายของดินคอนขางมาก หรืออีกนัยหนึ่งคือภาวะที่มีการทําลายปาและพืชคลุมดินเกิดขึ้นมากกวาแหงอื่นปริมาณสารอาหารในน้ําทะเลชายฝงดานตะวันตกของอาวไทยนี้พบวามีปริมาณสูงกวาคามาตรฐานในหลายบริเวณโดยเฉพาะบริเวณที่มีการเลี้ยงหอยแครง หอยแมลงภูสวนความสกปรกในรูปของการปนเปอนแบคทีเรียกลุมโคลิ-ฟอรมทั้งหมด สูงเกินมาตรฐานที่ปากคลองบานบางตะบูนปากคลองบานแหลม และบริเวณฟารมหอยแมลงภู จังหวัดเพชรบุรี ปากแมน้ําปราณบุรี สะพานปลา หัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ ปากแมน้ําชุมพร บานบอคา (อาวคอ)จังหวัดชุมพร ปากคลองทาเคย ปากแมน้ําตาป คลองกระแดะบริเวณฟารมเลี้ยงหอยนางรม จังหวัดสุราษฏรธานีโรงไฟฟาขนอม ปากคลองทาสูง ปากแมน้ําปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช และปากแมน้ําปตตานี ปานาแระ ปากแมน้ํา-สายบุรี จังหวัดปตตานี โดยมีคาอยูระหวาง 1,100-54,000หนวย และบริเวณปากแมน้ําปตตานีมีการปนเปอนของแบคทีเรียสูงสุดนอกจากนั้นยังพบแบคทีเรียชนิดหนึ่งที่ทําใหเกิดอาการทองเสีย คือ ชนิด V. parahaemolyticus พบวามีปริมาณสูงที่ปากคลองบานบางตะบูน มีคา 110 CFU/มล.(Colony Forming Unit ตอ มิลลิลิตร) และ ที่บริเวณปากแมน้ํา-ปตตานี มีคา 69 CFU/มล. และแบคทีเรียกลุมเอนเทโรค็อกไคซึ่งเปนแบคทีเรียที่อยูรอดในน้ําทะเลไดดีและกอใหเกิดโรคทางเดินอาหารในคนไดนั้น มีการปนเปอนสูงที่บริเวณหัวหินจังหวัดประจวบคีรีขันธโดยมีคา 920 หนวย (MPN/100 มล.) และที่อาวหาดริ้น เกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎรธานีมีคา 350 หนวยสําหรับปริมาณโลหะหนักในน้ําทะเลชายฝงดานตะวันตกพบวา มีสารแมงกานีสสูงเกินมาตรฐานที่บริเวณปากคลองบานบางตะบูน และปากคลองบานแหลม จังหวัดเพชรบุรี หาดสามพระยา อุทยานเขาสามรอยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ ปากน้ําชุมพร จังหวัดชุมพร ปากคลองทาเคยฟารมเลี้ยงหอย ปากคลองทาเคย ปากแมน้ําตาป-อาวบานดอนและคลองกระแดะ จังหวัดสุราษฎรธานี ปากแมน้ําปากพนังจังหวัดนครศรีธรรมราช มีคาระหวาง 160-950 มคก./ล. โดยพบปริมาณสูงสุดที่บริเวณปากคลองบานแหลมมี นอกจากนี้พบสารเหล็กมีปริมาณสูงเกินคามาตรฐานที่บริเวณปากคลอง-บางตะบูน และ ปากคลองบานแหลม จังหวัดเพชรบุรีอาวประจวบคีรีขันธ หาดสามพระยาและปากคลองวาฬจังหวัดประจวบคีรีขันธ ปากแมน้ําชุมพร และ ปากแมน้ํา-หลังสวน จังหวัดชุมพร ปากคลองทาเคย คลองกระแดะตลาดแมน้ํา และ คลองดอนสัก จังหวัดสุราษฎรธานีหาดในเพลา ปากคลองทาสูง และ ปากแมน้ําปากพนังจังหวัดนครศรีธรรมราช ปากทะเลสาบสงขลา จังหวัดสงขลาและปากแมน้ําปตตานี จังหวัดปตตานี มีปริมาณอยูในชวง370-5,200 มคก./ล. โดยบริเวณปากคลองบานแหลมมีคาสูงสุดสตูล)2.2.4 ชายฝงอันดามัน (จังหวัดระนอง – จังหวัดคุณภาพน้ําทะเลชายฝงอันดามัน สวนใหญอยูในเกณฑมาตรฐาน ยกเวนคาแบคทีเรียกลุมโคลิฟอรมทั้งหมดมีปริมาณสูงเกินมาตรฐานฯที่หาดชาญดําริ (ปากแมน้ําระนอง)จังหวัดระนอง หาดไนยาง หาดปาตอง หาดกะรน หาดราไวยหาดไนหาน ปากคลองทาจีน บานเกาะสิเหร อาวบางโรงจังหวัดภูเก็ต หาดนพรัตนธารา แหลมโตนด (เกาะลันตา)บานศาลาดาน (เกาะลันตา) อาวตนไทร อาวโละดาลัมและหาดยาว (เกาะพีพี) จังหวัดกระบี่ หาดบานปากเมง และหาดสําราญ จังหวัดตรัง หาดบานปากบารา จังหวัดสตูลโดยมีคา 1,100-160,000 หนวย ซึ่งแสดงถึงความแตกตางของการปนเปอนจากสิ่งปฏิกูลคอนขางมาก โดยที่บริเวณบานศาลาดาน (เกาะลันตา) มีคาสูงสุด ซึ่งเปนบริเวณที่มีหมูบานชาวประมง ทาเทียบเรือทองเที่ยว และบานเรือนตลอดแนวชายฝง สวนแบคทีเรียกลุมเอนเทโรค็อกไค บริเวณบานศาลา-ดาน (เกาะลันตา) มีคา 460 หนวย และ แหลมโตนด (เกาะลันตา)จังหวัดกระบี่ มีคา 170 หนวย หาดราไวย มีคา 460 หนวยหาดไนหาน จังหวัดภูเก็ต มีคา 920 หนวย หาดนพรัตนธารา มีคา130 หนวย และ หาดปากเมง จังหวัดตรัง มีคา 120 หนวยน้ําทะเลฝงอันดามันปจจุบันพบสารโลหะหนักคอนขางนอยเนื่องจากมีแหลงกําเนิดหรืออุตสาหกรรมไมมากแตพบสารเหล็กในปริมาณสูงเกินมาตรฐานที่บริเวณหาดบางเบน243


รายงานสถานการณคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2548.......................................................................................................... บทที่ 7 <strong>ภาวะมลพิษ</strong>จังหวัดระนอง บานเขาปหลาย จังหวัดพังงา ปากคลองทาจีนจังหวัดภูเก็ต และหาดปากเมง หาดสําราญ บานบอมวง จังหวัดตรังโดยพบมีคา 310-10,000 มคก./ล. โดยบริเวณหาดบางเบนมีคาสูงสุด ซึ่งเปนเขตอุทยานแหงชาติมีหาดทรายยาวและกวางทรายเปนสีดํา ไมมีนักทองเที่ยว แสดงวาบริเวณดังกลาวมีปญหาการชะลางพังทลายของดิน นอกจากนี้ มักพบขยะพลาสติกลอยอยูบนผิวน้ําบริเวณปากคลองขนาดเล็ก ปากแมน้ําและทาเทียบเรือประมง และมีคราบน้ํามันลอยบนผิวน้ําบริเวณทาเทียบเรือหรือบริเวณที่มีการสัญจรทางน้ําคอนขางมาก2.3 สรุปและขอเสนอแนะแหลงน้ําจืดและน้ําทะเลชายฝงของประเทศไทยมีคุณภาพน้ําเสื่อมโทรมลงอยางตอเนื่องทุกป โดยเฉพาะแหลงน้ําสายหลักของภาคกลางที่ประสบปญหา<strong>ภาวะมลพิษ</strong>มายาวนาน ถึงแมวาจะมีแผนและการดําเนินงานแกไขตลอด 2 ทศวรรษที่ผานมา แตคุณภาพน้ําก็ยังอยูในสภาพเสื่อมโทรมหลายพื้นที่ สําหรับแหลงน้ําในภูมิภาคอื่นๆ และน้ําทะเลชายฝง พบวาจํานวนหรือบริเวณแหลงน้ําที่มีคุณภาพดีมีลดนอยลง และมีแหลงน้ําที่คุณภาพน้ําเสื่อมโทรมมากขึ้นสถานภาพคุณภาพน้ําของแหลงน้ําคงมีแนวโนมเชนนี้ตอไปตราบเทาที่ยังมีการเรงรัดการพัฒนาทางเศรษฐกิจในขณะที่การควบคุมมลพิษ ดําเนินการไปไมทันกับปญหาที่เกิดขึ้นนอกจากแผน มาตรการ และโครงการที่รัฐดําเนินการอยูในปจจุบันนั้น การควบคุมและปองกัน<strong>ภาวะมลพิษ</strong>ทางน้ําสามารถพิจารณาดําเนินการเพิ่มเติมไดดังนี้1) ควบคุมมลพิษทางน้ําที่มีแหลงกําเนิดแพรกระจายในลักษณะที่ไมเปนจุด (non-point source pollution)โดยการปลูกหญาแฝกหรือพืชไมพุมที่สามารถดูดซับหรือกรองสิ่งสกปรกจากน้ําทาที่ไหลสูแหลงน้ํา (runoff) ตามแนวฝงแมน้ําในพื้นที่ที่มีแหลงกําเนิดมลพิษดังกลาวโดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีการเกษตรหนาแนน เชน แมน้ําทาจีน แมน้ําประแสรแมน้ําเลย แมน้ําตาปตอนลาง และทะเลสาบสงขลา เปนตน2) จัดการสิ่งปฏิกูลจากแหลงปศุสัตวโดยเฉพาะฟารมสุกรและชุมชนในพื้นที่ที่มีการเลี้ยงสัตวหนาแนนใหเปนสิ่งมีคาเพื่อลดการปลอยระบายของเสียทิ้งสูแหลงน้ํา โดยการพัฒนาโครงการผลิตกระแสไฟฟาจากสิ่งปฏิกูล3) จัดตั้งองคกรบริหารจัดการลุมน้ําที่มีอํานาจหนาที่ทั้งดานการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม และการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เพื่อการจัดการที่มีประสิทธิภาพใกลชิดปญหาโดยไมมีเขตการปกครองเปนอุปสรรค4) สงเสริมการผลิตที่สะอาด (cleaner production)ที่มีการจัดการมลพิษตั้งแตขั้นตอนการเลือกใชวัตถุดิบจนถึงการหมุนเวียนใชประโยชนจากน้ําเสีย โดยการสงเสริมดวยการใชเครื่องมือทางเศรษฐศาสตรเปนแรงจูงใจทั้งในภาคอุตสาหกรรม การเกษตร และการบริการ5) สํารวจแหลงกําเนิดและควบคุมมลพิษประเภทสารโลหะหนักในบริเวณที่พบสารโลหะหนักเกินคามาตรฐาน6) จัดการสิ่งปฏิกูลในชุมชนแหลงทองเที่ยวชายฝง เนื่องจากพบคาแบคทีเรียกลุมฟคอลโคลิฟอรมในปริมาณสูงมาก เพื่อความปลอดภัยและภาพพจนของการทองเที่ยวในประเทศไทย โดยสงเสริมการสรางสุขา ที่ระบายน้ําทิ้งอยางถูกสุขลักษณะโดยเฉพาะในหมูบานชาวประมงและชุมชนบริเวณปากแมน้ํา เชน บานศาลาดาน เกาะลันตา และปากแมน้ําระนอง เปนตน และปรับปรุงระบบรวบรวมน้ําเสียในชุมชนใหเปนระบบแยก (separate system) โดยแยกทอรับน้ําเสียกับน้ําฝน โดยเฉพาะในชุมชนเมืองทองเที่ยวที่มีระบบรวบรวมและบําบัดน้ําเสียอยูแลวแตยังมีปญหาคุณภาพน้ําชายฝง7) วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการบําบัดน้ําเสีย(on-site system) และการกําจัดกากตะกอนที่มีประสิทธิภาพและราคาต่ํา รวมทั้งการพัฒนาศูนยทดสอบประสิทธิภาพของเครื่องมืออุปกรณในระบบบําบัดน้ําเสียเพื่อสงเสริมการวิจัยและการผลิตในประเทศ (และสงออกในอนาคต)การควบคุมปองกันมลพิษทางน้ํา นอกจากการควบคุมที่แหลงกําเนิดโดยตรงดวยการบังคับใชกฎหมายหรือการสรางระบบรวบรวมและบําบัดน้ําเสียรวม (centraltreatment) แลว ควรดําเนินมาตรการทางบวกในลักษณะของการจูงใจใหผูประกอบการหรือเจาของแหลงกําเนิดมลพิษเห็นวาการลดปริมาณน้ําเสียนั้นเปนการลดตนทุนในการผลิตดวย และควรตระหนักวาตราบใดที่มีการระบายน้ําเสียสูแหลงน้ําโดยไมผานการบําบัดก็จะไมสามารถฟนฟูการเนาเสียของแหลงน้ําได แมวาจะมีการรณรงคใหประชาชนมีสวนรวมมากนอยเพียงไรก็ตาม244


รายงานสถานการณคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2548.......................................................................................................... บทที่ 7 <strong>ภาวะมลพิษ</strong>33. มลพิษทางอากาศและเสียง..มลพิษทางอากาศและเสียงเปนปญหาหลักดานสิ่งแวดลอมประการหนึ่งในชุมชนเมือง เนื่องจากประชาชนสวนใหญไดรับมลพิษดานนี้อยูเสมอในชีวิตประจําวันซึ่งอาจจะมากหรือนอยตางกัน มลพิษทางอากาศและเสียงรบกวนจึงสงผลตอสุขภาพอนามัยของประชาชน แหลงกําเนิดมลพิษที่สําคัญ ไดแก ยานพาหนะ กิจกรรมการกอสรางและการขนสง และโรงงานอุตสาหกรรม แตปจจุบัน พบวาการเผาในที่โลงทั้งในเขตชุมชนและในพื้นที่การเกษตรรอบชุมชนนับเปนแหลงกําเนิดมลพิษทางอากาศที่สําคัญอีกแหลงหนึ่งสภาพการจราจรและสภาพภูมิอากาศเปนปจจัยสําคัญที่จะทําให<strong>ภาวะมลพิษ</strong>รุนแรงขึ้นหรือบรรเทาลดลง สภาพการจราจรที่ติดขัดทําใหยานพาหนะตองขับเคลื่อนดวยเกียรต่ําซึ่งจะระบายไอเสียที่มีมลพิษออกมามากกวาสภาพการจราจรที่ยานพาหนะสามารถใชเกียรที่สูงขึ้น และสภาพภูมิอากาศในภาวะที่มีลมพัดในตัวเมืองก็จะชวยใหเกิดการระบายอากาศและเจือจางมลพิษได รวมทั้งน้ําฝนก็จะชวยชะลางมลพิษไดเชนกัน ในขณะที่สภาพอับไมมีอากาศเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง(inversion condition) ก็จะเพิ่มความรุนแรงของ<strong>ภาวะมลพิษ</strong>ทางอากาศไดซึ่งมีปรากฏการณในหลายประเทศรวมทั้งในประเทศไทยหลายแหงดวยอยางไรก็ตาม ในชุมชนเมืองโดยเฉพาะเมืองใหญ เชน กรุงเทพมหานคร และเมืองศูนยกลางความเจริญตางๆ นั้น ประชาชนอาจเกิดความเคยชินตอการสัมผัสกับมลพิษทางอากาศและเสียงดังจนไมไดใสใจตอผลกระทบที่มีตอสุขภาพ ปจจุบัน อัตราการเกิดโรคทางเดินหายใจและโรคภูมิแพทางอากาศไดเพิ่มมากขึ้นหลายเทาเมื่อเปรียบเทียบกับสภาพการณเมื่อสิบกวาปที่ผานมาการควบคุมแกไขปญหามลพิษทางอากาศจึงขึ้นกับการดําเนินงานของภาครัฐเปนหลัก รวมทั้งการมีสวนรวมจากประชาชนผูเปนเจาของแหลงกําเนิดมลพิษ ทั้งในสวนของยานพาหนะที่ควรดูแลรักษาสภาพเครื่องยนต กิจการกอสรางที่ควรดูแลรักษาความสะอาดและความปลอดภัยในพื้นที่กอสรางและการขนสงวัสดุ ตลอดจนโรงงานอุตสาหกรรมที่ควรใสใจลดฝุน ควัน และกาซพิษจากปลองควัน<strong>ภาวะมลพิษ</strong>ทางอากาศและเสียงของประเทศไทยนั้น พบวาปญหาหลักยังคงเปนมลพิษจากฝุนขนาดเล็ก(ขนาดเล็กกวา 10 ไมครอน) ซึ่งเปนฝุนขนาดที่สามารถเขาไปกับลมหายใจถึงปอดชั้นใน ทั้งนี้พบวา ฝุนขนาดเล็กในบรรยากาศมีปริมาณสูงเกินคามาตรฐานในหลายพื้นที่ของประเทศ โดยสวนใหญเปนปญหาในพื้นที่เดิม เชนกรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ บริเวณหนาพระลาน จังหวัดสระบุรี เชียงใหม ลําปาง ชลบุรี ระยอง และพระนครศรีอยุธยาเปนตน สวนฝุนรวม (ขนาดเล็กกวา 100 ไมครอน) ซึ่งรวมฝุนขนาดใหญกวาที่รบกวนระบบทางเดินหายใจตอนบนนั้นมีปริมาณเกินคามาตรฐานเปนครั้งคราวในบางแหง นอกจากนี้ยังมีปญหากาซโอโซนซึ่งเปนสารมลพิษที่เกิดจากปฏิกิริยาระหวางกาซออกไซดของไนโตรเจนและสารไฮโดรคารบอนภายใตแสงอาทิตยที่เปนตัวเรงปฏิกิริยา รวมทั้งมีคุณสมบัติกัดกรอนนั้น มีปริมาณในบรรยากาศสูงเกินคามาตรฐานเปนครั้งคราวในบางพื้นที่ สวนใหญพบในเขตชานเมืองกรุงเทพมหานคร และเมืองใหญๆ ในทํานองเดียวกับสถานการณเมื่อ 2–3 ปที่ผานมา สําหรับสารมลพิษอื่นๆไดแก กาซซัลเฟอรไดออกไซด กาซไนโตรเจนไดออกไซดและสารตะกั่ว ยังมีปริมาณอยูในเกณฑมาตรฐานสําหรับสถานการณ<strong>ภาวะมลพิษ</strong>ทางเสียงนั้นมีแนวโนมไมเปลี่ยนแปลงมากนักในชวง 5 ปที่ผานมาโดยบริเวณริมถนนสวนใหญในกรุงเทพมหานครและชุมชนในเทศบาลนครหรือเทศบาลเมืองตางๆ ยังคงมีระดับเสียงดังเฉลี่ยเกินคามาตรฐาน ในขณะที่พื้นที่ทั่วไปซึ่งเปนเขตที่อยูอาศัยหางจากถนนหลักกวา 50 เมตร มีระดับเสียงดังเฉลี่ยอยูในเกณฑมาตรฐาน3.1 มลพิษทางอากาศกรมควบคุมมลพิษไดทําการติดตามตรวจสอบ<strong>ภาวะมลพิษ</strong>ทางอากาศโดยมีสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศและเสียงในกรุงเทพมหานครและเมืองตางๆ กวา 50 สถานีและหนวยตรวจวัดเคลื่อนที่ซึ่งทําใหมีขอมูลคุณภาพอากาศและเสียงในพื้นที่สําคัญทั่วประเทศ3.1.1 มลพิษทางอากาศในกรุงเทพมหานครมลพิษทางอากาศ เปนปญหาสิ่งแวดลอมที่เกิดสะสมในกรุงเทพมหานครมายาวนานที่สุด เนื่องจากมีแหลงกําเนิดมลพิษมากที่สุด คือ จํานวนรถยนตซึ่งมีประมาณ5.4 ลานคันในป พ.ศ. 2545 โดยมีรถใหมจดทะเบียนเพิ่มขึ้นในป พ.ศ. 2546 และ 2547 อีก 514,530 และ 657,592 คัน245


รายงานสถานการณคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2548.......................................................................................................... บทที่ 7 <strong>ภาวะมลพิษ</strong>ตามลําดับ ทําใหสภาพการจราจรติดขัด รวมทั้งการกอสรางซึ่งมากกวาที่อื่นๆ ทําใหมลพิษทางอากาศในกรุงเทพมหานครรุนแรงมากกวาเมืองอื่นๆ อยางไรก็ตาม ในปจจุบันปญหาดังกลาวไดเบาบางลงมากเมื่อเปรียบเทียบกับสภาพเมื่อสิบปที่ผานมา ที่สารมลพิษทางอากาศหลายชนิดมีปริมาณเกินคามาตรฐานหลายเทา ทั้งนี้ ดวยมาตรการสําคัญที่มีการดําเนินการเชน การปรับเพิ่มมาตรฐานไอเสียของรถยนตใหมทุกชนิดใหเทาเทียมมาตรฐานสากล การยกเลิกการใชน้ํามันที่มีสารตะกั่วและการปรับปรุงมาตรฐานคุณภาพน้ํามันเชื้อเพลิงการเขมงวดเกี่ยวกับความสะอาดในกิจกรรมการกอสราง และการตรวจจับรถยนตที่มีควันดํา เปนตน ทําใหในปจจุบัน ยังคงมีสารมลพิษบางชนิดเทานั้นที่มีปริมาณในบรรยากาศเกินคามาตรฐานซึ่งไดแก ฝุน และ กาซโอโซน (รูปที่ 7.5-7.7)มลพิษทางอากาศบริเวณริมถนน1) ฝุนขนาดเล็ก (PM 10 ) ซึ่งสวนใหญเปนฝุนไอเสียหรือควันดําที่เกิดจากยานพาหนะและการเผาไหมเชื้อเพลิงในภาคอุตสาหกรรม รวมทั้งฝุนละอองจากการเผาในที่โลงตรวจวัดไดอยูในชวง 21.5–241 ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตรของอากาศ (มคก./ลบ.ม.) และจากจํานวนครั้งที่ตรวจวัดทั้งหมดจะมีอยูประมาณรอยละ 10.6 ที่ฝุนขนาดเล็กมีปริมาณเกินคามาตรฐาน (120 มคก./ลบ.ม.) ซึ่งสูงกวา 2 ปที่ผานมาคือป พ.ศ. 2545 และ 2546 ที่มีจํานวนที่เกินคามาตรฐานเพียงรอยละ 3.8 และ 5 ตามลําดับ บริเวณที่พบปริมาณฝุนขนาดเล็กสูงสุดไดแก ถนนปรารภยานประตูน้ํา และรองลงมา เชนถนนสุขุมวิทที่แยกออนนุช ถนนราชวิถีที่ยานอนุสาวรียชัย-สมรภูมิ ถนนพหลโยธินที่ยานหมอชิต เปนตน (กรอบที่ 7-2แสดงผลกระทบตอสุขภาพอนามัยจากฝุนขนาดเล็ก)กรอบที่ 7-2 ฝุนขนาดเล็กในบรรยากาศและผลกระทบตอสุขภาพอนามัยฝุนขนาดเล็ก (ขนาดเล็กกวา 10 ไมครอน) ที่มีอยูในบรรยากาศนั้นมีผลกระทบตอสุขภาพอนามัยอยางมาก จากการศึกษาในโครงการศึกษาผลกระทบของฝุนละอองตอสุขภาพอนามัยของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ของกรมควบคุมมลพิษที่ธนาคารโลก ใหการสนับสนุนเมื่อป พ.ศ. 2541 นั้น พบวา ถาฝุนขนาดเล็กในบรรยากาศลดลงทุกๆ 10 มคก./ลบ.ม. จะสามารถลดอัตราการเสียชีวิตกอนวัยอันควร ลดจํานวนผูปวยทางเดินหายใจ และลดจํานวนการเขารักษาตัวในสถานพยาบาลซึ่งหมายถึงลดคาใชจายหรือผลกระทบทางเศรษฐกิจได และอื่นๆอีกมาก และกรณีที่ประเทศไทยไดดําเนินการปรับมาตรฐานคุณภาพน้ํามันดีเซลโดยลดกํามะถันจาก 500 ppm ใหเหลือไมเกิน 350 ppm ทําใหฝุนขนาดเล็กลดลง 4.07 มคก./ลบ.ม.ซึ่งสามารถชวยลดผลกระทบตอสุขอนามัยไดระดับหนึ่ง โดยเฉพาะประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ดังตารางขางลางนี้ผลกระทบตอสุขภาพอนามัย ฝุนขนาดเล็กในบรรยากาศลดลงทุก 10 มคก./ลบ.ม.ฝุนขนาดเล็กในบรรยากาศลดลง 4.07 มคก./ลบ.ม.- การตายกอนเวลาอันควรลดลง 700 – 2,000 ราย/ป 285 – 814 ราย/ป- ผูปวยรายใหมดวยโรคทางเดินหายใจ 3,000 – 9,300 ราย/ป 1,221 – 3,785 ราย/ปเรื้อรังลดลง- การเขารับการรักษาในโรงพยาบาลดวย 560 – 1,570 ราย/ป 228 – 638 ราย/ปโรคทางเดินหายใจและหลอดเลือดหัวใจลดลง- จํานวนวันที่มีอาการรุนแรงของโรคทางเดินหายใจจนไมสามารถทํากิจกรรมโดยเฉลี่ย 0.52 – 16.29 วัน/คน/ปหรือ 2,900,000 – 9,100,000 วัน/ปโดยเฉลี่ย 0.21 – 0.66 วัน/คน/ปหรือ 1,180,300 – 3,703,700 วัน/ปประจําวันไดลดลง- จํานวนวันที่มีอาการทางเดินหายใจเล็กนอยลดลงโดยเฉลี่ย 3.9 – 13.25 วัน/คน/ป หรือ22,000,000 – 74,000,000 วัน/ปโดยเฉลี่ย 1.6 – 5.39 วัน/คน/ปหรือ 8,954,000–30,118,000 วัน/ป- มูลคาทางเศรษฐกิจของผลกระทบดานสุขภาพที่จะลดลง56,000 – 140,000 ลานบาท/ป 22,792 – 56,980 ลานบาท/ปที่มา : กรมควบคุมมลพิษ 2548246


รายงานสถานการณคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2548.......................................................................................................... บทที่ 7 <strong>ภาวะมลพิษ</strong>รูปที่ 7-5 แนวโนมปริมาณฝุนขนาดเล็กรายปในกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2537-254710090ฝุนขนาดเล็กกวา 10 ไมครอน รายป(มคก./ลบ.ม.)80706050403020100มาตรฐาน = 50 มคก./ลบ.ม.2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547ที่มา : กรมควบคุมมลพิษ 2548ริมถนน พื้นที่ทั่วไปรูปที่ 7-6 แนวโนมปริมาณฝุนรวมรายปในกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2537-25470.600.50ฝุนรวมรายป (มก./ลบ.ม.)0.400.300.200.10มาตรฐาน = 0.10 มก./ลบ.ม.0.002537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547ที่มา : กรมควบคุมมลพิษ 2548ริมถนน พื้นที่ทั่วไป247


รายงานสถานการณคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2548.......................................................................................................... บทที่ 7 <strong>ภาวะมลพิษ</strong>รูปที่ 7-7 แนวโนมปริมาณกาซโอโซนในกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2540-2547กาซโอโซนรายป(ppb)1816141210864202540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547ที่มา : กรมควบคุมมลพิษ 2548ริมถนน พื้นที่ทั่วไป2) ฝุนรวม (total suspended particulates) ซึ่งเปนฝุนที่มาจากไอเสียและควัน จากยานพาหนะ กิจกรรมการกอสราง การขนสง โรงงานอุตสาหกรรม ฝุนที่ฟุงกระจายมาจากพื้นถนน ฝุนจากการเผาไหมทุกชนิด และฝุนเกลือจากทะเล (ขนาดไมเกิน 100 ไมครอน) มีปริมาณที่พบอยูในชวง0.01–0.77 มิลลิกรัม (มก.)/ลบ.ม.ของอากาศ โดยที่รอยละ8.4 ของจํานวนครั้งที่ตรวจวัดทั้งหมดมีปริมาณฝุนรวมเกินคามาตรฐาน (0.33 มก./ลบ.ม. เฉลี่ย 24 ชั่วโมง) ซึ่งสูงกวาที่พบเพียงรอยละ 3.9 และ 4.1 ในป พ.ศ. 2545 และ พ.ศ. 2546ตามลําดับ3) กาซโอโซน (ozone) เปนกาซที่เกิดจากปฎิกิริยาระหวางออกไซดของไนโตรเจนและสารไฮโดรคารบอนจากน้ํามันเชื้อเพลิงของยานพาหนะภายใตแสงอาทิตยที่เปนตัวเรงปฏิกิริยาซึ่งมักตรวจพบในพื้นที่ทายลม (downwind) คือบริเวณรอบนอกของเมืองนั้น ในป พ.ศ. 2547 พบวา มีปริมาณในบรรยากาศ 0–143 สวนในพันลานสวน (ppb) โดยมีสัดสวนเกินคามาตรฐาน (100 ppb เฉลี่ย 1 ชั่วโมง) เพียงรอยละ 0.05 ในทํานองเดียวกับที่พบในป พ.ศ. 25464) กาซคารบอนมอนอกไซด (carbon monoxide)เปนกาซที่เกิดจากเครื่องยนตที่มีการเผาไหมเชื้อเพลิงที่ไมสมบูรณ พบวา มีปริมาณอยูในชวง 0–10.6 สวนในลานสวน(ppm) ซึ่งสวนใหญมีปริมาณอยูในเกณฑหรือไมเกินคามาตรฐานเฉลี่ย 1 ชั่วโมง (30 ppm) แตถาเปรียบเทียบกับคามาตรฐานเฉลี่ย 8 ชั่วโมง (9 ppm) แลว มีอยูรอยละ 0.08 ที่เกินคามาตรฐาน สวนสารมลพิษอื่นๆ เชน กาซซัลเฟอรไดออกไซดกาซไนโตรเจนไดออกไซด และสารตะกั่ว ปริมาณที่พบอยูในเกณฑมาตรฐานที่กําหนด3.1.2 มลพิษทางอากาศในพื้นที่ทั่วไปพื้นที่ทั่วไปในกรุงเทพมหานครที่มีการตรวจวัดคุณภาพอากาศเปนพื้นที่ที่อยูหางจากถนนหลักมากกวา 50เมตร ซึ่งสวนใหญจะเปนเขตที่อยูอาศัยหรือกิจกรรมเชิงพาณิชยขนาดยอย พบวาในป พ.ศ. 2547 ปริมาณสารมลพิษทางอากาศที่เปนปญหาหลักคือ ฝุนขนาดเล็ก และ กาซโอโซนอยูในชวงที่ตรวจวัดได 19.3–219.3 มคก./ลบ.ม. และ 0–173ppb ตามลําดับ โดยมีสัดสวนรอยละที่เกินคามาตรฐานอยู 4.4และ 0.18 ของจํานวนการตรวจวัดทั้งหมดตามลําดับ และปริมาณสูงสุดพบที่บริเวณยานมหาวิทยาลัยราชภัฎสมเด็จ-เจาพระยา ฝงธนบุรี และยานเคหะชุมชนคลองจั่น248


รายงานสถานการณคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2548.......................................................................................................... บทที่ 7 <strong>ภาวะมลพิษ</strong>3.1.3 มลพิษทางอากาศในจังหวัดปริมณฑลจังหวัดในเขตปริมณฑล 4 จังหวัด คือ สมุทรปราการสมุทรสาคร นนทบุรี และปทุมธานี มี<strong>ภาวะมลพิษ</strong>ทางอากาศไมแตกตางจากกรุงเทพมหานครมากนัก กลาวคือ สารมลพิษหลักที่ยังคงมีปริมาณเกินคามาตรฐาน คือ ฝุนขนาดเล็ก ซึ่งตรวจวัดไดในป พ.ศ. 2547 อยูในชวง 8.8–331 มคก./ลบ.ม. โดยพบปริมาณสูงสุดที่จังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งมีสัดสวนรอยละ 42ของจํานวนครั้งที่ตรวจวัดทั้งหมดเกินคามาตรฐานและสูงกวาปริมาณฝุนที่พบในหลายปที่ผานมา ดังแสดงในรูปที่ 7-8เนื่องจากเปนพื้นที่แหลงอุตสาหกรรมและมีสภาพการจราจรหนาแนน นอกจากนี้ กาซโอโซน ก็เปนสารมลพิษทางอากาศที่พบปริมาณอยูในชวง 0–192 ppb และพบเกินคามาตรฐานรอยละ 0.27 ของจํานวนครั้งที่ตรวจวัดในจังหวัดสมุทรสาครนนทบุรี และปทุมธานีรูปที่ 7-8 แนวโนมฝุนขนาดเล็กในจังหวัดสมุทรปราการ พ.ศ. 2540-2547คาสูงสุด คาเฉลี่ย คาต่ําสุดPM 10 เฉลี่ย 24 ชม. (มคก./ลบ.ม.)400350300250200150100500มาตรฐาน 120 มคก./ลบ.ม.2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547ที่มา : กรมควบคุมมลพิษ 25483.1.4 มลพิษทางอากาศในพื้นที่ตางจังหวัดในป พ.ศ. 2547 ฝุนขนาดเล็กยังคงเปนปญหาหลักในพื้นที่ตางจังหวัดซึ่งมีปริมาณเพิ่มขึ้นอยางชัดเจนเมื่อเปรียบเทียบกับปที่ผานมา โดยเฉพาะในชุมชนเมืองภาคเหนือของประเทศในจังหวัดเชียงใหม และลําปาง รวมทั้งจังหวัดสระบุรี ที่บริเวณหนาพระลาน อําเภอเฉลิมพระเกียรติในขณะที่กาซโอโซนเปนปญหารองลงมา สวนสารมลพิษทางอากาศชนิดอื่นมีปริมาณอยูในเกณฑคามาตรฐานที่กําหนดนอกจากควันดําและไอเสียรถยนตที่ทําใหฝุนขนาดเล็กในพื้นที่ชุมชนเมืองในตางจังหวัดมีปริมาณสูงขึ้นแลวกิจกรรมการขนสง การทําเหมืองหินและโรงโมหิน และการเผาในที่โลงทั้งการเผาขยะในเมืองและการเผาในพื้นที่การเกษตรเพื่อเตรียมการเพาะปลูก นับเปนแหลงกําเนิดฝุนขนาดเล็ก ซึ่งปริมาณที่ตรวจวัดเฉลี่ย 24 ชั่วโมงในป พ.ศ. 2547 อยูในชวง9.9–415.7 มคก./ลบ.ม. โดยพบปริมาณสูงสุดที่บริเวณหนา-พระลาน จังหวัดสระบุรี ซึ่งมีสัดสวนรอยละ 35 ของจํานวนที่ตรวจวัดทั้งหมด เปนปริมาณที่เกินคามาตรฐานเนื่องจากกิจกรรมเหมืองหินและกิจกรรมตอเนื่อง ในขณะที่การเผาในที่โลงและไฟปาในภาคเหนือมีอิทธิพลตอคุณภาพอากาศในเมืองเชียงใหมและลําปางโดยเฉพาะในชวงตนป นอกจากนี้ พื้นที่ที่มีปญหาฝุนขนาดเล็กเชนกัน ไดแก ในชุมชนเมือง จังหวัดนครราชสีมา ชลบุรี (อําเภอศรีราชา) ระยอง (อําเภอปลวกแดง)ราชบุรี และ พระนครศรีอยุธยากาซโอโซนที่ตรวจพบในพื้นที่ตางจังหวัดอยูในชวง0–165 ppb ซึ่งสวนใหญที่พบปริมาณเกินคามาตรฐานไดแกที่ชุมชนเมืองจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ชลบุรี ระยอง (อําเภอปลวกแดง) และราชบุรี และที่พบเกินมาตรฐานเปนครั้งคราวเทานั้น ในพื้นที่จังหวัดสระบุรี เชียงใหม นครราชสีมา และนครสวรรค249


รายงานสถานการณคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2548.......................................................................................................... บทที่ 7 <strong>ภาวะมลพิษ</strong>3.2 มลพิษทางเสียงเสียงดังเปนมลพิษที่สงผลกระทบตอสุขภาพอนามัยทั้งทางกายและจิตใจ เสียงดังในสถานประกอบการมีอันตรายคอนขางชัดเจนตอผูสัมผัสหรือคนงานที่ทํางานในสถานที่ที่มีระดับเสียงดังเกินกวามาตรฐานที่กฎหมายแรงงานกําหนดไวที่90 เดซิเบลเอ (dBA) สําหรับชวงเวลาการทํางาน 8 ชั่วโมงตอวัน การสูญเสียการไดยินมากหรือนอย ซึ่งอาจเปนไดทั้งในลักษณะชั่วคราวและถาวร เปนผลกระทบตอสุขภาพทางกายที่ชัดเจน นอกจากนั้น เสียงดังยังกอใหเกิดความรําคาญอารมณเสีย เสียสติ ขาดสมาธิ ลดประสิทธิภาพในการทํางานและการสื่อสาร และลดผลผลิตในที่สุด ตามพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 มีการกําหนดมาตรฐานระดับเสียงดังในสิ่งแวดลอมนอกอาคารหรือสถานประกอบการไวที่คาเฉลี่ย 24 ชั่วโมงไมควรเกิน 70เดซิเบลเอ (dBA) ระดับเสียงโดยทั่วไปในชุมชนเมืองสวนใหญมีระดับที่สูงเกินคามาตรฐานดังกลาว โดยเฉพาะบริเวณริมถนนซึ่งแหลงกําเนิดเสียงที่สําคัญไดแก เครื่องยนตของยานพาหนะโดยมีสภาพวัสดุของถนนและอาคารในสภาพแวดลอมเปนปจจัยที่ชวยเพิ่มหรือลดระดับเสียง รวมทั้งยางรถยนตที่วิ่งบนผิวถนน สวนเครื่องจักรหรือกิจกรรมตางๆ เปนปจจัยรองของแหลงกําเนิดเสียง3.2.1 ระดับเสียงในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลสถานการณมลพิษทางเสียงในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลมีแนวโนมไมเปลี่ยนแปลงมากนักในชวงป พ.ศ.2542–2547 โดยมีระดับเสียงริมถนนเฉลี่ย 24 ชั่วโมงอยูในชวง 64–84 dBA มีคาเฉลี่ยของทุกสถานีที่มีการตรวจวัดคือ 72 dBA และมีจํานวนที่เกินคามาตรฐานถึงรอยละ 74 ของจํานวนครั้งที่มีการตรวจวัดทั้งหมด บริเวณที่มีระดับเสียงสูงกวา 80 dBA ไดแก ถนนบํารุงเมือง ถนนเยาวราชถนนสุขุมวิท ถนนตรีเพชร และถนนลาดพราว อนึ่ง ความดังของเสียงจะเพิ่มขึ้น 1 เทาทุก 10 dBAสําหรับพื้นที่ทั่วไปซึ่งอยูหางจากถนนหลักกวา 50เมตรนั้น มีคาระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมงอยูในชวง 54–77dBA โดยมีจํานวนครั้งที่ตรวจวัดเกินคามาตรฐานเพียงรอยละ6 นอกจากนี้ ระดับเสียงริมคลองแสนแสบซึ่งเปนเสนทางสายหลักของการสัญจรทางน้ําในกรุงเทพมหานคร มีคาเฉลี่ย 24ชั่วโมงอยูในชวง 63–65 dBA ซึ่งอยูในระดับเกณฑมาตรฐานแตระดับเสียงริมคลองแสนแสบมีความแตกตางกันประมาณ10 dBA ระหวางชวงเวลาที่ไมมีเรือโดยสารและชวงที่มีเรือโดยสารบริการวิ่งไปมา แสดงถึงเสียงดังที่เกินมาตรฐานเกิดจากเรือโดยสาร3.2.2 ระดับเสียงในพื้นที่ตางจังหวัดชุมชนเมืองในจังหวัดที่เปนศูนยกลางความเจริญมีระดับเสียงในป พ.ศ. 2547 ไมตางจากกรุงเทพมหานครและปริมณฑลมากนักเพราะแหลงกําเนิดเสียงมาจากยานพาหนะและสภาพการจราจร ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมงบริเวณริมถนนตรวจวัดไดอยูในชวง 49–85 dBA โดยรอยละ 13 ของจํานวนครั้งที่ตรวจวัด มีระดับเสียงเกินคามาตรฐาน โดยเฉพาะที่อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา และบริเวณหนาพระลานอําเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี สําหรับพื้นที่ทั่วไปที่อยูหางจากถนนหลักมีคาเฉลี่ย 24 ชั่วโมงของระดับเสียงอยูระหวาง 52–76 dBA โดยมีจํานวนครั้งที่ตรวจวัดไดเกินคามาตรฐาน ไมถึงรอยละ 13.3 บทสรุปและขอเสนอแนะสถานการณมลพิษทางอากาศของประเทศไทยในปพ.ศ. 2547 สารมลพิษหลักที่ยังคงมีปริมาณในบรรยากาศเกินคามาตรฐาน เปนปญหาทั่วไปในทุกพื้นที่ทั้งในเขตกรุงเทพมหานครและตางจังหวัดโดยเฉพาะบริเวณริมถนนไดแก ฝุนขนาดเล็ก และฝุนรวม โดยมีกาซโอโซนเปนปญหารองลงมาที่มีปริมาณเพิ่มขึ้นจากเดิมที่ไมเคยตรวจพบในชวงกอนป พ.ศ. 2540 แตปจจุบันพบเกินคามาตรฐาน ในหลายพื้นที่ แมวาจํานวนครั้งที่ตรวจพบเกินคามาตรฐานยังมีนอยอยูก็ตาม สวนกาซคารบอนมอนอกไซดที่มีปริมาณลดลงจนนอยกวาคามาตรฐานมาเปนเวลานานตั้งแตมีมาตรการที่รถยนตตองติดตั้ง catalytic converters แตปจจุบันเริ่มมีปริมาณเพิ่มขึ้นเกินคามาตรฐานในบางพื้นที่และบางเวลาที่แสดงถึงจํานวนรถยนตมากขึ้นและ catalytic converters ที่มีอยูอาจหมดอายุไปบางแลว สวนสารมลพิษอื่นๆ เชน กาซซัลเฟอร-ไดออกไซด กาซไนโตรเจนไดออกไซด และสารตะกั่ว ยังอยูในเกณฑที่มาตรฐานกําหนดไว สําหรับระดับเสียงที่สูงเกินคามาตรฐานยังคงมีอยูทั่วไปบริเวณริมถนนในกรุงเทพมหานครและชุมชนเมืองที่มีการจราจรหนาแนนซึ่งไมมีการเปลี่ยนแปลงมากนักในระยะ 5 ปที่ผานมาการดําเนินงานควบคุมปองกันปญหามลพิษทางอากาศและเสียงนั้น นอกจากแผนงานที่ดําเนินการอยูในปจจุบันแลว มาตรการเพิ่มเติมที่อาจสนับสนุนการดําเนินงานตอไปใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ไดแก250


รายงานสถานการณคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2548.......................................................................................................... บทที่ 7 <strong>ภาวะมลพิษ</strong>1) กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ catalytic convertersเกี่ยวกับประสิทธิภาพหรืออายุการใชงาน รวมทั้งสงเสริมการผลิตภายในประเทศเพื่อใหมีราคาต่ําลง2) สงเสริมการใชกาซธรรมชาติสําหรับยานยนต(natural gas for vehicle) แทนน้ํามันดีเซลใหไดมากที่สุดโดยเฉพาะในรถยนตบริการสาธารณะ3) กําหนดมาตรฐานบังคับสถานีจําหนายน้ํามันใหใชอุปกรณการเติมน้ํามันที่มีระบบนํากลับไอระเหยของน้ํามันเชื้อเพลิง (gas recovery) เพื่อลดสารระเหยไฮโดรคารบอนที่จะไปมีปฏิกิริยากลายเปนกาซโอโซน4) สงเสริมใหองคกรปกครองทองถิ่นเขมงวดทําความสะอาดขอบถนนในเมือง และกําหนดเปนนโยบายใหถนนในเมืองตองมีฟุตบาทหรือทางเทาเพื่อลดพื้นที่เปดหนาดินซึ่งเปนแหลงกําเนิดฝุน5) เขมงวดตรวจจับรานจําหนาย ตัดแตง ทอไอเสียที่ไมไดมาตรฐาน เพราะทอไอเสียรถยนตและมอเตอรไซดเปนผลิตภัณฑที่มีมาตรฐานบังคับ (มอก.) เกี่ยวกับเสียงดังดวย6) ใหความสําคัญตอการดําเนินงานตามแผนแมบทและแผนปฏิบัติวาดวยการควบคุมการเผาในที่โลง ตามที่คณะรัฐมนตรีไดเห็นชอบใหดําเนินการแลวการจัดการมลพิษทางอากาศและเสียง เปนสิ่งหนึ่งที่ตองการการมีสวนรวมจากประชาชนซึ่งเปนเจาของแหลงกําเนิดมลพิษประเภทนี้คือยานพาหนะทั้งรถยนตและจักรยานยนตที่จําเปนตองดูแลบํารุงรักษาเครื่องยนต ซึ่งนอกจากจะชวยลดมลพิษแลวยังประหยัดน้ํามันเชื้อเพลิงดวยมาตรการนี้จึงนาที่จะสรางเปนกระแสสังคมไดในภาวะที่ปจจุบันราคาน้ํามันเชื้อเพลิงสูงขึ้นมากขยะบรรณานุกรมกรมควบคุมมลพิษ. 2548. สรุปสถานการณมลพิษของประเทศไทย พ.ศ. 2547. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. กรุงเทพมหานคร.สถาบันสิ่งแวดลอมไทย. 2548 (เมษายน). “คูมือเลือกซื้อผลิตภัณฑคุณภาพเพื่อสิ่งแวดลอม”.ฐานเศรษฐกิจ-เอ็กเซกคิวทีฟมีเดีย.สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม.2548. รายงานสถานการณคุณภาพสิ่งแวดลอมพ.ศ. 2547. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. กรุงเทพมหานคร.มลพิษทางน้ํากรมควบคุมมลพิษ. 2548. สรุปสถานการณมลพิษของประเทศไทย พ.ศ. 2547. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. กรุงเทพมหานคร.มลพิษทางอากาศและเสียงกรมควบคุมมลพิษ. 2548. สรุปสถานการณมลพิษของประเทศไทย พ.ศ. 2547. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. กรุงเทพมหานคร.251

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!