11.07.2015 Views

เจาของผลงาน - สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ

เจาของผลงาน - สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ

เจาของผลงาน - สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ISBN 974-229-952-8


INVENTION • INNOVATION • INVESTMENTพบกับสุดยอดสิ่งประดิษฐและผลงานนวัตกรรมฝมือไทยในงานตลาดนัดนวัตกรรม 2549InnoMart 2006ครั้งแรกในการผนึกกำลังรวมกันของสามสุดยอดหนวยงานสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (สนช.)สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (สสว.)21-24 กันยายน 2549รอยัลพารากอนฮอลล สยามพารากอน กรุงเทพฯ


การสัมมนาในงาน “ตลาดนัดนวัตกรรม 2549”ภายใตหัวขอ“คิดแลวรวย...ดวยนวัตกรรม”21-23 กันยายน 2549ณ บริเวณดานหลังนิทรรศการของสำนักงานนวัตกรรมแหงชาติวันพฤหัสบดีที่ 21 กันยายน 2549Innovative Products Launch: Design and Branding Business14.00-15.00 น. การบรรยายนำ Innovative Branding:“มิสลิลลี่” นวัตกรรมวงการดอกไมสดโดย นายเรวัติ จินดาพลกรรมการผูจัดการ บริษัท มิสลิลลี่ จำกัด15.00-16.30 น. การเสวนาเรื่อง “กลยุทธการสรางความสำเร็จของธุรกิจนวัตกรรม:การออกแบบและสรางตราสินคา”ดำเนินรายการโดย นายบดินทร โกศลพิศิษฐรวมเสวนาโดยเจาของผลงาน “รถไฟฟา NEV”นายธิเบต รุงโรจนกิติยศกรรมการผูจัดการ บริษัท เอสดับบลิวเอส มอเตอรส จำกัดเจาของผลงาน “เสื้อนาโนซิลเวอร”นายยงนำ สิทธิพงษพรผูอำนวยการโครงการ บริษัท อินโนเทค เท็กซไทล จำกัดเจาของผลงาน “หุนยนตตนแบบสำหรับงานเชื่อม”นายปรีชา ประเสริฐถาวรกรรมการผูจัดการ บริษัท นิวสมไทยมอเตอรเวอรค จำกัดเจาของผลงาน “นวัตกรรมตะกรอผิวนุม”นายบุญชัย หลอพิพัฒนกรรมการผูจัดการ บริษัท มาราธอน (ประเทศไทย) จำกัด2 21-24 กันยายน 2549 สยามพารากอน กรุงเทพฯ


วันศุกรที่ 22 กันยายน 2549Innovative Product Lanuch: Herb and Nutraceutical Business14.00-15.00 น. การบรรยายเรื่อง “นวัตกรรม: เสนทางสูความสำเร็จ”โดย นายประวิทย สันติวัฒนาประธานกรรมการบริหาร บริษัท น้ำมันบริโภคไทย จำกัด15.00-16.30 น. การเสวนาเรื่อง “กลยุทธความสำเร็จของธุรกิจนวัตกรรม:อาหารและสมุนไพร”ดำเนินรายการโดย นายบดินทร โกศลพิศิษฐรวมเสวนาโดยเจาของผลงาน “แปงฝุนจากแปงขาวเจา”ดร. วราทัศน วงศสุรไกรกรรมการผูจัดการ บริษัท เนอเชอรแคร จำกัดเจาของผลงานสมุนไพรแหงชาติ “ไพลทานอยด”นายนาคา ฟูรังษีโรจนกรรมการผูจัดการ บริษัท โควิก เคทท อินเตอรเนชั่นแนล(ประเทศไทย) จำกัดเจาของผลงานนวัตกรรมสมุนไพร “เกสรดอกบัวหลวง”นายสมบัติ วนาอุปถัมภกุลผูจัดการแผนกวิจัยผลิตภัณฑ สวนวิจัยและพัฒนาสินคาบริษัท อินเตอรเนชั่นแนล แลบบอราทอรีส จำกัดwww.nia.or.th/innomart3


วันเสารที่ 23 กันยายน 2549Innovative Product Launch: Biotechnology Business14.00-15.00 น. การบรรยายเรื่อง “เสนทางธุรกิจนวัตกรรม...คนไทยทำได”โดย นายชนิตร ชาญชัยณรงคผูจัดการตลาดหลักทรัพย เอ็ม เอ ไอ (MAI)15.00-16.30 น. การเสวนาเรื่อง “กลยุทธความสำเร็จของธุรกิจนวัตกรรม: ธุรกิจชีวภาพ”ดำเนินรายการโดย นายบดินทร โกศลพิศิษฐรวมเสวนาโดยเจาของผลงาน “นวัตกรรมผลิตภัณฑจากยีสต”ดร. พรรณวิภา กฤษฎาพงษกรรมการผูจัดการ บริษัท สเปเชี่ยลตี้ ไบโอเทค จำกัดเจาของผลงาน “นวัตกรรมอาหารสัตวโปรไบโอติก”นายวินัย โชติเธียรชัยกรรมการผูจัดการ บริษัท เวท ซุปพีเรีย คอนซัลแตนท จำกัดเจาของผลงาน “นวัตกรรมขาวกลอง O-rice”ดร. นิลวรรณ เพชระบูรณินกรรมการผูจัดการ บริษัท เพชรบูรณอินโนเวชั่น จำกัดเจาของผลงาน “สเต็มเซลล: นวัตกรรมการแพทยในอนาคต”พล.ต.ต. นพ. จงเจตน อาวเจนพงษประธานกรรมการบริหาร บริษัท ไทย สเตมไลฟ จำกัดเจาของผลงาน “สารเสริมชีวนะสมุนไพรดวยเทคโนโลยีชีวภาพ”นพ. ฉัตรชัย กองทรัพยผูบริหารศูนยสุขภาพ บริษัท ลานนาเกษตรกรรม จำกัด4 21-24 กันยายน 2549 สยามพารากอน กรุงเทพฯ


การสัมมนาในงาน “ตลาดนัดนวัตกรรม 2549”ภายใตหัวขอ“การบริหารจัดการทรัพยสินทางปญญาและการอนุญาตการใชสิทธิทางเทคโนโลยี”Intellectual Property Management and Technology Licensing Workshop21-23 กันยายน 2549ณ หองประชุมยอย 4-5 ชั้น 5 สยามพารากอน08.00-09.00 Registration09.00-10.00 Opening ceremony-Innomart/InnoBioPlast 200610.00-10.30 Break and opening of InnoMart/InnoBioPlast 2006 Exhibitions10.30-12.00 Panel Discussion:“IP at the Edge of Knowledge Economy: How we can benefit from it?”• An Introduction to the IP WorldMichael Blakeney, Queen Mary IP Research Institute, on behalf ofThe EC-ASEAN Intellectual Property Rights Co-operationProgramme, ECAP II• Challenges and Opportunities of IP in ThailandRoland Amoussou-Guenou, Regional Intellectual Property ManagementCenter, Asian Institute of Technology• IP Management and Licensing issuesFoo Moo Kwang, CEO Axis Associates International, Co., Ltd.Moderator: Kajit Sukhum, Director of the IP Promotion and Development,Department of Intellectual Property12.00-13.00 Lunch Break13.00-15.00 IP Laws and Practices in the USBunjob Jaroenchonwanit, United States Patent and Trademark Office(USPTO)15.00-15.15 Tea/Coffee Break15.15-16.00 IP Capitalization in ThailandNatee Khlibtong, CEO of Assests Capitalization Bureau16.00-16.30 IP Valuation and CommercializationUdomsri Nathikanchanalab, UK Valuations and Agency Co., Ltd.16.30-17.00 Open Discussion and Closing Sessionwww.nia.or.th/innomart5


ZONE AนิทรรศการพลาสติกชีวภาพนานาชาติZONE BนิทรรศการแสดงผลงานวิจัยและพัฒนาดานพลาสติกชีวภาพของประเทศไทยZONE CC1 เครื่องเงินในชุมชนบานวัวลายC2 การพัฒนาหัตถกรรมผาไทยโบราณC3 กระบวนการเสนทางสายฝายC4 ภาพกระจกสีC5 ผลิตภัณฑสุขภาพในธุรกิจสปาC6 เทคโนโลยีพลาสมาสำหรับไหมไทยC7 เจลสเปรยและโลชั่นกันยุง ขมิ้นชันC8 หุนยนตเก็บกูวัตถุระเบิดC9 การเพาะเลี้ยงหอยหวานC10 การเพาะเลี้ยงไขมุกน้ำจืดC11 การทำฟารมเลี้ยงหอยเปาฮื้อC12 ชุดตรวจสอบชนิดยาในอาหารสัตวC13 ไมพญาสัตบรรณC14 กลวยไขพันธุเกษตรศาสตร 2C15 ฐานขอมูลสาขาเกษตรศาสตรฯC16 ฐานขอมูลคนตางดาวในไทยC17-18 ศูนยควบคุมแมลงศัตรูพืชโดยชีววิธีC19-20 โรงงานตนแบบเอทานอลจากน้ำมันเสนC21 เครื่องไกวเปลอัตโนมัติC22 เครื่องขูดมะละกอC23 หมึกพิมพอิงคเจ็ทมหัศจรรยC24 อุปกรณมวนขนมทองมวนC25 เครื่องแยกไขจากเศษไมC26 เตาเสียบกันไฟรั่วและกันน้ำC27 สีเพนทภาพราคาประหยัดC28 กระดาษจากตะไครC29 มอลตขาวไทยC30 น้ำมันเครื่องเกาขัดขอบยางรถยนตC31 เครื่องควานไมC32 ชิ้นงานฝกทักษะจากเศษไมC33 อุปกรณตรวจคัดอัญมณีC34 วัสดุปดแผลจากอนุพันธไคโตซานC35 สำเภาทอง เรือจำลองจักสานC36 หุนจำลองยางพาราอิเล็กทรอนิกสC37 โครงการจัดแปลหนังสือC38 รถไฟฟาสำหรับผูพิการC39 โรงสีขาวชุมชนC40 โคเนื้อพันธุกำแพงแสนZONE DD1-4 เครือซิเมนตไทยD5-8 สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร(องคการมหาชน)D9 บริษัท เพชรบูรณอินโนเวชั่น จำกัดD10 บริษัท สเปเชี่ยลตี้ ไบโอเทค จำกัดD11-1 บริษัท พรีเมอร จำกัดD11-2 บริษัท ลานนาเกษตรกรรม จำกัดD12-1 บริษัท เวท ซุปพีเรีย คอนซัลแตนท จำกัดD12-2 บริษัท คลอแมน (ประเทศไทย) จำกัดD13-14 อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทยD15 บริษัท นิวสมไทย มอเตอรเวอรค จำกัด6 21-24 กันยายน 2549 สยามพารากอน กรุงเทพฯ


D16 หางหุนสวนจำกัด เอกวัตรD17 บริษัท เอส ซี ซี เทค จำกัดD18 บริษัท ยูนิเทค โพรดักส จำกัดD19-20 บริษัท เอสดับบลิวเอส มอเตอรส จำกัดD21-24 บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)D25 บริษัท เอราวัณฟารมาซูติคอล รีเซิช แอนดลาบอราตอรี่ จำกัดD26 บริษัท เนอเชอรแคร จำกัดD27-28 บริษัท ไทย สเต็มไลฟ จำกัดD29 บริษัท ล็อกซเลย เทรดดิ้ง จำกัดD30 บริษัท โควิก เคทท อินเตอรเนชั่นแนล(ประเทศไทย) จำกัดD31 บริษัท ริเวอรแคว อินเตอรเนชั่นแนลอุตสาหกรรมอาหาร จำกัดD32 บริษัท ชูลส รีเซิช จำกัดD33-34 บริษัท อินโนเทค เท็กซไทล จำกัดD35-1 บริษัท RSU Innovation Porduct จำกัดD35-2 หางหุนสวนจำกัด แองเจิลไรซD36 บริษัท มาราธอน (ประเทศไทย) จำกัดD37 บริษัท น้ำมันสบูดำไทย จำกัดD38 บริษัท ซีบอรนฟารม จำกัดD39-40 บริษัท พลัส แลป จำกัดZONE EE1 หนวยงานภายใตการสนับสนุนจาก สสว.E2 หนวยงานภายใตการสนับสนุนจาก สสว.E3 สถาบันคนควาและพัฒนาผลิตภัณฑอาหาร มอก.E4 โครงการ recycle เพื่อรักษาสิ่งแวดลอม (มช.)E5 สำนักงานพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษาE6 หนวยงานภายใตการสนับสนุนจาก สสว.E7 บริษัท เอ็กซ ทรีม พลัส จำกัดE8 บริษัท มิกซ เอ็น คอรปอเรชั่น จำกัดE9 หนวยงานภายใตการสนับสนุนจาก สสว.E10 ศูนยบมเพาะศูนยบมเพาะวิสาหกิจ ม. พายัพE11 ธนาคารเพื่อการสงออกและนำเขาแหงประเทศไทยE12 ธนาคารนครหลวงไทยE13-14 บริษัท แมกซ ดิจิตอล จำกัดE15E16บริษัท ไฮน เอ็นเตอรไพรส จำกัดบริษัท สมารท เอ็มเบ็ดเด็ด เน็ตเวิรคซิสเต็ม จำกัดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรีมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญE17E18E19-20 ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตรE21 บริษัท ทีพีโฟร อินเตอรเนชั่นแนล จำกัดE22E23E24E25E26E27E28E29E30E31E32บริษัท นาโนชิลด จำกัดบริษัท เทราซอฟท จำกัดบริษัท อรามันด จำกัดมหาวิทยาลัยศรีปทุมมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรมหาวิทยาลัยมหานครธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมแหงประเทศไทย (SME Bank)บริษัท บี. อาร. ดิโอดอแรนท จำกัดบริษัท นาโนบิซ จำกัดบริษัท เอ็นเซฟเวอร จำกัดบริษัท ซันชายน พีเอส จำกัดwww.nia.or.th/innomart7


สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)ZONE Cความคิดที่จะใหรัฐบาลจัดตั้งสภาวิจัยแหงชาติมีมาตั้งแตป พ.ศ. 2477 แตมิไดรับการสนับสนุนจากรัฐบาลในสมัยนั้น ตอมาไดมีผูเล็งเห็นความสำคัญของการวิจัยและไดพยายามรางโครงการเสนอความเห็นตอรัฐบาลอีกจนกระทั่งป พ.ศ. 2499 รัฐบาลไดประกาศใชพระราชบัญญัติสภาวิจัยแหงชาติฉบับแรก โดยแตงตั้งอธิบดีกรมวิทยาศาสตรเปนเลขาธิการสภาวิจัยแหงชาติโดยตำแหนง และตั้งสำนักงานเลขาธิการสภาวิจัยแหงชาติขึ้นที่กรมวิทยาศาสตรเปนการชั่วคราว พรอมทั้งไดกำหนดสาขาวิชาการที่จะวิจัยไวเฉพาะดานวิทยาศาสตรโดยแบงออกเปน 6 สาขา ไดแก สาขาวิทยาศาสตรกายภาพและคณิตศาสตร วิทยาศาสตรการแพทย เคมีและเภสัชวิทยาศาสตรชีวภาพ เกษตรศาสตรและวนศาสตร และสาขาวิศวกรรมศาสตรและอุตสาหกรรมป พ.ศ. 2502 รัฐบาลโดย ฯพณฯ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต เปนนายกรัฐมนตรี ไดเห็นวาการที่จะพัฒนาประเทศใหเจริญรวดเร็วและสมบูรณจริงๆ จะตองเรงรัดพัฒนาทุกดาน โดยเฉพาะประเทศที่กำลังพัฒนาเชนประเทศไทยจะตองอาศัยวิชาการทางดานสังคมซึ่งเกี่ยวกับชีวิตจิตใจประเพณีนิยม และความคิดเห็นตางๆเพื่อเปนพื้นฐานที่จะวางนโยบายพัฒนาประเทศเสียกอน จึงจะยกระดับทางวัตถุหรือวิทยาศาสตรใหไดผลแทจริงตอไป และไดประกาศใชพระราชบัญญัติสภาวิจัยแหงชาติ พ.ศ. 2502 แทนพระราชบัญญัติสภาวิจัยแหงชาติ พ.ศ. 2499 พรอมทั้งจัดระบบงานและองคประกอบของสภาวิจัยแหงชาติใหมโดยใหมี“สำนักงานสภาวิจัยแหงชาติ” ปฏิบัติงานใหกับสภาวิจัยแหงชาติและเปนหนวยงานในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2502 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหทำหนาที่เปนองคกรกลางเกี่ยวกับการวิจัยของประเทศป พ.ศ. 2507 ไดมีการประกาศใชพระราชบัญญัติสภาวิจัยแหงชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2507 เพื่อกำหนดหนาที่ของสภาวิจัยแหงชาติและสำนักงานสภาวิจัยแหงชาติใหเหมาะสมยิ่งขึ้น และในป พ.ศ. 2515 ไดมีประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 315 ลงวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2515 แกไขพระราชบัญญัติสภาวิจัยแหงชาติ พ.ศ.2507โดยมีการเปลี่ยนชื่อ “สำนักงานสภาวิจัยแหงชาติ” เปน “สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ”ป พ.ศ. 2522 เมื่อวันที่ 24 มีนาคม สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ ไดโอนไปอยูในสังกัดกระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและการพลังงาน (ภายหลังไดเปลี่ยนชื่อเปน “กระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม” เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2535) และในป พ.ศ. 2543 เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ ไดโอนไปอยูในบังคับบัญชาของนายกรัฐมนตรี โดยมีฐานะเปนกรม ซึ่งไมสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง ดวยเหตุผลที่วาเพื่อใหสำนักงานฯ ไดมีบทบาทเปนหนวยงานกลางในการทำหนาที่เสนอแนะนโยบายและแผนการวิจัยทั้งดานวิทยาศาสตรและสังคมศาสตรไดอยางแทจริงตามกฎหมายวาดวยสภาวิจัยแหงชาติรวมทั้งสามารถใหคำปรึกษารัฐบาลเกี่ยวกับกิจกรรมตางๆ เกี่ยวกับการวิจัยไดโดยรวดเร็วและทันตอเหตุการณ อีกทั้งเพื่อใหสำนักงานฯ ไดอยูในสายการบังคับบัญชาเดียว8 21-24 กันยายน 2549 สยามพารากอน กรุงเทพฯ


ZONE Cเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2545 รัฐบาลไดประกาศใชกฎหมายเกี่ยวกับการปฏิรูประบบราชการ คือ พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 ซึ่งในหมวด 21 ไดกำหนดใหสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติเปนสวนราชการไมสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง มีอำนาจหนาที่เกี่ยวกับการวิจัยและอำนาจหนาที่ตามที่กำหนดไวในกฎหมาย และมีฐานะเปนกรม อยูในบังคับบัญชาของนายกรัฐมนตรี ซึ่งไดมอบหมายและมอบอำนาจใหรองนายกรัฐมนตรี (รอยตำรวจเอก ปุระชัย เปยมสมบูรณ) กำกับการบริหารราชการ และสั่งและปฏิบัติราชการสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติแทนวิสัยทัศน• วช. เปนสมองของประเทศ”พันธกิจโดยรวม• ใหคำตอบรัฐบาลในประเด็นวิทยาการทุกดาน รวมทั้งดานสังคมและกฎหมาย• รายงานสถานภาพการวิจัยของประเทศเพื่อปรับกระบวนทัศนตามพลวัตของโลก• จัดทำนโยบายและยุทธศาสตรการวิจัยของประเทศ• สงเสริมความรวมมือการวิจัยทั้งในประเทศและตางประเทศ• สงเสริมและเกื้อกูลการถายทอดนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหงานวิจัยสูภาคสังคม อุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม• ใหบริการทางวิชาการการวิจัยและเปนศูนยสารสนเทศการวิจัยยุทธศาสตรโดยรวม• ยุทธศาสตรที่ 1 การเปนองคกรหลักในการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตรการวิจัยของประเทศ• ยุทธศาสตรที่ 2 การเปนองคกรหลักในการจัดทำมาตรฐานการวิจัย ติดตาม ประเมินผลการวิจัยของประเทศอยางเปนระบบและครบวงจร• ยุทธศาสตรที่ 3 การเปนองคกรหลักในการรวมมือกับตางประเทศดานการวิจัย• ยุทธศาสตรที่ 4 การเปนองคกรกลางในการประสานงานวิจัยและใหบริการทางวิชาการ• ยุทธศาสตรที่ 5 การเปนองคกรหลักในการสรางความเขมแข็งใหกับระบบวิจัย• ยุทธศาสตรที่ 6 การเปนองคกรหลักที่มีสมรรถนะสูงในการบริหารการวิจัยของประเทศสถานที่ติดตอสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ196 ถนนพหลโยธิน จตุจักร กรุงเทพฯ 10900โทรศัพท 02-561 2445www.nia.or.th/innomart9


C1บูธเครื่องเงินในชุมชนบานวัวลาย◦ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦ จำหนายแลวหัตถกรรมเครื่องเงินที่มีความสำคัญและมีชื่อเสียงรูจักกันทั่วไปทั้งในประเทศและตางประเทศสวนใหญตั้งอยูในเขตจังหวัดทางภาคเหนือของประเทศไทย และชุมชนบานวัวลายเปนแหลงผลิตและจำหนายหัตถกรรมเครื่องเงินที่มีชื่อเสียงมานาน เริ่มจากการสืบทอดการทำเครื่องเงินที่เปนภาชนะ เครื่องประดับหรือเครื่องใชในชีวิตประจำวันและพัฒนากลายเปนธุรกิจพื้นฐานอาศัยภูมิปญญาทองถิ่นประเภทหัตถกรรมที่มีความสำคัญแตความเจริญกาวหนาและทันสมัยของวิถีชีวิตของประชาชน ทำใหความนิยมใชภาชนะ เครื่องประดับหรือของใชที่ทำจากเงินแทลดลง ประกอบกับเครื่องเงินมีมูลคาคอนขางสูง จนกระทั่งชุมชนบานวัวลายที่เคยเปนแหลงผลิตและจำหนายเครื่องเงินที่สำคัญลดบทบาทและความสำคัญลงอยางมากคุณสมบัติเดน• ทำใหทราบประวัติการตั้งถิ่นฐาน พัฒนาการ และการขยายตัวของชุมชนทองถิ่นบานวัวลายเกี่ยวกับภาชนะเครื่องเงินตลาดเปาหมาย• ผูประกอบกิจการผลิตและจำหนายเครื่องเงิน• ชางฝมือเครื่องเงิน• ลูกคาในทองถิ่น• นักทองเที่ยวเจาของผลงาน• อาจารยสุกัญญา สุขวิบูลยคณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยหอการคาไทย126/1 ถนนวิภาวดีรังสิต ดินแดง กรุงเทพฯ 10400โทรศัพท 02-697 6405, 02-697 6426โทรศัพทมือถือ 081-555 5252 โทรสาร 02-275 4892ไดรับทุนอุดหนุนการวิจัย• ประเภทกำหนดเรื่อง ประจำป 2543 จากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) สาขาปรัชญา10 21-24 กันยายน 2549 สยามพารากอน กรุงเทพฯ


C2บูธการพัฒนาหัตถกรรมผาไทยโบราณ◦ ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦จำหนายแลว“การพัฒนาหัตถกรรมผาไทยโบราณใหเปนผาไทยรวมสมัย” มีวัตถุประสงคที่จะศึกษาคนควาทดลองเพื่อหาวิธีการพัฒนารูปแบบผาจกไทยวน-ราชบุรีไปสูรูปแบบรวมสมัย หัตถกรรมผาทอเปนหัตถกรรมที่มีบทบาทสำคัญมากทางเศรษฐกิจ ในปจจุบันมีการฟนฟูกันมาก กลุมทอผาในชนบทไดรับการสนับสนุนโดยสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ภาครัฐและภาคเอกชน ในสวนปญหาหลักของภาครัฐคือการขาดความรวมมือระหวางชุมชนทองถิ่นกับนักออกแบบในการพัฒนา ผาทอมือสวนใหญยังคงทอในรูปแบบประเพณีนิยมสืบทอดกันมา แทบไมพบวามีการพัฒนาเพื ่อใหเหมาะสมกับวัฒนธรรมรวมสมัย ทั้งในดานรูปแบบและหนาที่ใชสอย จากการสำรวจในสวนของภาคเอกชนใหญๆ หลายแหงแมวาจะมีการพัฒนาผาไทยในรูปแบบและวิธีการนำเสนอตางกัน แตยังไมพบวาไดมีความพยายามในการสืบสานและพัฒนาในเรื่องของการนำลวดลายแนวประเพณีนิยมมาพัฒนาใหเปนรูปแบบรวมสมัย โดยอาศัยหลักวิชาการทางทฤษฎี และแนวความคิดในการออกแบบเปนสมมติฐาน งานวิจัยนี้จึงไดกำหนดผาจกไทยวน-ราชบุรี ที่ยังไมเคยมีการนำมาพัฒนาทั้งในดานรูปแบบและหนาที่ใชสอยใหเหมาะสมกับวัฒนธรรมรวมสมัย เพื่อเปนเนื้อหาในการทดลองและคาดวาผลการวิจัยคงจะเปนผลดีตอชุมชนทองถิ่นและวงการผาไทยคุณสมบัติเดน• ชิ้นงานที่ประดิษฐเปนการพัฒนาตอยอดจากรากเหงาภูมิปญญาทองถิ่นของผาจกไทยวน-ราชบุรีในรูปแบบรวมสมัยที่ยังรักษาอัตตลักษณของทองถิ่นและความเปนไทยรวมทั้งเอกลักษณของนักออกแบบ• เปนผลงานในรูปแบบที่คลาสสิกดูไดนาน สามารถใชเปนเครื่องแตงกายสตรี-บุรุษรวมทั้งในงานออกแบบตกแตงภายในที่มีรสนิยมตลาดเปาหมาย• ตลาดระดับกลาง-บนทั้งภายในประเทศและตางประเทศเจาของผลงาน• รองศาสตราจารยพิศปะไพ สาระศาลินรองคณบดีฝายวิชาการ คณะศิลปกรรม มหาวิทยาลัยรังสิต52/347 หมูบานเมืองเอก อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000โทรศัพท 02-997 2222 ตอ 3431 โทรสาร 02-997 2222 ตอ 3435ไดรับทุนอุดหนุนการวิจัย• ประเภทกำหนดเรื่อง ประจำป 2545 จากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) สาขาปรัชญาwww.nia.or.th/innomart11


C3บูธกระบวนการเสนทางสายฝาย◦ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦ จำหนายแลวเปนการศึกษาศักยภาพภูมิปญญาและพัฒนาเครือขายกระบวนการเรียนรูภูมิปญญาพื้นบานในกระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑผาฝาย ทั้งการสืบสานฟนฟูและการถายทอดกระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑผาฝาย กอใหเกิดการเสริมสรางเศรษฐกิจพอเพียงและพึ่งตนเองคุณสมบัติเดน• เปนเครือขายผลิตภัณฑผาฝายซึ่งจะเปนองคกรที่เขมแข็งพึ่งตนเองได• เปนการพัฒนาชุมชนทองถิ่นแบบองครวมและบูรณาการผสมผสานตามทฤษฎีใหมและเศรษฐกิจพอเพียง• เกิดกระบวนการถายทอดเทคโนโลยีแบบผสมผสานภูมิปญญาพื้นบานสืบสานสูสากลตลาดเปาหมาย• ชุมชนพื้นที่เปาหมายแมขายประชาคมผาฝายใน 7 จังหวัด ไดแก อุบลราชธานี มุกดาหาร สกลนครขอนแกน ชัยภูมิ ลพบุรี และนครสวรรค• ชุมชนพื้นที่เปาหมายเครือขายผาฝายใน 7 จังหวัด ไดแก อำนาจเจริญ กาฬสินธุ อุดรธานี เลย เพชรบูรณสระบุรี และอุทัยธานีเจาของผลงาน• นายทรงจิต พูลลาภ และคณะโปรแกรมวิชาพัฒนาชุมชนมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครเลขที่ 3 หมูที่ 6 ถนนแจงวัฒนะแขวงอนุสาวรีย เขตบางเขนกรุงเทพฯ 10220โทรศัพท 02-552 6644ไดรับทุนอุดหนุนการวิจัย• ประจำป 2547 จากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)12 21-24 กันยายน 2549 สยามพารากอน กรุงเทพฯ


C4บูธภาพกระจกสี◦ ระดับงานวิจัย ◦ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦ จำหนายแลว“ภาพกระจกสี” หรือ สเตนกลาส (stained glass) คือ การสรางสรรคงานศิลปหัตถกรรมประเภทหนึ่งที่ใชกระจกสีเปนวัสดุหลักที่สำคัญในการสรางสรรคความงดงามตระการตาแหงคุณคาของผลงาน โดยการนำกระจกสีมาตัดใหเปนชิ้นๆ ตามขนาดและรูปทรงที่ตองการ ตอจากนั้นจึงยึดใหติดกันดวยตะกั่วบัดกรีหรือรางโลหะ ความงดงามอันแสดงถึงคุณคาของภาพกระจกสีที่หาศิลปะใดเสมอเหมือนไดยาก ก็คือความสัมพันธของพลังแสงสีของกระจกที่ปรากฏในองคประกอบของชิ้นงานนั้น ซึ่งแสดงใหเห็นไดอยางชัดเจนเมื่อมองจากบริเวณที่มืดและมีแสงสวางจากภายนอกสงกระทบกระจกสี แลวสะทอนพลังของแสงสีตางๆ ปรากฏใหเห็นความสวางสุกใส แวววาว ระยิบระยับ ประสานกันอยางงดงามตระการตาปจจุบัน ภาพกระจกสีมิไดปรากฏเพียงเพื่อประดับตกแตงอาคารโบสถวิหารในพระคริสตศาสนาเทานั้นแตยังปรากฏเปนผลิตภัณฑหลากหลายรูปแบบที่สามารถนำมาประยุกตใชในชีวิตประจำวัน ทั้งสิ่งของเครื่องใชที่อยูใกลตัว ตลอดจนการประดับตกแตงบานเรือนและอาคารสำนักงานเปนจำนวนมากคุณสมบัติเดน• การสรางมิติและลวดลายลงบนกระจกสี• การสรางสรรคลวดลายและสีสันตลาดเปาหมาย• ผูประกอบกิจการบานจัดสรร สถาปนิกและประชาชนทั่วไปเจาของผลงาน• นางจิรวรรณ จงสมบูรณสุข และ นายสมจิตต โสมวิเศษแผนกชางภาพกระจกสี ศูนยศิลปาชีพ บางไทรฯอำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13290โทรศัพท 035-366 252-4 ตอ 144 และ 035-366 888 โทรสาร 035-366 092ไดรับทุนอุดหนุนการวิจัย• ประจำป 2545 จากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)www.nia.or.th/innomart13


C5บูธผลิตภัณฑสุขภาพในธุรกิจสปา◦ ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ทดลองตลาด ◦ จำหนายแลวปจจุบัน ธุรกิจสปาในประเทศไทยไดรับการยอมรับและไดรับความนิยมเปนอยางสูง นับวาเปนอุตสาหกรรมที่มีสมรรถนะ สามารถแขงขันไดในระดับโลก ซึ่งขณะนี้กรมสงเสริมการสงออกไดจัดทำแผนเชิงรุกเพื่อผลักดันไทยใหเปนศูนยกลางธุรกิจสปาของเอเชีย อยางไรก็ตาม ผลิตภัณฑที่ถูกนำมาใชในกิจกรรมสปามักมีการผสมน้ำมันหอมระเหยซึ่งนำมาจากตางประเทศเปนสวนใหญ ดังนั้น งานวิจัยนี้จึงมุงศึกษาตลอดจนพัฒนาผลิตภัณฑเครื่องสำอางและผลิตภัณฑสุขภาพ เพื่อใหเกิดการยอมรับในผลิตภัณฑที่ผลิตภายในประเทศและสงเสริมการเปน “Spa Capital of Asia”คุณสมบัติเดน• ผลิตภัณฑเครื่องสำอางและผลิตภัณฑสุขภาพมีคุณสมบัติที่ดีและมีความปลอดภัยสูง ซึ่งจะเปนสิ่งที่ชี้ใหเห็นถึงความเชื่อถือไดสำหรับธุรกิจสปาในการใหสิ่งที่มีคุณคาแกผูมาใชบริการ• ไดนำเอาทรัพยากรทองถิ่นมาสรางเปนเอกลักษณเฉพาะดวยศาสตรและศิลปแบบไทยๆ ที่ยากแกการเลียนแบบโดยไมตองพึ่งการนำเขาทรัพยากรจากตางประเทศตลาดเปาหมาย• ผูประกอบการธุรกิจสปาเจาของผลงาน• รองศาสตราจารย ดร. เนติ วระนุชภาควิชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตรศูนยวิจัยเครื่องสำอางและผลิตภัณฑธรรมชาติมหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลกโทรศัพท 055-261 000 ตอ 1132 โทรสาร 055-261 057Email: netiw@nu.ac.thไดรับทุนอุดหนุนการวิจัยบูรณาการ• ประจำป 2547–2548 จากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)14 21-24 กันยายน 2549 สยามพารากอน กรุงเทพฯ


C6บูธเทคโนโลยีพลาสมาสำหรับไหมไทย◦ ระดับงานวิจัย ◦ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦ จำหนายแลวปจจุบัน ไดมีการนำเอาพลาสมาอุณหภูมิต่ำ (low temperature plasma, LTP) มาประยุกตใชในเทคโนโลยีหลายๆ ดาน สำหรับในสิ่งทอการปรับปรุงคุณภาพไหมไทยหรือสิ่งทอโดยใชพลาสมา คือ การนำไหมไทยหรือสิ่งทอชนิดตางๆ ไปอาบหรือจุมในพลาสมาซึ่งจะทำใหอนุภาคตางๆ ในพลาสมา สามารถเปลี่ยนแปลงสมบัติเชิงผิวของเสนใยสิ่งทอ เนื่องจากอนุภาคเหลานี้อาจจะไปแทรกอยูในระหวางโครงสรางโมเลกุลของเสนใยของสิ่งทอ หรืออาจจะไปกัดผิวทำใหอนุภาคหรือโมเลกุลของสิ่งสกปรกที่เกาะติดอยูตามเสนใยของสิ่งทอหลุดออกหรือบางครั้งอาจจะสรางพันธะทางเคมีใหมกับโมเลกุลที่เปนองคประกอบของเสนใยของสิ่งทอ จึงอาจสรุปขอดีของการนำพลาสมามาใชในงานปรับปรุงคุณภาพของไหมไทยหรือสิ่งทอชนิดอื่นๆ ได เพราะเปนเทคโนโลยีสะอาดและสามารถหลีกเลี่ยงการใชสารเคมี พลาสมาสามารถไปทำความสะอาดผิวสิ่งทอ สามารถไปเพิ่มความขรุขระเชิงจุลภาคใหกับผิวสิ่งทอ และสามารถทำใหเกิดอนุภาคอิสระบนผิวสิ่งทอคุณสมบัติเดน• ตนแบบเครื่องกำเนิดพลาสมาระดับความดันต่ำสำหรับอุตสาหกรรมสิ่งทอ• ระบบผลิตพลาสมาที่ระดับความดันต่ำและระดับความดันบรรยากาศ สำหรับกระบวนการอาบไหมไทยและสิ่งทอ• ปรับปรุงคุณภาพของเสนใยและสิ่งทอของไหมไทย โดยใชกระบวนการอาบพลาสมาใหมีคุณภาพดีขึ้นในดานการดูดซับน้ำไดยาก และการปนเปอนไดยากตลาดเปาหมาย• กลุมนักวิทยาศาสตร นักวิจัย ในสถาบันการศึกษาและสถาบันวิจัย• ผูประกอบการในโรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอ• บุคคลทั่วไปเจาของผลงาน• ดร. ประดุง สวนพุฒภาควิชาฟสิกส คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหมโทรศัพท 053-942 464-5 และ 053-943 379 โทรสาร 053-222 776Email: pradoong@fnrf.science.cmu.ac.thไดรับทุนอุดหนุนการวิจัยบูรณาการ• ประจำป 2547–2549 จากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)www.nia.or.th/innomart15


C7บูธเจลสเปรยและโลชั่นกันยุง ขมิ้นชัน◦ ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦จำหนายแลวปจจุบัน โรคผิวหนังอักเสบเปนหนอง (pyoderma) ในสุนัขยังคงเปนโรคที่พบบอยมากในประเทศไทย และตองมีการรักษาอยางตอเนื่อง ทำใหตองมีการนำเขายาปฏิชีวนะจากตางประเทศมากกวารอยละ 10 ของปริมาณการนำเขา ดังนั้น จึงไดมีการศึกษาพัฒนายาทาภายนอกสำหรับรักษาโรคผิวหนังอักเสบเปนหนองในสุนัขในรูปแบบของเจล “Khamin Gel” สำหรับทาลงบนผิวหนังบริเวณที่ติดเชื้อ ซึ่งเจลจะมีฤทธิ์ในการตานและฆาเชื้อแบคทีเรียไดเปนอยางดี รวมทั้งยังไดพัฒนาเปนสเปรย “Khamin Oil” สำหรับฉีดพนบนผิวหนังสุนัขเพื่อรักษาแผลติดเชื้อแบคทีเรียและเชื้อรา ทั้งนี้ ผลิตภัณฑทั้งสองชนิดไดผานการทดสอบความระคายเคืองตอผิวหนัง และพบวาไมกอใหเกิดความระคายเคืองแตอยางใด รวมทั้งไมพบการปนเปอนของเชื้อจุลินทรียในผลิตภัณฑคุณสมบัติเดน• สามารถรักษาโรคผิวหนังอักเสบเปนหนองในสุนัขและแมวไดอยางมีประสิทธิภาพ• สะดวกในการนำไปใชตลาดเปาหมาย• ผูประกอบการอุตสาหกรรมยาหรือผลิตภัณฑจากสมุนไพรสำหรับสัตวเลี้ยงในประเทศ• ปจจุบันมีการถายทอดเทคโนโลยีการผลิตผลิตภัณฑเจลและสเปรยขมิ้นชันใหกับ หางหุนสวนจำกัด พืชยาไทยอุตสาหกรรม และบริษัท อีโคเว็ท จำกัด ในเชิงพาณิชยเปนที่เรียบรอยแลวเจาของผลงาน• นางสาวชุลีรัตน บรรจงลิขิตกุลฝายเภสัชและผลิตภัณฑธรรมชาติสถาบันวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.)โทรศัพท 02-579 5515 โทรสาร 02-579 0718ไดรับทุนอุดหนุนการวิจัยบูรณาการ• ประจำป 2547–2548 จากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)16 21-24 กันยายน 2549 สยามพารากอน กรุงเทพฯ


C8บูธหุนยนตเก็บกูวัตถุระเบิด◦ ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ทดลองตลาด ◦ จำหนายแลวจากเหตุการณความไมสงบในสามจังหวัดชายแดนภาคใต ที่มีการวางระเบิดเกิดขึ้นเปนจำนวนมากจนเกือบเปนการวางระเบิดรายวัน ในการเก็บกูระเบิดจึงตองมีระบบที่มีความปลอดภัยสูง ควรใชหุนยนตกูระเบิดเพื่อความปลอดภัยของเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานและประชาชน รวมทั้งทรัพยสินของทั้งประชาชนและทางราชการดังนั้น จึงตองมีการวิจัยและพัฒนาตนแบบหุนยนตเพื่อใชเก็บวัตถุระเบิด โดยการควบคุมระยะไกล ทั้งในระบบมีสายและระบบไรสาย เพื่อพัฒนาตอยอดงานวิจัยหุนยนตสำหรับเก็บกูระเบิดในสามจังหวัดภาคใต ซึ่งผลจากการวิจัยครั้งนี้ประสบความสำเร็จในระดับหนึ ่ง โดยสามารถสรางหุนยนตตนแบบที่เหมาะสมควบคุมไดในระยะไกลคุณสมบัติเดน• พัฒนางานวิจัยหุนยนตเก็บกูระเบิด• เปนหุนยนตตนแบบที่เหมาะสมกับสภาพการใชงานจริง สามารถควบคุมไดในระยะไกล เพื่อความปลอดภัยของผูใชงาน• เปนตนแบบในงานวิจัยอื่นๆ เชน การสรางหุนยนตพนสารพิษ เปนตน• สรางอุปกรณเก็บตะปูเรือใบตลาดเปาหมาย• เจาหนาที่ที่ปฏิบัติการเก็บกูวัตถุระเบิด• กระทรวงกลาโหม• กระทรวงเกษตรและสหกรณ• สำนักงานตำรวจแหงชาติเจาของผลงาน• รองศาสตราจารย ดร. ณัฏฐกา หอมทรัพยภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรโทรศัพท 02-942 8555 ตอ 1509 โทรสาร 02-942 8555 ตอ 1509Email: fengnth@ku.ac.thไดรับทุนอุดหนุนการวิจัยบูรณาการ• ประจำป 2548 จากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)www.nia.or.th/innomart17


C9บูธการเพาะเลี้ยงหอยหวาน◦ ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦จำหนายแลว“หอยหวาน” สัตวน้ำเศรษฐกิจชนิดใหมที่มีอนาคตและลูทางการตลาดสดใส ทั้งตลาดภายในประเทศและตลาดตางประเทศ ดวยราคาจำหนายที่สูงบวกกับความตองการของผูบริโภคที่เพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่อง ทำใหการจับหอยหวานตามแหลงน้ำธรรมชาติมีอยูอยางไมหยุดยั้ง สงผลใหเกิดวิกฤติการณปริมาณหอยหวานลดลงหอยหวานที่อยูตามแหลงน้ำธรรมชาติไมเพียงพอตอการจำหนาย อีกทั้งหอยหวานที่จับไดมีขนาดเล็กคุณภาพต่ำ ราคาที่จำหนายไดจึงไมสูงเทาที่ควร การดำเนินการวิจัยและถายทอดเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงหอยหวานทั้งความรูทางวิชาการและดานเทคนิคใหมีประสิทธิภาพในวิธีการผลิตจะสามารถเพิ่มปริมาณและมูลคาของผลผลิต เพิ่มคุณภาพของผลผลิตและเพิ่มสมรรถนะประกอบการ และการผลิตหอยหวานจากการเพาะเลี้ยงใหสามารถแขงขันไดทั้งตลาดภายในประเทศและตางประเทศคุณสมบัติเดน• สามารถสนับสนุนและสงเสริมการพัฒนาอาชีพการเพาะเลี้ยงหอยหวานเชิงพาณิชยในลักษณะอาชีพใหมอาชีพเสริม หรือพัฒนาอาชีพเลี้ยงสัตวน้ำเค็ม• ยกระดับฐานะทางเศรษฐกิจของเกษตรกรชาวประมง นักเพาะเลี้ยงสัตวน้ำ การตลาดหอยหวาน และธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับการเลี้ยงหอยตลาดเปาหมาย• เกษตรกรชาวประมง นักเพาะเลี้ยงสัตวน้ำ และผูทำธุรกิจเกี่ยวกับฟารมเลี้ยงกุง• ประชาชนทั่วไปเจาของผลงาน• ดร. นิลนาจ ชัยธนาวิสุทธิ์ และคณะสถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ำจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยถนนพญาไท เขตปทุมวันกรุงเทพฯ 10330โทรศัพท 02-218 1603 โทรสาร 02-254 4259ไดรับทุนอุดหนุนการวิจัย• ประจำป 2548 จากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)18 21-24 กันยายน 2549 สยามพารากอน กรุงเทพฯ


C10บูธการเพาะเลี้ยงไขมุกน้ำจืด◦ ระดับงานวิจัย ◦ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦ จำหนายแลวประเทศไทยมีศักยภาพในการเพาะเลี้ยงไขมุกน้ำจืด เนื่องจากมีความเหมาะสมในหลายๆ ดาน ไมวาจะเปนแหลงน้ำ สภาพภูมิอากาศ และทรัพยากรหอยกาบน้ำจืด ซึ่งขณะนี้ พบวามีการนำหอยกาบน้ำจืดวงศAmblemidae มาเพาะเลี้ยงไขมุกน้ำจืดในประเทศไทย จำนวน 5 ชนิด ทั้งนี้ หอยในวงศดังกลาวมีหลายชนิดทั้งที่มีขนาดใหญมีความแวววาวเปนมุกและกระจายอยูทุกภาคของประเทศไทยในลุมน้ำตางๆ จึงมีการสำรวจหอยกาบน้ำจืดในแตละลุมน้ำ เพื่อคัดเลือกมาเพาะเลี้ยงไขมุกน้ำจืด เพื่อจะไดทราบชนิดของหอยที่มีความสามารถในการผลิตไขมุก พรอมทั้งวิเคราะหองคประกอบทางเคมีของเปลือกหอยและไขมุกน้ำจืดที่ไดจากการเพาะเลี้ยง เพื่อเปนแหลงขอมูลพื้นฐานทางการศึกษาชีววิทยา นิเวศวิทยาเพื่อพัฒนาสงเสริมการเพาะเลี้ยงขยายพันธุหอยกาบน้ำจืด ซึ่งจะเปนแนวทางในอุตสาหกรรมการผลิตยาและเครื่องสำอาง เพื่อสรางมูลคาเพิ่มและเกิดการสรางอาชีพ รวมทั้งการสงเสริมการทองเที่ยวเชิงเกษตรตอไปคุณสมบัติเดน• ทำใหทราบแหลงหอยกาบน้ำจืดที่จะนำมาเปนพอพันธุและแมพันธุ• ทำใหทราบวิธีการเลี้ยงและสภาพแวดลอมที่เหมาะสมของหอยกาบน้ำจืด เพื่อนำไปพัฒนาเลี้ยงในเชิงพาณิชย• ทำใหทราบชนิดของหอยที่มีความเหมาะสมตอการเพาะเลี้ยงไขมุก• ทำใหทราบองคประกอบสำคัญของเปลือกหอยและไขมุกเพื่อนำไปพัฒนาในอุตสาหกรรมยา และเครื่องสำอางตลาดเปาหมาย• กลุมเกษตรกร นักเพาะเลี้ยงสัตวน้ำ เกษตรกรชาวประมงพื้นบาน และประชาชนทั่วไป• บริษัท / กลุมธุรกิจเอกชน / วิสาหกิจชุมชน เพื่อพัฒนากิจการเกี่ยวเนื่องตางๆเจาของผลงาน• รองศาสตราจารย อุทัยวรรณ โกวิทวทีภาควิชาสัตววิทยา คณะวิทยาศาสตรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรถนนพหลโยธิน ลาดยาว จตุจักร กรุงเทพฯ 10900โทรศัพท 02-579 1022 ตอ 110 โทรสาร 02-942 8695ไดรับทุนอุดหนุนการวิจัย• ประจำป 2545-2548 จากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)www.nia.or.th/innomart19


C11บูธการทำฟารมเลี้ยงหอยเปาฮื้อ◦ ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦จำหนายแลวหอยเปาฮื้อจัดเปนหอยทะเลฝาเดียวที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ เนื่องจากมีความตองการทางตลาดสูงและมีราคาคอนขางแพง ผลผลิตเกือบทั้งหมดไดมาจากการจับจากธรรมชาติชวงระยะเวลาที่ผานมาหอยเปาฮื้อโดยรวมของโลกมีแนวโนมที่ลดลง ทำใหแนวคิดในการผลิตหอยเปาฮื้อจากการเพาะเลี้ยงเปนแนวคิดหนึ่งที่ไดรับความสนใจ ประเทศไทยมีทรัพยากรหอยเปาฮื้อที่มีศักยภาพแตยังขาดระบบการเลี้ยงที่เหมาะสมกับสภาพของประเทศไทย จึงมีการคิดคนระบบการเลี้ยงหอยเปาฮื้อที่เหมาะสมกับการเลี้ยงหอยเปาฮื้อเขตรอนในประเทศไทยขึ้นคุณสมบัติเดน• ลดตนทุนในการนำเขาหอยเปาฮื้อจากตางประเทศ• สามารถใชระบบนี้ไดกับหลายสภาพพื้นที่หรือตอยอดไดเกือบทุกสวนของระบบการเลี้ยง• สามารถใชอาหารไดทั้งอาหารธรรมชาติและอาหารเม็ดสำเร็จรูป• เปนระบบการเลี้ยงที่เกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและพื้นที่โดยรอบนอยมาก• ไมมีการใชยาปฏิชีวนะหรือสารเคมีใดๆ ในระบบตลาดเปาหมาย• กลุมเกษตรกรนักเพาะเลี้ยงสัตวน้ำ เกษตรกรชาวประมงพื้นบานและประชาชนทั่วไป• บริษัท / กลุมธุรกิจเอกชน / วิสาหกิจชุมชนเพื่อพัฒนากิจการเกี่ยวเนื่องตางๆเจาของผลงาน• รองศาสตราจารย ดร. เผดิมศักดิ์ จารยะพันธุสถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ำจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330โทรศัพท 02-218 8179 โทรสาร 02-218 8179โทรศัพทมือถือ 084-643 3030ไดรับรางวัลผลงานประดิษฐคิดคน• สาขาเกษตรศาสตรและชีววิทยา จากสภาวิจัยแหงชาติ ประจำป 254920 21-24 กันยายน 2549 สยามพารากอน กรุงเทพฯ


C12บูธชุดตรวจสอบชนิดยาในอาหารสัตว◦ ระดับงานวิจัย ◦ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦ จำหนายแลวการใชยาผสมในอาหารสัตวเปนที่นิยมและใชกันอยูมาก ซึ่งยาเหลานี้เมื่อใหสัตวกินติดตอกันเปนระยะเวลานานจะทำใหเกิดปญหาเชื้อโรคดื้อยา เกิดการแพยา มีสารตกคางในเนื้อสัตว จึงจำเปนตองมีการควบคุมดูแลการใชยาในอาหารสัตวใหถูกตองและเหมาะสม จึงเกิดโครงการพัฒนาชุดตรวจสอบชนิดยาในอาหารสัตวและยาสัตว: Tetra Testing Kit ซึ่งเปนชุดตรวจสอบสำเร็จรูปที่สามารถนำไปใชตรวจสอบในพื้นที่ งายและสะดวกตอการใชงาน รูผลเร็ว และมีราคาถูก โดยชุดตรวจสอบนี้สามารถใชงานไดอยางแพรหลายแตยังไมมีขอมูลในเรื่องของประสิทธิภาพและปญหาตางๆ ที่เกิดจากการใชจากผูนำไปใชจริง จึงตองทำการประเมินผลการใชเพื่อจะไดนำขอมูลไปพัฒนาชุดตรวจสอบใหมีประสิทธิภาพและสอดคลองกับสภาพการใชงานมากยิ่งขึ้นคุณสมบัติเดน• งายและสะดวกตอการใชงาน รูผลเร็ว และมีราคาถูกตลาดเปาหมาย• สถานพยาบาลสัตวแพทย• ฟารมปศุสัตวตางๆเจาของผลงาน• นางสาวแพรวพรรณ หองทองแดง และคณะสำนักตรวจสอบสินคาปศุสัตวกรมปศุสัตว กระทรวงเกษตรและสหกรณถนนติวานนท ตำบลบางกะดี่ อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000โทรศัพท 02-967 9700 ตอ 2104, 2105 โทรสาร 02-967 9743ไดรับรางวัลสภาวิจัยแหงชาติ• สาขาเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตร ประจำป 2547www.nia.or.th/innomart21


C13บูธไมพญาสัตบรรณ◦ ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦จำหนายแลวไมพญาสัตบรรณหรือไมตีนเปด (Alstonia scholaris R.Br.) เปนไมโตเร็วชนิดหนึ่ง ซึ่งมีศักยภาพและมีคุณคาแกการสงเสริมใหมีการใชประโยชน สามารถพบไดทุกภาคของประเทศไทย เนื้อไมไมมีแกน มีสีขาวอมเหลือง น้ำหนักเบา เหมาะตอการใชประโยชนเปนผลิตภัณฑไมไดหลายชนิด มีคุณสมบัติทางกายภาพคลายคลึงกับไม Incense Cedar (Libocedrus decurrens Torr.) ของสหรัฐอเมริกาที่นำไปใชทำดินสอดำคุณสมบัติเดน• เนื้อไมไมมีแกน• น้ำหนักเบา• ทนตอการทำลายของแมลงและเชื้อราตางๆตลาดเปาหมาย• กลุมบานจัดสรร• กลุมโรงงานอุตสาหกรรมเจาของผลงาน• นายวรธรรม อุนจิตติชัยงานอุตสาหกรรมวัสดุทดแทนไมและปองกันรักษาเนื้อไมสำนักวิจัยการจัดการปาไมและผลผลิตปาไมกรมปาไม ถนนพหลโยธินเขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900โทรศัพท 02-561 4292-3 ตอ 471 หรือ 081-331 3557โทรสาร 02-940 6385ไดรับทุนอุดหนุนทั่วไป• ประจำป 2544 สาขาเกษตรและอุตสาหกรรม จากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)22 21-24 กันยายน 2549 สยามพารากอน กรุงเทพฯ


C14บูธกลวยไขพันธุเกษตรศาสตร 2◦ ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦จำหนายแลว“กลวยไข” นับเปนผลไมไทยที่อยูในความสนใจและเปนที่ตองการของตลาดทั้งในประเทศและตลาดตางประเทศ แตกลวยไขที่ปลูกในไทยปจจุบันนี้มีเพียงสายพันธุเดียวเทานั้น คือ “กลวยไขกำแพงเพชร”ซึ่งกลวยไขพันธุนี้มีลักษณะผลอวนปอม การจัดเรียงหวีไมเปนระเบียบ ซึ่งไมเหมาะในการสงออกยังตลาดตางประเทศ การวิจัยเพื่อหากลวยไขพันธุใหมที่มีลักษณะเหมาะสมในการสงออกจึงเปนวิธีการหนึ่งที่จะแกปญหานี้ การทดลองดวยการฉายรังสีทำใหไดกลวยไขพันธุใหม คือ “กลวยไขพันธุเกษตรศาสตร 2” ซึ่งมีคุณสมบัติเหมาะสมในการสงออก บุกเบิกเสนทางสายใหมใหอนาคตของกลวยไขไทยสดใสในตลาดสินคาเกษตรโลกคุณสมบัติเดน• กลวยไขพันธุเกษตรศาสตร 2 ที่วิจัยไดมีลักษณะดี แตกตางจากกลวยไขกำแพงเพชร คือ กานของผลยาวผลสั้นลงเล็กนอย การจัดเรียงหวีเปนระเบียบ เปลือกหนา ซอนทับกันไดดี สามารถลดตนทุนในการผลิตเหมาะสมในการสงออกและการบรรจุกลองตลาดเปาหมาย• กลุมผูบริโภคทั้งภายในประเทศและตางประเทศ• เกษตรกรผูปลูกกลวยไขเจาของผลงาน• ศาสตราจารยเบญจมาศ ศิลายอย และคณะภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรแขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพ 10900โทรศัพท 02-579 0300 และ 02-561 4091ไดรับทุนสนับสนุนการวิจัยบูรณาการ• ประจำป 2547 (ตอเนื่อง) ป 2548 จากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) ในโครงการวิจัยเรื่อง“การสรางกระบวนการผลิตที่เปนหลักประกันคุณภาพและปริมาณของอุปทานผลไมประเภทที่ไดรับการคัดเลือกจากโครงการ Branding Project - Thai Produce and Grains: กรณีกลวยไข” นอกจากนี้นักวิจัยเจาของผลงานยังไดรับ รางวัลนักวิจัยดีเดนแหงชาติ สาขาเกษตรศาสตรและชีววิทยา จากสภาวิจัยแหงชาติ ประจำป 2548www.nia.or.th/innomart23


C15บูธฐานขอมูลสาขาเกษตรศาสตรฯ◦ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦ จำหนายแลวการจัดทำฐานขอมูลใหอยูในรูปแบบที่สามารถสืบคนไดสะดวก รวดเร็วทาง internet หรือ การจัดทำwebsite เพื่อเผยแพรผลงานวิจัยไดรวดเร็วขึ้น รวมทั้งเปนแหลงสำคัญในการสืบคนผลงานทางวิชาการ ขอมูลขาวสาร ความเคลื่อนไหวตางๆ ดานเกษตรศาสตรและชีววิทยา ตลอดจนเปนสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรูประสบการณ ระหวางนักวิจัย ผูเชี่ยวชาญ เกษตรกร และบุคคลทั่วไปคุณสมบัติเดน• เปนฐานขอมูล (website) ที่ทันสมัย หลากหลาย• เปนศูนยความรูทางวิชาการดานเกษตรศาสตรและชีววิทยา• เปนสื่อกลางเชื่อมโยงการแลกเปลี่ยนความรูประสบการณดานเกษตรและชีววิทยาในการแกไขปญหาและพัฒนาประเทศตลาดเปาหมาย• ผูเชี่ยวชาญ• นักวิจัย• เกษตรกร• บุคคลทั่วไปเจาของผลงาน• รองศาสตราจารย ดร. กลาณรงค ศรีรอตสถาบันคนควาและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร50 ถนนพหลโยธิน เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900โทรศัพท 02-940 5634 โทรสาร 02-562 0338ไดรับทุนอุดหนุนการวิจัย• ประจำป 2548-2549 สาขาเกษตรศาสตรและชีววิทยา จากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)24 21-24 กันยายน 2549 สยามพารากอน กรุงเทพฯ


C16บูธฐานขอมูลคนตางดาวในไทย◦ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦ จำหนายแลวนโยบายผอนผันการใชแรงงานขามชาติผิดกฎหมายในชวง 10 ปที่ผานมา เนนหนักการจัดการไปที่ผูลักลอบเขาเมืองมาทำงานจาก 3 ประเทศเพื่อนบาน คือ พมา ลาว และกัมพูชา สงผลใหมีรายงานและเอกสารจำนวนมากที่ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับปญหาที่เกิดจากแรงงานขามชาติในประเทศไทย โดยเฉพาะการศึกษาเกี่ยวกับแรงงานที่มาจากประเทศพมามีมากที่สุด ขณะที่รายงานการศึกษาที่เกี่ยวกับประเทศกัมพูชาและลาวมีนอย และมักเนนวัตถุประสงคไปที่การศึกษาแรงงานเด็กและการคามนุษย ดังนั้น การศึกษาจำนวนแรงงานที่ลักลอบเขามาจากประเทศเพื่อนบาน 3 ประเทศ เปนประเด็นที่สมควรทำวิจัยกอนประเด็นอื่นๆ เนื่องจากการพัฒนาและปรับปรุงฐานขอมูลที่เกี่ยวกับจำนวนแรงงานขามชาติใหสามารถใชเปนฐานขอมูลการคาดประมาณจำนวนแรงงานจาก 3 ประเทศไดใกลเคียงความจริงยิ่งขึ้น จะชวยใหสังคมไทยมองเห็นขนาดของปญหาที่ตองเผชิญ และภาคราชการและเอกชนสามารถวางแผนในการจัดการปญหานี้ใหสอดคลองกับสถานการณจริงมากที่สุดเปาหมายของโครงการวิจัย• การนำขอมูลทั้งหมดที่มีมาเชื่อมโยงใหเห็นภาพความแตกตางและความซ้ำซอนของการจัดเก็บ และสรางกระบวนการทำงานเชิงประสานงาน ตั้งแตการสรางคำจำกัดความของความหลากหลายของผูยายถิ่นผิดกฎหมายรวมกัน และหาแนวทางในการจัดเก็บขอมูล หรือแลกเปลี่ยนตรวจสอบขอมูลซึ่งกันและกัน เพื่อสรางความเขาใจบื้องตนในเชิงจำนวน องคประกอบทางประชากร และการกระจายตัวของประชากรกลุมนี้วัตถุประสงค• พัฒนาและปรับปรุงฐานขอมูลแรงงานตางชาติที่ผิดกฎหมายใหอยูในระบบเดียวกัน• ออกแบบการประสานฐานขอมูลระหวางหนวยงาน ใหสามารถเรียกใชรวมกันระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของผานทางคอมพิวเตอรไดทั่วประเทศเจาของผลงาน• รองศาสตราจารย ดร.กฤตยา อาชวนิจกุลสถาบันวิจัยประชากรและสังคมมหาวิทยาลัยมหิดล ถนนพุทธมณฑล 4ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170โทรศัพท 02-441 0201-4 ตอ 218 โทรสาร 02-441 9333ไดรับทุนอุดหนุนการวิจัย• ประจำป 2545 สาขาสังคมวิทยา จากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)www.nia.or.th/innomart25


บูธC17-18ศูนยควบคุมแมลงศัตรูพืชโดยชีววิธี◦ ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦ จำหนายแลวการควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี เปนวิธีการนำศัตรูธรรมชาติซึ่งเปนสิ่งมีชีวิตมาควบคุมสิ่งมีชีวิต เพื่อทดแทนการใชสารเคมีควบคุมศัตรูพืช ซึ่งทำใหเกิดอันตรายตอมนุษย สัตว และเปนสาเหตุสำคัญที่ทำใหสภาพแวดลอมเปนพิษ เทคโนโลยีสามารถปรับใชรวมกับวิธีการควบคุมอื่นๆ ที่ผูปฏิบัติใชอยู เชน การควบคุมโดยวิธีกลการควบคุมโดยวิธีกายภาพ เพื่อใหไดผลผลิตที่ปลอดภัยไรสารพิษตกคาง และสามารถแขงขันทางการคาไดปจจุบันไดถายทอดเทคโนโลยีดังกลาวสูกลุมเปาหมาย และประสบผลสำเร็จในการควบคุมในภาคสนามนวัตกรรมที่นำเสนอในครั้งนี้ ไดแก1. การใชมวนตัวห้ำอีแคนทีโคนา ควบคุมหนอนศัตรูพืช2. การใชแตนเบียนโคทีเซีย ฟลาวิเปส ควบคุมหนอนเจาะลำตนและยอดออย3. เชื้อราเขียว เมธาไรเซียม แอนิโซฟลิอิ ควบคุมดวงหนวดยาวออยคุณสมบัติเดน• เปนทางเลือกหนึ่งเพื่อการทดแทนการใชสารเคมีในการควบคุมแมลงศัตรูพืช• เปนเทคโนโลยีที่สามารถนำไปปรับใชรวมกับวิธีการอื่นๆ เพื่อการผลิตพืชปลอดภัยเพื่อเพิ่มมูลคาและการแขงขัน• เปนเทคโนโลยีที่ไมมีผลตกคางในผลผลิต สภาพแวดลอม และสามารถสรางสมดุลธรรมชาติใหกลับมาเหมือนเดิมตลาดเปาหมาย• กลุมนักวิชาการเกษตรในภาครัฐ ภาคเอกชน• กลุมอาจารยในสถาบันการศึกษา• กลุมผูผลิตพืชปลอดสารพิษ/พืชอินทรีย รวมถึงผูผลิตพืชสงออก• เกษตรกรเจาของผลงาน• ศูนยวิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรียแหงชาติภารกิจสรางเศรษฐกิจและสันติสุขสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)โทรศัพท 02-942 8252-3 โทรสาร 02-942 8252-326 21-24 กันยายน 2549 สยามพารากอน กรุงเทพฯ


บูธC19-20โรงงานตนแบบเอทานอลจากมันเสน◦ ระดับงานวิจัย ◦ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦ จำหนายแลวสถานการณปญหาน้ำมันแพง สงผลใหพลังงานทางเลือกจากวัตถุดิบทางการเกษตรโดยเฉพาะมีการนำแก็สโซฮอลลมาใชทดแทนน้ำมันอยางเปนรูปธรรม ซึ่งประชาชนใหการยอมรับ และรัฐบาลมีนโยบายกำหนดใหใชเอทานอลเพื่อทดแทนสาร MTBE อยางไรก็ตาม อุตสาหกรรมการผลิตเอทานอล ยังประสบปญหาดานตนทุนการผลิตสูง ผูประกอบการขาดประสบการณการผลิตเอทานอลจากวัตถุดิบอื่นๆ ในระดับอุตสาหกรรมโดยเฉพาะมันสำปะหลังซึ่งเปนวัตถุดิบที่มีเหมาะสมสำหรับการผลิตเอทานอลคุณสมบัติเดน• โรงงานนำรองแหงแรกที่ผลิตเอทานอลจากมันสำปะหลัง โดยใชเทคโนโลยีการผลิตของคนไทย กำลังการผลิต4,000 ลิตร/วัน ซึ่งขณะนี้งานวิจัยไดแลวเสร็จพรอมถายทอดเทคโนโลยีสูผูประกอบการ ผลจากการวิจัยสามารถแกไขปญหาตางๆ ดังนี้• สามารถพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเอทานอลจากมันเสน มันสำปะหลัง และกากมันในระดับอุตสาหกรรมไดสำเร็จ นับเปนอีกทางเลือกหนึ่งในการเลือกใชวัตถุดิบอื่นนอกจากโมลาส สามารถผลิตเอทานอลไดตลอดทั้งป• พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเอทานอลในระดับอุตสาหกรรม ใหมีการใชพลังงานนอยลง ลดระยะเวลาในการหมักและยอยใหอยูในขั้นตอนเดียวไดสำเร็จ และดำเนินการยื่นขอรับสิทธิบัตรแลวตลาดเปาหมาย• กลุมผูประกอบการโรงงานอุตสาหกรรมตางๆ เชน โรงงานผลิตเอทานอล โรงงานน้ำตาล• กลุมนักวิทยาศาสตร นักวิจัย ในสถาบันการศึกษา สถาบันวิจัยเจาของผลงาน• รองศาสตราจารย กลาณรงค ศรีรอตสถาบันคนควาและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรโทรศัพท 02-940 5634 โทรสาร 02-940 5634Email: aapkrs@ku.ac.thไดรับทุนอุดหนุนการวิจัยบูรณาการ• ประจำป 2545–2548 จากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)www.nia.or.th/innomart27


C21บูธเครื่องไกวเปลอัตโนมัติ◦ ระดับงานวิจัย ◦ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦ จำหนายแลวเครื่องไกวเปลอัตโนมัติ เปนอุปกรณประหยัดพลังงานที่มีขนาดเทาเปลเด็กสำเร็จรูปทั่วไปทำงานโดยใชมอเตอรปดน้ำฝนรถยนต 12 โวลท ดันกานคันชัก จานหมุนขอเหวี่ยง สามารถปรับความเร็วในการแกวงได2 ระดับ มีเสียงดนตรีหรือจะเลือกใชเสียงเพลงจาก CD-ROM ได และมีลูกแกวสีตางๆ กลิ้งไปมาเพื่อเปนการพัฒนากลามเนื้อสายตาเด็ก เมื่อเด็กลุกขึ้นยืนเกาะขอบเปลจะมีวงจรอิเล็กทรอนิกสตรวจจับการเคลื่อนไหวดวยลำแสงอินฟราเรดควบคุมใหเปลหยุดไกวอัตโนมัติและล็อคเปลปองกันไมใหเด็กตกจากเปล และมีเสียงเตือนเมื่อเปลหยุดไกว สามารถใชไดทั้งไฟบานหรือไฟจากแบตเตอรี่ 12 โวลท 5 แอมแปรคุณสมบัติเดน• เปนอุปกรณประหยัดพลังงาน มีขนาดเทาเปลเด็กทั่วไป• มีลำแสงอินฟราเรดควบคุมการหยุดและการไกวของเปล• มีล็อคเปลปองกันเด็กตก และมีเสียงเตือนเมื่อเปลหยุด และมีการแกวง 2 ระดับตลาดเปาหมาย• กลุมครอบครัว• สถานรับเลี้ยงเด็กเจาของผลงาน• นางสาวปยาภรณ อยูสุข นางสาวนารีรัตน ทับทิมศรีและนายพีระพัฒน มุยทุน• นายสำราญ ศรเลี่ยมทอง อาจารยที่ปรึกษาโทรศัพท 055-786 527 โทรศัพทมือถือ 089-859 4654นางสาวชาตินี ศิริพงษไทย อาจารยที่ปรึกษา โรงเรียนคลองลานวิทยาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากำแพงเพชร เขต 2 อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชรไดรับรางวัลผลงานประดิษฐคิดคน• รางวัลชนะเลิศ ในระดับมัธยมศึกษา ประเภทอุปกรณอำนวยความสะดวกภายในบานพักอาศัยจากโครงการ “คายนักประดิษฐรุนใหม” สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)ในงาน “วันนักประดิษฐ” ประจำป 2549• รางวัลเหรียญทอง จากงาน International Students’ Invention Exhibition 2006(ISIE 2006) ที่กรุงโซล ประเทศเกาหลีใต28 21-24 กันยายน 2549 สยามพารากอน กรุงเทพฯ


C22บูธ เครื่องขูดมะละกอ◦ ระดับงานวิจัย ◦ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦ จำหนายแลวตัวเครื่องประกอบดวยมอเตอร 3 ตัว ตัวที่หนึ่งสำหรับหมุนมะละกอขณะขูด ตัวที่สองเปนใบมีดสำหรับขูดตัวที่สามทำหนาที่หมุนถาดที่ใสมะละกอที่ขูดแลว สามารถขูดมะละกอได 400 กรัม ในเวลา 3 นาที โดยรักษารูปทรงของเสนมะละกอไดตามความตองการของตลาดคุณสมบัติเดน• ชวยประหยัดเวลาและแรงงานในการสับมะละกอ• เพิ่มปริมาณการผลิต เพราะสามารถขูดมะละกอไดอยางรวดเร็ว• สรางรายไดแกปญหาความยากจนตลาดเปาหมาย• กลุมผูประกอบการรานอาหารประเภทสมตำ• ผูประกอบการอาหารกระปองเจาของผลงาน• นายภุมรินทร ปนประดับ นายบุญมี แกวไพจิตรนายวรวุฒิ ผดุงเวช นายตะวัน มั่นเมือง และนายทศพร ละมายพันธุ• นายพอ เย็นมนัส อาจารยที่ปรึกษาโทรศัพท 035-611 656 โทรศัพทมือถือ 089-820 6081นางสาววัชรีภรณ แพรหลายวิทยาลัยเทคนิคอางทอง2 ถนนเทศบาล 10 ตำบลตลาดหลวงอำเภอเมือง จังหวัดอางทอง 14000ไดรับรางวัลผลงานประดิษฐคิดคน• รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ในระดับอาชีวะศึกษาและอุดมศึกษา ประเภทกำหนดโจทยจากโครงการ “คายนักประดิษฐรุนใหม” สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)ในงาน “วันนักประดิษฐ” ประจำป 2549• รางวัลเหรียญทอง จากงาน International Students’ Invention Exhibition 2006(ISIE 2006) ที่กรุงโซล ประเทศเกาหลีใตwww.nia.or.th/innomart29


C23บูธหมึกพิมพอิงคเจ็ทมหัศจรรย◦ ระดับงานวิจัย ◦ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦ จำหนายแลวปจจุบันคอมพิวเตอรมีบทบาทสำคัญตอชีวิตประจำวัน ทั้งดานการสื่อสาร การทำธุรกิจ ตลอดจนการเรียนการสอน และการนำเสนองานตางๆ เครื่องพริ้นเตอร (ink jet printer) นับเปนอุปกรณสำคัญที่ใชรวมกับคอมพิวเตอรแตหมึกพิมพอิงคเจ็ทที่ใชกับเครื่องพริ้นเตอรในปจจุบันมีราคาแพง จึงเปนที่มาของแนวคิดในการผลิตหมึกพิมพอิงคเจ็ทที่มีราคาถูกและมีประสิทธิภาพทัดเทียมกับหมึกพิมพอิงคเจ็ทที่ขายตามทองตลาดทั่วไปคุณสมบัติเดน• เปนหมึกพิมพอิงคเจ็ทที่ใชกับพริ้นเตอรชนิดหัวพน มี 4 สี คือชมพู เหลือง ดำ และน้ำเงิน• มีประสิทธิภาพทัดเทียมกับหมึกพิมพที่มีขายทั่วไป สามารถพิมพลงบนกระดาษชนิดตางๆ ได ใหสีสดใสสวยงาม ทนตอสภาพแวดลอม และสามารถเก็บไวไดนานโดยไมเปลี่ยนแปลงสภาพ• เปนหมึกพิมพที่ไมมีตะกอนจึงไมมีผลกระทบตอหัวพิมพ และมีราคาประหยัดกวาทองตลาดประมาณ 10 เทาตลาดเปาหมาย• กลุมนักเรียน นักศึกษา และสถาบันการศึกษาตางๆ• กลุมองคกรธุรกิจทั้งภาครัฐ และภาคเอกชนเจาของผลงาน• นางสาวศศิธร สงมาก นางสาวนรีภรณ โลหะเวช และนายเกรียงไกร บุญยืน• นางสาวประไพศรี แดงเนียม อาจารยที่ปรึกษาโทรศัพท 02-708 7269 โทรศัพทมือถือ 089-660 9181นางอำภา บัวศรี อาจารยที่ปรึกษานางพวงทอง ศรีศฤงคาร อาจารยที่ปรึกษาโรงเรียนบางบอวิทยาคม อำเภอบางบอจังหวัดสมุทรปราการ 10560ไดรับรางวัลผลงานประดิษฐคิดคน• รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 3 ในระดับมัธยมศึกษาประเภทอุปกรณอำนวยความสะดวกภายในบานพักอาศัย จากโครงการ “คายนักประดิษฐรุนใหม”สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) ในงาน “วันนักประดิษฐ” ประจำป 2549• รางวัลเหรียญทอง จากงาน International Students’ Invention Exhibition 2006(ISIE 2006) ที่กรุงโซล ประเทศเกาหลีใต30 21-24 กันยายน 2549 สยามพารากอน กรุงเทพฯ


C24บูธอุปกรณมวนขนมทองมวน◦ ระดับงานวิจัย ◦ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦ จำหนายแลวการทำขนมทองมวน มีความจำเปนที่จะตองมวนใหขนมมีลักษณะกลมทรงกระบอก ซึ่งการมวนดังกลาวผูทำจะตองใชทอเหล็กหรือไมกลมทรงกระบอกเพื่อทำการมวนโดยใชมือชวยในการมวน ซึ่งมักเกิดอันตรายแกผูทำขนมจากความรอนที่มีอยูในแผนเหล็กแมพิมพ จึงไดคิดทำอุปกรณมวนขนมทองมวนขึ้น เพื่อปองกันอันตรายที่เกิดจากความรอน โดยใชทอสแตนเลส ทำเปนลูกกลิ้งมวนขนมคุณสมบัติเดน• ชวยลดการเกิดอุบัติเหตุความรอนจากแมพิมพขนม• สามารถผลิตขนมไดรวดเร็ว• เปนประโยชนในการพัฒนาเพื่อการจำหนายตลาดเปาหมาย• ผูประกอบการขนมทองมวนเจาของผลงาน• น.ส. กรรณิการ วงษพลัด นายวิทู ณ ระนอง น.ส. วรรณา ขาวเล็กนายพรศักดิ์ กี่บุตร และนายเอกลักษณ เพ็ชรออน• นายนิกร วรภักดิ์ อาจารยที่ปรึกษาโทรศัพท 075-611 796 โทรศัพทมือถือ 081-477 7906วิทยาลัยเทคนิคกระบี่ อำเภอเมืองจังหวัดกระบี่ 81000ไดรับรางวัลผลงานประดิษฐคิดคน• รางวัลชนะเลิศ ในระดับอาชีวะและอุดมศึกษา ประเภท อุปกรณอำนวยความสะดวกภายในบานพักอาศัย จากโครงการ “คายนักประดิษฐรุนใหม” สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)ในงาน “วันนักประดิษฐ” ประจำป 2549• รางวัลเหรียญเงิน จากงาน International Students’ Invention Exhibition 2006(ISIE 2006) ที่กรุงโซล ประเทศเกาหลีใต• รางวัลพิเศษ หรือ Special Award จาก International Federation of Invention Association–IFIAwww.nia.or.th/innomart31


C25บูธเครื่องแยกไขจากเศษไม◦ ระดับงานวิจัย ◦ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦ จำหนายแลวเปนการประดิษฐเครื่องแยกไขแดง - ไขขาว จากเศษไม ซึ่งเปนวัสดุเหลือใชภายในครัวเรือน มีตนทุนต่ำใชงานไดจริง ประหยัดเวลา มีประสิทธิภาพ และถูกสุขอนามัย ดีกวาการใชมือแยก โดยเครื่องมือจะมีลักษณะเปนรางไมที่เวนเปนรอง เมื่อตอกไขใหไหลไปตามราง ไขขาวจะไหลลงรอง สวนไขแดงจะไหลลงไปตามรางซึ่งมีภาชนะรองรับอยูทั้งไขขาวและไขแดงคุณสมบัติเดน• เปนการใชประโยชนจากเศษวัสดุเหลือใช ทำใหมีตนทุนในการผลิตนอย• สามารถนำไปใชงานไดจริง เร็ว และชวยประหยัดเวลาไดมากกวาการแยกดวยมือ• สะอาด ปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ และสะดวกตอการใชงานตลาดเปาหมาย• ธุรกิจเกี่ยวกับกิจการขนมไทย และเบเกอรี• รานอาหารทั่วไป• กลุมแมคา พอคาเจาของผลงาน• เด็กชายณัฐวรรษ จันทรผกา เด็กชายนที อินปลีเด็กชายอมรเทพ จั่นจีน และเด็กชายกิตติคุณ บุณยมณี• นางสาวนิโลตบล ศรีสุโข อาจารยที่ปรึกษาโรงเรียนสุโขทัยวิทยาคมอำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัยโทรศัพท 055-611 786 โทรศัพทมือถือ 089-643 1885ไดรับรางวัลผลงานประดิษฐคิดคน• รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 1 ในระดับมัธยมศึกษา ประเภทอุปกรณอำนวยความสะดวกภายในบานพักอาศัย จากโครงการ “คายนักประดิษฐรุนใหม” สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)ในงาน “วันนักประดิษฐ” ประจำป 2549• รางวัลเหรียญเงิน จากงาน International Students’ Invention Exhibition 2006(ISIE 2006) ที่กรุงโซล ประเทศเกาหลีใต32 21-24 กันยายน 2549 สยามพารากอน กรุงเทพฯ


C26บูธ เตาเสียบกันไฟรั่วและกันน้ำ◦ ระดับงานวิจัย ◦ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦ จำหนายแลวจากอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นจากกระแสไฟฟารั่วของอุปกรณไฟฟาภายในบาน (เตาเสียบ) เชน กรณีไฟฟาช็อตเด็ก เมื่อเด็กใชอุปกรณไฟฟาเสียบเตาเสียบ ซึ่งเปนอันตรายที่เกิดขึ้นบอยครั้ง จึงไดคิดวิธีปองกันอันตรายจากปญหาดังกลาวโดยการประดิษฐเตาเสียบปองกันไฟฟารั่ว--01 และเตาเสียบปองกันน้ำ--02 ซึ่งสามารถปองกันไฟฟาช็อตและปองกันน้ำเขาอันเปนเหตุใหเกิดการลัดวงจรของกระแสไฟฟาที่เปนอันตรายตอชีวิตของผูอยูอาศัยภายในบานคุณสมบัติเดน• สามารถปดกั้นกระแสไฟฟากอนเขาถึงแผนทองแดง (สื่อไฟฟา) หรือภายในเตาเสียบ• มีซีลยาง สวิตซปองกันน้ำและปลั๊กเสียบสูญญากาศเพื่อไมใหน้ำไหลผานเตาเสียบอันเปนสาเหตุใหเกิดการลัดวงจรของกระแสไฟฟาตลาดเปาหมาย• กลุมสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลและโรงเรียนทุกแหง• กลุมประชาชนหรือบุคคลทั่วไปเจาของผลงาน• นายธวัชชัย ไรดีโทรศัพทมือถือ 087-090 7043• นายยุติ พลเรือง อาจารยที่ปรึกษาสถาบันชัยภูมิบริหารธุรกิจ ถนนชัยประสิทธิตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ 36000โทรศัพทมือถือ 081-185 1303ไดรับรางวัลผลงานประดิษฐคิดคน• รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 1 ในระดับอาชีวะและอุดมศึกษา ประเภทอุปกรณอำนวยความสะดวกภายในบานพักอาศัยจากโครงการ “คายนักประดิษฐรุนใหม” สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ(วช.) ในงาน “วันนักประดิษฐ “ประจำป 2549• รางวัลเหรียญเงิน จากงาน International Students’ Invention Exhibition 2006(ISIE 2006) ที่กรุงโซล ประเทศเกาหลีใตwww.nia.or.th/innomart33


C27บูธสีเพนทภาพราคาประหยัด◦ ระดับงานวิจัย ◦ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦ จำหนายแลวสีเพนทภาพที่มีลักษณะเปนของเหลวนั้นเกิดจากการผสมระหวางปูนขาว แปงมัน กาวลาเท็กซ น้ำ สีผสมอาหาร กลีเซอรีน และสารตางๆ มีสีตางๆ หลากสี เชน สม แดง ฟา เหลือง มวง ชมพู ขาว ดำ ฯลฯ สามารถนำไปเพนทลงบนวัสดุตางๆ เชน กระดาษ กระเบื้อง (เซรามิก) ผา ไม แกว กระจก ฯลฯ ใหภาพที่มีสีสดใสเปนมันเงา สวยงามเทียบเทาสีเพนทที่มีขายในทองตลาดแตมีราคาถูกกวา 20 เทา และไมเปนอันตรายตอสุขภาพของผูใชคุณสมบัติเดน• มีสีสดใส เนื้อละเอียด สวยงาม คงทนตอสภาพแวดลอม และไมผสมสารระเหยที่เปนอันตรายตอผูใช• ประสิทธิภาพทัดเทียมกับสีเพนทภาพที่มีขายตามทองตลาด• ราคาถูกกวาทองตลาด ประมาณ 20 เทาตลาดเปาหมาย• กลุมนักเรียน นักศึกษา และสถาบันการศึกษาตางๆ• กลุมผูทำงานดานศิลปะ และกลุมองคกรธุรกิจตางๆเจาของผลงาน• นางสาวนารินทร ทองเพียร นางสาวสิรินภา เลิศสถาพร และนางสาวอนุสรา เณรพงษ• นางพวงทอง ศรีศฤงคาร อาจารยที่ปรึกษาโทรศัพท 02-708 6118-9 ตอ 111 โทรศัพทมือถือ 086-371 2785นายสัมฤทธิ์ แปนถึง อาจารยที่ปรึกษานางจุลัยพร สังขแกว อาจารยที่ปรึกษาโรงเรียนบางบอวิทยาคมอำเภอบางบอ จังหวัดสมุทรปราการ 10560ไดรับรางวัลผลงานประดิษฐคิดคน• รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 3 ในระดับมัธยมศึกษาประเภทผลิตภัณฑ OTOP เพื่อการประกอบอาชีพ จากโครงการ “คายนักประดิษฐรุนใหม”สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) ในงาน “วันนักประดิษฐ” ประจำป 2549• รางวัลเหรียญเงิน จากงาน International Students’ Invention Exhibition 2006(ISIE 2006) ที่กรุงโซล ประเทศเกาหลีใต34 21-24 กันยายน 2549 สยามพารากอน กรุงเทพฯ


C28บูธกระดาษจากตะไคร◦ ระดับงานวิจัย ◦ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦ จำหนายแลวปจจุบัน มีการใชกระดาษเปนจำนวนมาก จึงพยายามศึกษาวัตถุดิบอื่นๆ เพื่อนำมาแปรรูปทดแทนเยื่อกระดาษที่ขาดแคลนและพบวาลักษณะเสนใยจากใบตะไครมีลักษณะเสนใยที่แข็งแรงและเหนียวสามารถนำมาผลิตเปนกระดาษทดแทนไมที่เปนวัตถุดิบเดิมในการผลิตกระดาษและกำลังลดปริมาณลงคุณสมบัติเดน• มีความเหนียว ทนตอแรงดึงได และมีความสามารถในการดูดซับน้ำไดดี• เยื่อกระดาษมีความละเอียดและเรียบ มีชองวางระหวางเสนใยนอย• มีคุณภาพเปนกลางตลาดเปาหมาย• สำนักพิมพตางๆ• หนวยงานที่ใชการบันทึกขอมูลเจาของผลงาน• นางสาวแกวกาญจน ไทยประยูร เด็กหญิงสุวพร พงศธีระวรรณนางสาวจีรนันท เพชรแกว นายนรเทพ พิกุลทอง และนางสาวพัชรา ชูทอง• นายเฉลิมพร พงศธีระวรรณ อาจารยที่ปรึกษาโทรศัพท 077-272 104 โทรศัพทมือถือ 081-891 2748นางสุวารี พงศธีระวรรณ อาจารยที่ปรึกษาโรงเรียนสุราษฎรพิทยา อำเภอเมืองจังหวัดสุราษฎรธานี 84000ไดรับรางวัลผลงานประดิษฐคิดคน• รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 2 ในระดับมัธยมศึกษา ประเภทผลิตภัณฑ OTOP เพื่อการประกอบอาชีพจากโครงการ “คายนักประดิษฐรุนใหม” สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)ในงาน “วันนักประดิษฐ” ประจำป 2549• รางวัลเหรียญทองแดง จากงาน International Students’ Invention Exhibition 2006(ISIE 2006) ที่กรุงโซล ประเทศเกาหลีใตwww.nia.or.th/innomart35


C29บูธมอลตขาวไทย◦ ระดับงานวิจัย ◦ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦ จำหนายแลวขาวเปนอาหารหลักของคนไทย จึงมีการคนหาวิธีการเพิ่มมูลคาใหกับขาวพันธุตางๆ ที่ปลูกในชุมชนใหมีราคาสูงขึ้น โดยการนำมาแปรรูปเปนอาหารเสริมสุขภาพ ธัญพืชที่สามารถนำมาผลิตเปนมอลต ไดแก ขาวบารเลย ขาวไรด ขาวสาลี ขาวโพดคุณสมบัติเดน• ประโยชนและคุณคาที่มีตอสุขภาพรางกาย• เปนการเพิ่มมูลคาใหกับขาวตลาดเปาหมาย• ตลาดในประเทศ• ตลาดตางประเทศเจาของผลงาน• นายกิตติศักดิ์ เนียมชาวนานางสาวภาศิณี เกิดบึงพราวนายนพดล บุญนาคแยม• นางอนงค จิราพงษ อาจารยที่ปรึกษาโรงเรียนวังทองพิทยาคมอำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก 65130โทรศัพท 055-210 325 โทรศัพท 086-520 2030ไดรับรางวัลผลงานประดิษฐคิดคน• รางวัลชนะเลิศ ในระดับมัธยมศึกษา ประเภทผลิตภัณฑ OTOP เพื่อการประกอบอาชีพจากโครงการ “คายนักประดิษฐรุนใหม” สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)ในงาน “วันนักประดิษฐ” ประจำป 2549• รางวัลเหรียญทองแดง จากงาน International Students’ Invention Exhibition 2006(ISIE 2006) ที่กรุงโซล ประเทศเกาหลีใต36 21-24 กันยายน 2549 สยามพารากอน กรุงเทพฯ


C30บูธ น้ำมันเครื่องเกาขัดขอบยางรถยนต◦ ระดับงานวิจัย ◦ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦ จำหนายแลวน้ำมันเครื่องรถยนตที่ถูกเปลี่ยนถายแลวและไมไดนำไปใชงานมีจำนวนมากและหาไดงาย เมื่อนำมาผสมกับไขมันวัวที่เหลือทิ้งจากโรงฆาสัตว จะไดของผสมที่มีลักษณะแข็งตัวคลายครีมขัดรองเทา มีสีดำ หากนำมาใชขัดยางรถยนต จะพบวามีความเงางามและชวยในการรักษาหนายางรถยนต ที่สำคัญมีราคาถูก เนื่องจากเปนการนำวัสดุเหลือใชมาแปรรูปใหมคุณสมบัติเดน• เปนการลดปริมาณน้ำมันเครื่องใชแลวที่มีอยูเปนจำนวนมาก• ลดปญหาสิ่งแวดลอม• ไดผลิตภัณฑที่มีราคาถูกและสามารถผลิตเองไดภายในครัวเรือนตลาดเปาหมาย• กลุมผูใชรถยนตและประชาชนทั่วไปเจาของผลงาน• นายศักดิ์ดา ดรพระศรี นายภูวดล หลมเหลา นายเกรียงไกร วิชัยคำมาตยนายมิตรชัย ใยไหม และนายสมพร บุญจอม• นายวทัญู บุตรศรี อาจารยที่ปรึกษาโทรศัพท 043-286 218 โทรศัพทมือถือ 081-262 2349นายยุทธการ ผิวรัตน อาจารยที่ปรึกษาวิทยาลัยการอาชีพขอนแกนอำเภอชนบท จังหวัดขอนแกน 40180ไดรับรางวัลผลงานประดิษฐคิดคน• รางวัลชนะเลิศ อันดับ 2 ในระดับอาชีวและอุดมศึกษา ประเภทผลิตภัณฑ OTOP เพื่อการประกอบอาชีพจากโครงการ “คายนักประดิษฐรุนใหม” สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)ในงาน “วันนักประดิษฐ “ประจำป 2549• รางวัลเหรียญทองแดง จากงาน International Students’ Invention Exhibition 2006(ISIE 2006) ที่กรุงโซล ประเทศเกาหลีใตwww.nia.or.th/innomart37


C31บูธเครื่องควานไม◦ ระดับงานวิจัย ◦ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦ จำหนายแลวเครื่องควานไมสรางขึ้นเพื่อใชผลิตสินคาที่ทำจากกะลามะพราวและไม ผลิตเปนเครื่องประดับตกแตงเฟอรนิเจอรทดแทนการใชเครื่องกลึง ผลิตชิ้นงานที่เปนทรงกลมไดหลากหลายชนิด หลายขนาด เชน กระดุมหัวเสาธง ถวยกาแฟ จานรอง ถวยชาม แกวน้ำ ฯลฯ สามารถผลิตไดครั้งละจำนวนมากๆผลิตภัณฑที่ไดแตละชิ้นงานมีมาตรฐานที่ใกลเคียงกัน เปนเครื่องมือที่ชวยเพิ่มการผลิตสินคาของกลุมผลิตสินคาหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ (OTOP) จนทำใหสามารถผลิตสินคาไดทันตามความตองการของตลาด สามารถสงจำหนายไดทั้งในประเทศและตางประเทศคุณสมบัติเดน• เปนสิ่งประดิษฐที่มีหลักการทำงานเปนแบบควานแทนการกลึง• เปนเครื่องมือที่ผลิตชิ้นงานไดเปนจำนวนมาก ผลิตไดรวดเร็ว หลายขนาดตามความตองการ โดยมีขนาดและมาตรฐานที่ใกลเคียงกัน• สามารถผลิตสินคาไดทันตามความตองการของตลาดทั้งในประเทศและตางประเทศตลาดเปาหมาย• กลุมชาวบานทั่วไป หรือกลุมผลิตสินคาหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ (OTOP)ที่ตองการประดิษฐสินคาที่ทำมาจากไมและกะลามะพราว• เปนแหลงเรียนรูภูมิปญญาทองถิ่นใหกับเยาวชน นักเรียนนักศึกษา กลุมแมบาน และผูที่สนใจทั ่วไปเจาของผลงาน• นายสาธิต ชูพิทักษณาเวช215 หมูที่ 9 ตำบลควนขนุนอำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง 93110โทรศัพท 074-681 217 โทรสาร 074-681 886โทรศัพทมือถือ 089-657 0413ไดรับรางวัลผลงานประดิษฐคิดคน• สาขาวิศวกรรมศาสตรและอุตสาหกรรมวิจัย จากสภาวิจัยแหงชาติประจำป 254938 21-24 กันยายน 2549 สยามพารากอน กรุงเทพฯ


C32บูธ ชิ้นงานฝกทักษะจากเศษไม◦ ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦จำหนายแลวเนื่องจากในทองถิ่นมีเศษไมและไมเกาอยูมากมาย หากแตถูกนำมาใชเปนแคเพียงฟนสำหรับหุงหาอาหารเทานั้น ดังนั้น จึงเกิดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชางานไมขึ้น เพื่อใหนักเรียนมีจิตสำนึกในการใชทรัพยากรของชาติ โดยใชไมเปนวัสดุหลักในการฝกทักษะ และสามารถนำชิ้นงานนั้นมาใชประโยชนไดจริงในชีวิตประจำวันหรือจำหนายเพื่อใหเกิดรายไดระหวางเรียน และเปนการสงเสริมการใชเวลาวางของนักเรียนใหเกิดประโยชนรวมถึงการมีสวนสงเสริม สืบสานศิลปะที่เปนภูมิปญญาของทองถิ่นไทย ชิ้นงานฝกทักษะจากเศษไมถูกออกแบบใหสามารถนำเอาเศษไมและไมเกาในทองถิ่นมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุด โดยการนำมาเปนวัสดุในการฝกทักษะเปนชิ้นงานที่อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติที่มีขนาดเล็กๆ มีความละเอียด ประณีต สวยงามและมีคุณคาคุณสมบัติเดน• ชิ้นงานที่ประดิษฐไดมีความสวยงามคงเอกลักษณของศิลปะที่เปนภูมิปญญาของทองถิ่นภูมิปญญาไทย• สามารถนำไปใชเปนของที่ระลึกในโอกาสตางๆ ไดอยางเหมาะสมและมีคุณคาตลาดเปาหมาย• ตลาดสินคาของฝากของที่ระลึก ตลาดสินคาที่เปนผลิตภัณฑจากไมทั้งตลาดในทองถิ่นเอง ตลาดภายนอกรวมถึงตลาดตางประเทศเจาของผลงาน• นายเสกสรร กาวินชัยโรงเรียนแจหมวิทยาอำเภอแจหม จังหวัดลำปาง 52120โทรศัพท 054-271 399 โทรสาร 054-271 397โทรศัพทมือถือ 086-182 3285ไดรับรางวัลผลงานประดิษฐคิดคน• กลุมพัฒนาสังคมและวัฒนธรรม จากสภาวิจัยแหงชาติ ประจำป 2544www.nia.or.th/innomart39


C33บูธอุปกรณตรวจคัดอัญมณี◦ ระดับงานวิจัย ◦ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦ จำหนายแลวปจจุบัน วงการอุตสาหกรรมอัญมณี มีเทคโนโลยีในการสังเคราะหวัสดุเลียนแบบที่มีความกาวหนามากดังนั้น จึงจำเปนตองแสวงหาเทคนิคในการตรวจสอบอัญมณีที่มีประสิทธิภาพ งายตอการใชงาน มีคาใชจายต่ำมีความถูกตองแมนยำ และไมทำลายอัญมณี แตเนื่องจากเทคนิคอินฟราเรดสเปกโตรสโกปมีการทำลายอัญมณีที่วิเคราะหจึงไมเหมาะสมกับอัญมณีที่เจียระไนแลว คณะนักวิจัยจึงไดพัฒนาเทคนิคและอุปกรณสำหรับวิเคราะหอัญมณีที่เจียระไนแลวและอัญมณีบนเครื่องประดับโดยไมตองแกะอัญมณีออกจากตัวเรือนเครื่องประดับ โดยอุปกรณชิ้นนี้จะใชรวมกับกลองจุลทรรศนอินฟราเรดในการจำแนกอัญมณีคุณสมบัติเดน• เปนอุปกรณที่ใชสำหรับวิเคราะหอัญมณีที่เจียระไนแลวและอัญมณีบนเครื่องประดับโดยไมตองแกะออกจากตัวเรือนเครื่องประดับ• ใชงานงาย สะดวกและรวดเร็ว ใชเวลานอยกวา 5 นาทีในการวิเคราะห• คาใชจายในการวิเคราะหต่ำตลาดเปาหมาย• นักวิจัยที่วิเคราะหอัญมณี• ผูคาอัญมณีทั่วไปเจาของผลงาน• รองศาสตราจารย ดร. สนอง เอกสิทธิ์ และคณะหนวยวิจัยอุปกรณรับรู ภาควิชาเคมีคณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330โทรศัพท 02-218 7585 โทรสาร 02-254 1309โทรศัพทมือถือ 089-217 9746Email: Sanong.e@chula.ac.thไดรับรางวัลผลงานประดิษฐคิดคน• สาขาการแพทยและสาธารณสุข จากสภาวิจัยแหงชาติ ประจำป 254840 21-24 กันยายน 2549 สยามพารากอน กรุงเทพฯ


C34บูธวัสดุปดแผลจากอนุพันธไคโตซาน◦ ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦ จำหนายแลวผลิตภัณฑดานวัสดุตกแตงแผลเปนผลิตภัณฑที่มีมูลคาการใชงานคอนขางสูงสวนใหญจะนำเขาจากตางประเทศ ทำใหผูมีรายไดต่ำไมสามารถเขารับการรักษาหรือรับบริการไดอยางเต็มประสิทธิภาพ จึงมีการวิจัยที่นำสารไคติน/ไคโตซาน มาใชเปนวัสดุปดรักษาแผล เนื่องจากไคติน/ไคโตซาน เปนพอลิเมอรที่ไดจากการแปรรูปกากของเสีย เชน เปลือกกุง กระดองปู และแกนหมึก เมื่อนำมาประยุกตใชในดานการแพทย อาหารและยาสามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อจุลินทรียบางชนิด ชวยหามเลือดและเรงการหายของแผลได แตสารไคติน/ไคโตซาน เปนสารที่มีความสามารถในการดูดซับน้ำต่ำ คณะผูประดิษฐจึงไดดัดแปลงโดยปรับโครงสรางทางเคมีของไคติน/ไคโตซาน ใหเปนอนุพันธไคติน/ไคโตซาน ที่มีความแข็งแรงและสามารถดูดซับของเหลวไดดีเพื่อรักษาความชื้นและอุณหภูมิที่พอเหมาะใหกับบาดแผล โดยใชวัตถุดิบในประเทศทำใหลดการนำเขาจากตางประเทศคุณสมบัติเดน• วัสดุประดิษฐมีความสามารถในการดูดซับน้ำไดดี• มีความออนนุมเมื่อสัมผัสบริเวณที่เกิดบาดแผล• ชวยเรงการหายของแผลและสามารถโคงงอเขากับรางกาย• เปนวิธีที่สะดวก ประหยัดเวลาและคาใชจายและไมมีสารเคมีเปนพิษเขามาเกี่ยวของตลาดเปาหมาย• ผูปวย โรงพยาบาล• วงการแพทย วงการอุตสาหกรรมเจาของผลงาน• ดร. วนิดา จันทรวิกูล และคณะศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ114 อุทยานวิทยาศาสตร ถนนพหลโยธิน ตำบลคลองหนึ่งอำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานีโทรศัพท 02-564 6500 ตอ 4417 โทรสาร 02-564 6445ไดรับรางวัลผลงานประดิษฐคิดคน• สาขาวิทยาศาสตรเคมีและเภสัช จากสภาวิจัยแหงชาติ ประจำป 2549www.nia.or.th/innomart41


C35บูธสำเภาทอง เรือจำลองจักสาน◦ ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦จำหนายแลวเปนเรือสำเภาจำลองที่ประดิษฐจากไมไผ หวาย เปนชิ้นสวนประกอบ โดยใชการจักสานซึ่งเปนหัตถศิลปดั้งเดิมของไทย รูปเรือจำลองดานในเปนไมสักทั้งหมด สวนวัสดุสานดานนอกตัวเรือใชไมไผสีสุกและหวายหอมคุณสมบัติเดน• มีความแปลกใหม และมีความละเอียดประณีต• เปนเรือจักสานภูมิปญญาลำแรกของประเทศไทยตลาดเปาหมาย• กลุมผูประกอบการอุตสาหกรรม• กลุมพอคา แมคา• กลุมสงเสริมการสงออก OTOPเจาของผลงาน• นายนพดล สดวกดีเลขที่ 50 หมู 12 ตำบลหัวไผอำเภอเมือง จังหวัดสิงหบุรี 16000โทรศัพท 081-734 8180ไดรับรางวัลผลงานประดิษฐคิดคน• สาขาปรัชญา จากสภาวิจัยแหงชาติ ประจำป 254942 21-24 กันยายน 2549 สยามพารากอน กรุงเทพฯ


C36บูธ หุนจำลองยางพาราอิเล็กทรอนิกส◦ ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ทดลองตลาด ◦ จำหนายแลวสื่อการเรียนการสอนรูปหุนจำลองที่ใชกันในปจจุบัน ผลิตจากสารสังเคราะหพลาสติกเหลว หรือไฟเบอรกลาสซึ่งมีราคาสูงและตองนำเขาจากตางประเทศ จึงไดนำสารธรรมชาติยางพารามาทดแทนสารสังเคราะห ประดิษฐเปนสื่อการสอนรูปหุนจำลอง และดวยพื้นฐานของการวิจัยและพัฒนาจึงมีแนวความคิดที่จะยกระดับหุนจำลองยางพารา โดยการบูรณาการเอาความรูดานวิศวกรรมศาสตร แพทยศาสตร ศึกษาศาสตร สถาปตยกรรมศาสตรและเกษตรศาสตร เขาไวดวยกันประดิษฐชิ้นงานใหมเปนหุนจำลองยางพาราพูดได ซึ่งเปนสื่อการสอนผสมระหวางโครงสรางทางกายวิภาคศาสตร สรีรวิทยา และเสียงเพื่อการเรียนรูดวยตัวเองคุณสมบัติเดน• ทำจากสารธรรมชาติ คือ ยางพาราซึ่งเปนทรัพยากรในประเทศ• หุนฝงอิเล็กทรอนิกส สามารถพูดได พูดอธิบายได• ตัวหุนนิ่ม ตกไมแตกตลาดเปาหมาย• เปนสื่อการเรียนการสอนในสถาบันการศึกษา• ผูพิการทางสายตาเจาของผลงาน• รองศาสตราจารย ดร. อภินันท สุประเสริฐ และคณะคณะสัตวแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร50 ถนนพหลโยธิน เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900โทรศัพท 02-579 7534 และ 02-942 8954โทรสาร 02-942 8955 และ 02-579 7539โทรศัพทมือถือ 089-772 1690ไดรับรางวัลผลงานประดิษฐคิดคน• สาขาการศึกษา จากสภาวิจัยแหงชาติ ประจำป 2549www.nia.or.th/innomart43


C37บูธโครงการจัดแปลหนังสือ◦ ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦ จำหนายแลวสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) ไดดำเนินโครงการจัดแปลหนังสือขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2503ภายใตกรอบนโยบายการถายทอดวิชาการและเทคโนโลยีจากตางประเทศในการเสริมสรางความรูใหแกประชาชนทั่วไป โดยมีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมใหมีหนังสือภาษาไทยที่ดี มีคุณคาที่ใหความรูเกี่ยวกับวิชาการและเทคโนโลยีตางๆ แกนักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป เพื่อสามารถนำไปปรับใชและพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเองและสังคมใหดีขึ้นอีกทั้งยังมุงสงเสริมใหมีนักแปลที่ดีเพิ่มขึ้น เปนการพัฒนาการแปล ถายทอดวิชาการ ความรู เทคโนโลยีและวัฒนธรรมที่เปนประโยชนจากตางประเทศมาเปนภาษาไทย และผลการดำเนินงานตั้งแตเริ่มตนโครงการฯ จนถึงปจจุบันมีหนังสือแปลที่จัดพิมพออกเผยแพรรวมทั้งสิ้น 193 เรื่อง จำแนกเปนดานวิทยาศาสตร 97 เรื่อง และดานสังคมศาสตร 96 เรื่องคุณสมบัติเดน-ตลาดเปาหมาย• นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไปเจาของผลงาน-ไดรับรางวัลผลงานประดิษฐคิดคน-44 21-24 กันยายน 2549 สยามพารากอน กรุงเทพฯ


C38บูธ รถไฟฟาสำหรับผูพิการ◦ ระดับงานวิจัย ◦ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦ จำหนายแลวรถไฟฟาสำหรับผูพิการ เปนรถสองลอนั่งสำหรับผูพิการและผูสูงอายุที่ใชอินเวอรเตอรและโปรแกรมเมเบิลโลจิคคอนโทรลเลอร (PLC) มาควบคุมมอเตอรไฟฟาเหนี่ยวนำในการขับเคลื่อน ทำใหมีความนุมนวลในการเริ่มตนหมุนกลับตัวหรือเปลี่ยนทิศทางไปทางใดทางหนึ่ง สามารถกลับตัวในที่แคบได และสามารถวิ่งไดภายในและรอบๆ บริเวณบานหรือใกลบานได อุปกรณที่นำมาใชเปนสวนประกอบสามารถหาไดภายในประเทศ เปนการลดการนำเขาจากตางประเทศและเปนตนแบบการผลิตเพื่อจำหนายในระดับอุตสาหกรรมเพื่อการสงออกคุณสมบัติเดน• อุปกรณทั้งหมดที่ใชประดิษฐหาซื้องาย แข็งแรงทนทาน• ในการประจุแบตเตอรี่ 1 ครั้ง สามารถวิ่งไดไกล 12 กิโลเมตรและขับเคลื่อนไดเร็วสูงสุด 4 กิโลเมตร/ชั่วโมง• สามารถวิ่งบนพื้นผิวที่ขรุขระได และขึ้นทางชันได 25 องศา• ระบบ 2 ลอหลังทำงานแบบอิสระ จึงสามารถกลับตัวในที่แคบไดโดยการหมุนรอบตัวเอง• ใชมอเตอรไฟฟาเหนี่ยวนำซึ่งเปนอุปกรณที่มีความแข็งแรงทนทาน ตองการการบำรุงรักษานอย และควบคุมโดยอินเวอรเตอร จึงทำใหการควบคุมมอเตอรไฟฟาเปนแบบนุมนวลในการเปลี่ยนทิศทางหรือหมุนตัวตลาดเปาหมาย• ผูสูงอายุ และผูทุพพลภาพ• โรงพยาบาล หรือสถานพยาบาลตางๆ• เปนแหลงขอมูลความรูใหกับนักเรียน นักศึกษา และผูที่สนใจทั่วไป• โรงงานอุตสาหกรรมเจาของผลงาน• รองศาสตราจารย พิชิต ลำยอง และคณะศูนยบริการและพัฒนาวิศวกรรม คณะวิศวกรรมศาสตรสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบังโทรศัพท 02-326 4175 โทรสาร 02-326 4175ไดรับรางวัลผลงานประดิษฐคิดคน• สาขาวิศวกรรมศาสตรและอุตสาหกรรมวิจัย จากสภาวิจัยแหงชาติ ประจำป 2549www.nia.or.th/innomart45


C39บูธโรงสีขาวชุมชน◦ ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦จำหนายแลวปจจุบัน ชาวนาที่ปลูกขาวจะประสบปญหาราคาขาวที่ผันผวน เมื่อเก็บเกี่ยวเสร็จก็จะนำขาวเปลือกไปขายใหกับโรงสีขาวทองถิ่นหรือโรงสีขนาดใหญดวยไมสามารถแปรรูปเปนขาวสารไดเอง คณะนักวิจัยจึงไดประดิษฐโรงสีขาวชุมชนรุน CP-R 500 ที่สามารถสีขาวได 500 กิโลกรัมขาวเปลือกตอชั่วโมง มีการใชงานและการบำรุงรักษางายไมยุงยาก ใชตนทุนนอย เพื่อใหชาวนาสามารถทำธุรกิจสีขาวและขายขาวในรูปแบบครบวงจรคุณสมบัติเดน• กำลังการผลิตไมนอยกวา 500 กิโลกรัม ขาวเปลือกตอชั่วโมง• สามารถผลิตเปนขาวกลองและคัดเกรดขาวสารได• มีระบบการขัดขาวเหมือนโรงสีขนาดใหญ• ใชกำลังไฟฟาไมนอยกวา 15 กิโลวัตต 3 เฟส• พื้นที่ติดตั้งนอย ขนาด 4.0 x 5.3 x 4.8 เมตรตลาดเปาหมาย• กลุมเกษตรกรชาวนา• กลุมสหกรณหมูบานเจาของผลงาน• นายนเรศวร ชิ้นอินมนู และคณะธุรกิจวิจัยและพัฒนางานวิศวกรรมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ จำกัดซอยเย็นจิต ถนนจันทร อำเภอทุงวัดดอนเขตสาทร กรุงเทพฯ 10900โทรศัพท 02-267 5880 ตอ 1950 โทรสาร 02-675 9674โทรศัพทมือถือ 081-642 8532ไดรับรางวัลผลงานประดิษฐคิดคน• รางวัลดีเยี่ยม สาขาเกษตรศาสตรและชีววิทยา จากสภาวิจัยแหงชาติ ประจำป 254946 21-24 กันยายน 2549 สยามพารากอน กรุงเทพฯ


C40บูธ โคเนื้อพันธุกำแพงแสน◦ ระดับงานวิจัย ◦ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦ จำหนายแลวโคเนื้อพันธุ “กำแพงแสน” เปนการปรับปรุงสายพันธุจากโค 3 สายพันธุ คือ โคพันธุพื้นเมืองกับโคพันธุบราหมัน และโคพันธุชาโรเลส โดยใชโคพันธุพื้นเมืองเปนแมพันธุ และพบวาโคที่มีสายเลือดพื้นเมืองรอยละ 25บราหมันรอยละ 25 ชาโรเลสรอยละ 50 จะมีลักษณะเหมาะสมที่สุดในสภาพอากาศที่รอนชื้น โตเร็ว เลี้ยงงายและเนื้อมีคุณภาพสูง นอกจากโคพันธุ “กำแพงแสน” มีความเหมาะสมที่จะเลี้ยงในประเทศไทยแลว ยังเหมาะสมกับสภาพแวดลอมของประเทศในเอเชียอาคเนยอีกดวยคุณสมบัติเดน• สามารถใชเลี้ยงเปนโคขุนในสภาพอากาศรอนของประเทศไทยไดดี ทนตอเห็บ และแมลงรวมทั้งโรคและพยาธิ และเจริญเติบโตไดดีในสภาพที่อาหารสัตวมีคุณภาพต่ำ• คุณภาพซากและเนื้อดี ทัดเทียมกับเนื้อที่นำเขาจากตางประเทศ• เพิ่มผลผลิตเนื้อโคของประเทศ สามารถเพิ่มรายไดใหกับเกษตรกรตลาดเปาหมาย• กลุมเกษตรกรผูเลี้ยงโค• เปนแหลงความรูใหกับนักเรียน นักศึกษา และผูที่สนใจทั่วไปเจาของผลงาน• นายปรีชา อินนุรักษ และคณะศูนยวิจัยและพัฒนาการผลิตกระบือและโคมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสนจังหวัดนครปฐม 73140โทรศัพท 034-351 906เว็บไซต http://bprdc.sardi.ku.ac.th• ศูนยสาธิตการผลิตโคเนื้อครบวงจร (คาวบอยแลนด)มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรวิทยาเขตกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม 73140โทรศัพท 034-352 046-7 โทรสาร 034-352 046ไดรับรางวัลผลงานประดิษฐคิดคน• รางวัลดีเยี่ยม สาขาเกษตรศาสตรและชีววิทยา จากสภาวิจัยแหงชาติ ประจำป 2548www.nia.or.th/innomart47


สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (สนช.)ZONE Dนวัตกรรม คือ สิ่งใหมที่เกิดจากการใชความรูและความคิดสรางสรรคที่มีประโยชนตอเศรษฐกิจและสังคม“สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (สนช.)” จัดตั้งขึ้นตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2546 โดยใหเปนหนวยงานในกำกับของกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และมีระบบบริหารงานที่ไมใชราชการทั้งนี้ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีจึงไดมีคำสั่งที่ 84/2546 ลงวันที่ 1 ตุลาคม 2546 จัดตั้ง“สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ” ขึ้น และใหอยูภายใตการกำกับดูแลของคณะกรรมการนวัตกรรมแหงชาติโดยมีปลัดกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเปนประธานกรรมการคณะกรรมการนวัตกรรมแหงชาติ ไดวางกรอบนโยบายให สนช. เปนสำนักงานที่มีขนาดเล็กมากเพื่อใหมีความคลองตัวและมีประสิทธิภาพสูง โดยมีบุคลากรทั้งสิ้นไมเกิน 30 คน และใหเปนโครงสรางการบริหารจัดการในแนวราบ โดยแบงการบริหารงานออกเปนสามฝาย ไดแก ฝายบริหารโครงการนวัตกรรมประกอบดวยงานพัฒนาโครงการนวัตกรรม งานสงเสริมวัฒนธรรมนวัตกรรม และงานนโยบายและประเมินผล ฝายบริหารสำนักงาน ประกอบดวยงานการเงินและบริหารทั่วไป งานพัฒนาทรัพยากรบุคคล และงานสงเสริมภาพลักษณองคกร และฝายโครงการพิเศษในการดำเนินงานที่ผานมา สนช. ไดพยายามสรางกลไกและกรอบการทำงานที่ชัดเจน เพื่อใหสามารถดำเนินงานไดตามพันธกิจที่ไดรับมอบหมาย และบรรลุวัตถุประสงคตามที่ตั้งไว ไดแก การยกระดับความสามารถดานนวัตกรรมในเชิงเศรษฐกิจและเชิงสาธารณประโยชน การสงเสริมใหเกิดวัฒนธรรมนวัตกรรมในทุกระดับ และการสรางความเขมแข็งใหแกองคกรนวัตกรรมการพัฒนาโครงการนวัตกรรมและการสนับสนุน• โครงการนวัตกรรม แบงออกไดเปน 2 ประเภท ไดแก- โครงการนวัตกรรมเชิงยุทธศาสตร (Strategic Innovation Projects) เปนโครงการนวัตกรรมที่มีเปาหมายชัดเจนในการนำนวัตกรรมเขาไปแทรกแซง (intervene) อุตสาหกรรมยุทธศาสตรของประเทศ เพื่อปรับเปลี่ยนโครงสรางการผลิตที่สงผลกระทบในดานเศรษฐกิจและสังคมอยางฉับพลันซึ่งทำใหสามารถสรางหรือยกระดับขีดความสามารถการแขงขันไดอยางรวดเร็ว- โครงการนวัตกรรมเชิงความรู (Knowledge Driven Innovation) เปนโครงการที่พัฒนาตอยอดผลงานวิจัย สิ่งประดิษฐและสิทธิบัตร หรือเทคโนโลยีที่มีอยูเดิมไปสูเชิงพาณิชย โดยทำใหเกิดผลิตภัณฑใหม กระบวนการผลิตใหม หรือบริการใหม48 21-24 กันยายน 2549 สยามพารากอน กรุงเทพฯ


ZONE Dการสนับสนุนของสำนักงานฯ• สนช. ไดดำเนินการพัฒนาระบบการสนับสนุนโครงการนวัตกรรม เพื่อรวมรับความเสี่ยงของผูประกอบการที่ตองการทำโครงการนวัตกรรม และเพื่อกระตุนใหภาคเอกชนไดเห็นถึงความสำคัญของ “นวัตกรรม”ทั้งนี้ สนช. มีรูปแบบการสนับสนุนใน 2 ลักษณะ ไดแก- การสนับสนุนดานวิชาการ (technical support) เปนการชวยเหลือทางดานวิชาการและการประสานงาน เพื่อนำไปสูโครงการนวัตกรรม โดย สนช. จะเปนผูสนับสนุนคาใชจายตามจำนวนจริงในรูปของเงินใหเปลา (grant)- การสนับสนุนดานการเงิน (financial support) โดยมีกลไกการสนับสนุน 4 รูปแบบ ดังนี้(1) โครงการ “นวัตกรรมดี…ไมมีดอกเบี้ย” เปนการสนับสนุนเงินอุดหนุนในรูปแบบของการสนับสนุนดอกเบี้ยเงินกูในระยะเวลาหนึ่งใหแกโครงการนวัตกรรมที่อยูในระยะเริ่มตนสูกระบวนการผลิตจริงโดยสถาบันการเงินจะเปนผูปลอยสินเชื่อเงินกูใหกับโครงการนวัตกรรมที่ไดรับการประเมินความเปนนวัตกรรมจาก สนช. ทั้งนี้การสนับสนุนดังกลาวจะเปนการเขารวมรับความเสี่ยงและผลักดันใหภาคเอกชนเกิดโอกาสในการลงทุนในธุรกิจนวัตกรรม(2) โครงการ “แปลงเทคโนโลยีเปนทุน” เปนการสนับสนุนเงินอุดหนุนในรูปแบบของเงินใหเปลาสำหรับโครงการนวัตกรรมที่อยูในระยะของการทดสอบยืนยันความเปนไปไดของเทคโนโลยีในขั้นตอนของการทำตนแบบหรือการนำรอง(3) โครงการ “ทุนเครือขายวิสาหกิจนวัตกรรม” เปนการสนับสนุนเงินอุดหนุนในรูปแบบของเงินใหเปลาในการสนับสนุนโครงการนวัตกรรม ที่มีลักษณะการพัฒนาโครงการในรูปแบบเครือขายวิสาหกิจเชน กลุมอุตสาหกรรม สมาคม จังหวัดหรือกลุมจังหวัด ซึ่งครอบคลุมตั้งแตระดับการทำตนแบบการทดสอบระดับนำรอง จนถึงการผลิตในเชิงพาณิชย(4) โครงการ “รวมลงทุนธุรกิจนวัตกรรม” เปนการลงทุนรวมกับสถาบันการเงิน เพื่อสนับสนุนใหเกิดการลงทุนในธุรกิจนวัตกรรมที่มีศักยภาพสูง และสามารถยกระดับความสามารถในการแขงขันของประเทศสถานที่ติดตอสำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (สนช.) กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี73/1 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400โทรศัพท 02-644 6000 โทรสาร 02-644 8443-4เว็บไซต http://www.nia.or.thwww.nia.or.th/innomart49


บูธD1-4นวัตกรรมเครือซิเมนตไทย◦ ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦จำหนายแลวเครือซิเมนตไทย (SCG) หนึ่งในกลุมบริษัทอุตสาหกรรมที่ทันสมัยและใหญที่สุดในประเทศไทย มีการดำเนินธุรกิจใน 5 กลุมธุรกิจ ไดแก ธุรกิจเคมีภัณฑ ธุรกิจกระดาษ ธุรกิจซิเมนต ธุรกิจผลิตภัณฑกอสราง และธุรกิจจัดจำหนาย ทั้งนี้ ทุกธุรกิจลวนดำเนินงานตามหลักบรรษัทภิบาล มุงสรางสรรคนวัตกรรมทั้งดานสินคา บริการกระบวนการทำงาน และรูปแบบธุรกิจ เพื่อตอบสนองความตองการของผูบริโภค นอกจากนี้ เครือซิเมนตไทยยังเพียรพยายามพัฒนาตนเองอยางไมหยุดยั ้ง เพื่อรักษาความเปนผูนำในประเทศ มุงสูความเปนผูนำระดับภูมิภาค และเตรียมพรอมสำหรับการแขงขันในระดับโลกผลิตภัณฑนวัตกรรมที่สำคัญ• Customize Concrete คอนกรีตสำหรับงานเฉพาะ อาทิ คอนกรีตทนดินเค็ม ทนการสึกกรอนจากน้ำผลิตภัณฑปูนฉาบแตงผิวบาง และปูนเสือสูตรใหมเพิ่มพลังยึดเกาะ• PE100 เม็ดพลาสติก ผลิตทอขนาดใหญ ทนแรงดันสูงไรสารและกลิ่นตกคาง• Elixir วัสดุผลิตถังเก็บน้ำ สีสันสวยงาม ทนทานปลอดภัย• เซรามิกพิมาย Cotto จำลองหินทรายบนกระเบื้อง รายแรกของโลก• กระเบื้อง Rustique หลังคาคอนกรีตลายไม ถอดแบบธรรมชาติทุกรายละเอียด• TOTO – Neorest สุขภัณฑไฮเทค• กลองกระดาษลูกฟูก Titan เพื่อสินคาหนัก ทดแทนนำเขา• กระดาษฝงชิป electronic (RFID)นวัตกรรมดานกระบวนการผลิตที่สำคัญ• GPS กระจายสินคา ระบบจัดสงรวดเร็ว กระจายสินคาแมนยำ ดวยเทคโนโลยีชั้นสูงจาก CTL• รถโมเล็กซีแพค เขาถึงทุกพื้นที่• ระบบชำระเงิน CPAC Concrete Service• e-IDC เชื่อมโยงระบบ Supply Chain ของรัฐและเอกชนบนฐานขอมูลเดียวกันเจาของผลงานเครือซิเมนตไทย1 ถนนปูนซิเมนตไทย บางซื่อ กรุงเทพฯ 10800โทรศัพท 02-586 4444 โทรสาร 02-586 297450 21-24 กันยายน 2549 สยามพารากอน กรุงเทพฯ


บูธD5-8สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน)◦ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦ จำหนายแลวสำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน) จัดตั้งขึ้นเพื่อเปนหนวยงานอิสระในการดำเนินงานจัดการกองทุน ตามพระราชกฤษฏีกาจัดตั้งสำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตรโดยมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่15 มีนาคม 2546 เปนตนไป (มีทุนดำเนินการขั้นตน 3,000 ลานบาท) สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร(องคการมหาชน) มีพันธกิจในการสนับสนุนงานวิจัย พัฒนาและสงเสริมการเกษตรเชิงพาณิชย รวมทั้งการพัฒนาศักยภาพบุคลากรดานการวิจัยการเกษตร เพื่อประโยชนแกเกษตรกรของชาติบริการของสำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน)• สงเสริม สนับสนุน และพัฒนางานวิจัยการเกษตร• สงเสริม สนับสนุน และพัฒนาบุคลากรดานการวิจัยการเกษตร• จัดใหมีการศึกษา คนควา วิจัย พัฒนา และเผยแพรขอมูลและสารสนเทศในดานการเกษตร• รวมมือทางวิชาการกับสถาบันการศึกษา หรือ สถาบันอื่นของรัฐและเอกชนในการผลิตและพัฒนางานวิจัยและนักวิจัยการเกษตร ทั้งในประเทศและตางประเทศ• เปนศูนยกลางในการใหบริการขอมูลและสารสนเทศในดานการเกษตรที่ไดจากการศึกษา คนควา วิจัยและพัฒนา ตลอดจนการเชื่อมโยงกับสถาบันศึกษาและหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของทั้งในและตางประเทศ• สงเสริมใหเกิดกิจกรรมทางวิชาการเพื่อเผยแพรความรูในรูปแบบตางๆ เชน การจัดพิมพเอกสารการจัดทำสื่อโสตทัศน การสัมมนาการประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดนิทรรศการ หรือการดำเนินการอื่นใดที่เกี่ยวกับการเผยแพรความรูในดานการเกษตรเจาของผลงานสำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน)2003/61 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900โทรศัพท 02-579 7435 โทรสาร 02-579 7235เว็บไซต http//:www.arda.or.thEmail: arda@arda.or.thwww.nia.or.th/innomart51


D9บูธผลิตภัณฑขาวโอไรซ (O-Rice)◦ ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦จำหนายแลวเปนนวัตกรรมกระบวนการผลิตขาวกลองเพื่อสุขภาพโอไรซ (O-Rice) โดยใชกระบวนการโอไรซิไนเซชั่น(Oryzinization; ชื่อทางการคา) ซึ่งเปนกระบวนการถนอมและรักษาคุณภาพขาว โดยการผานความรอนเพื่อยับยั้งการยอยสลายของเอนไซมไลพอกซิจิเนส เพื่อไมใหเกิดกรดไขมันอิสระ (free fatty acids) ซึ่งเปนสาเหตุของขาวกลองที่มีกลิ่นหืน ทั้งนี้ การใหความรอนและการสีกะเทาะเปลือกเพื่อใหไดขาวกลองที่มีจมูกขาวอยูครบเม็ด (GABA rice) จะทำใหคุณคาของขาวกลองอยูครบถวน สามารถบริโภคไดโดยไมเกิดผลเสียตอสุขภาพ เนื่องจากมีแคลอรี่ต่ำ รางกายสามารถนำคุณคาของขาวไปใชประโยชนไดอยางเต็มที่ผลิตภัณฑขาวโอไรซ ไดรับการสนับสนุนดานวิชาการสถาบันคนควาและพัฒนาผลิตภัณฑอาหารมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ทั้งนี้ ในระยะเริ่มตนจะนำรองในพื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ ภายใตความรวมมือกับผูวาราชการจังหวัดเพชรบูรณ อุตสาหกรรมจังหวัด พาณิชยจังหวัด เกษตรจังหวัด สภาอุตสาหกรรมจังหวัดเพชรบูรณ และสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทยคุณสมบัติเดน• ผลิตภัณฑขาวที่ไดจะมีเสนใยอาหารสูง มีสารกาบา และมีคาไกลซีมิคอินเด็กต่ำ ชวยควบคุมน้ำตาลในเลือด• เปนการสรางมูลคาเพิ่มใหกับผลิตภัณฑขาวของประเทศไทย• ตลาดเปาหมายหลัก คือ กลุมผูดูแลรักษาสุขภาพทั้งในประเทศและตางประเทศตลาดเปาหมาย• ประชาชนทั่วไปเจาของผลงานบริษัท เพชรบูรณอินโนเวชั่น จำกัดตัวแทนจัดจำหนาย: บริษัท เบรีย จำกัด6 สนธิวัฒนา 3 ถนนลาดพราว 110เขตวังทองหลาง กรุงเทพฯโทรศัพท 02-530 2754-60 ตอ 5 (ฝายขาย)โรงงานผลิต: อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ52 21-24 กันยายน 2549 สยามพารากอน กรุงเทพฯ


D10บูธผลิตภัณฑเบตากลูแคนและผลิตภัณฑจากยีสต◦ ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦จำหนายแลวการผลิตยีสตโดยกระบวนการหมักและสกัดผลิตภัณฑจากยีสตที่เปนของเสียจากโรงงานผลิตเบียรอยางครบวงจรในเชิงพาณิชยครั้งแรกในประเทศ โดยอาศัยผูเชี่ยวชาญในการพัฒนากระบวนการผลิตผลิตภัณฑจากยีสต ซึ่งผลิตภัณฑที่ไดมี 4 ชนิด ไดแก ยีสต ยีสตสกัด ผนังเซลล และเบตากลูแคน ซึ่งเบตากลูแคนเปนผลิตภัณฑที่มีมูลคาสูงที่สุด แตมีกระบวนการผลิตคอนขางยุงยากในการสกัดใหมีความบริสุทธิ์สูงเพื่อเหมาะสมสำหรับการทำอาหารเสริมหรือใชในอุตสาหกรรมเครื่องสำอางผลิตภัณฑนวัตกรรม• อูมามิน (Umamin) เปนโปรตีนสกัดหรือสารสกัดจากยีสต (yeast extract) ที่อุดมดวยคุณคาทางโภชนาการสำคัญตอมนุษยประกอบดวยโปรตีนและวิตามินบี มีกลิ่นพิเศษเฉพาะตัวใชสำหรับเปนสวนผสมที่สำคัญในอุตสาหกรรมการผลิตเครื่องปรุงรสชนิดตางๆ• อินโนวาแคน (Innovacan) เปนสารเบตากลูแคนที่นิยมใชในอุตสาหกรรมอาหารและอาหารเสริม เพื่อชวยลดระดับคลอเรสเตอรอล และการเกิดไขมันอุดตันในเสนเลือด• สำหรับกลุมผลิตภัณฑอาหารสัตว ไดแก- นาโนซอรบ (Nanosorb) เปนสารที่สกัดจากผนังเซลลของยีสต มีองคประกอบหลักเปนสารเบตากลูแคนและไคติน มีคุณสมบัติชวยยับยั้งสารพิษจากเชื้อราที่ปนเปอนในอาหารสัตวและวัตถุดิบที่นำมาผลิตอาหารสัตว- นาโนมอส (Nanomos) เปนผลิตภัณฑที่ผลิตขึ้นโดยกระบวนการและนาโนไบโอเทคโนโลยี นาโนมอสประกอบดวยสารประกอบ “ไกลโคโปรตีน” หรือ “แมนโนโปรตีน” ซึ่งมีคุณสมบัติในการจับแบคทีเรียที่เปนพาหะหรือกอใหเกิดโรคในระบบทางเดินอาหารของสัตว- อิมมูโนส (Immunose) เปนสารสกัดจากผนังเซลลยีสตที่มีองคประกอบหลักเปนสารเบตากลูแคนชนิดมีกิ่ง มีฤทธิ์ในการกระตุนภูมิคุมกันของสัตว ทำใหสัตวมีการเจริญเติบโตดีและมีคุณภาพดีตลาดเปาหมาย• กลุมอุตสาหกรรมอาหาร เครื่องสำอาง และอาหารสัตวเจาของผลงานบริษัท สเปเชี่ยลตี้ ไบโอเทค จำกัด700/137 หมู 5 ตำบลคลองตำหรุ อำเภอเมือง ชลบุรี 20000โทรศัพท 038-468 700 โทรสาร 038-468 709www.nia.or.th/innomart53


บูธD11-1เชื้อโปรไบโอติกสำหรับปลา◦ ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦จำหนายแลวการผลิตสัตวเศรษฐกิจเพื่อใชเปนอาหารมนุษยจะตองคำนึงถึงความปลอดภัย (food safety) โดยเฉพาะการมีสารตกคางจากการใชสารปฏิชีวนะซึ่งกอใหเกิดโรคตางๆ เชน มะเร็ง โรคภูมิแพ เปนตน ดังนั้น การผลิตสัตวเศรษฐกิจจึงจำเปนตองหลีกเลี่ยงการใชสารปฏิชีวนะ นอกจากนี้ สารที่ใชทดแทนตองมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลในการเลี้ยงสัตวเศรษฐกิจใหเจริญเติบโตดวยดี มีความแข็งแรง ปราศจากโรคอีกดวยการใชโปรไบโอติกเขามาแทนการใชสารปฎิชีวนะเปนแนวทางหนึ่งในการดำเนินงาน โดยประเทศไทยมีการนำเขาโปรไบโอติกมาใชสำหรับสุกร ไก วัว กุง และปลาจากตางประเทศ ทั้งนี้ การผลิตโปรไบโอติกในประเทศจะผลิตเพื่อใชสำหรับสุกร ไก สวนการผลิตโปรไบโอติกซึ่งใชเชื้อจุลินทรียที่จากประเทศไทยเพื่อใชกับปลาเศรษฐกิจนั้นยังไมมีการผลิตในเชิงพาณิชยและอุตสาหากรรมคุณสมบัติเดน• เปนแบคทีเรียโปรไบโอติกที่คัดแยกสายพันธุจากประเทศไทย• สามารถในการยับยั้งเชื้อกอโรค• ชวยเรงการเจริญเติบโตของปลา (growth promoter)• ลดการใชสารเคมีที่มีผลตกคางในระบบการผลิตสัตวที่เปนอาหารสำหรับมนุษยตลาดเปาหมาย• รานคาที่จำหนายอาหารปลาแกเกษตรกรรายยอย• ฟารมเพาะพันธุปลา• เกษตรกรผูเลี้ยงปลารายขนาดกลาง และขนาดใหญเจาของผลงานบริษัท พรีเมอร จำกัด156 หมูที่ 3 ตำบลลำพญา อำเภอเมืองจังหวัดนครปฐมโทรศัพท 034-218 450 โทรสาร 034-254 33654 21-24 กันยายน 2549 สยามพารากอน กรุงเทพฯ


บูธD11-2สารเสริมชีวนะสมุนไพร◦ ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦จำหนายแลวผลิตภัณฑ LP-1 LP-2 LP-3 และ LP-4 เปนอาหารเสริมชีวนะโปรไบโอติกสมุนไพรสำหรับสัตวบกสัตวปก และสัตวน้ำ ซึ่งจัดวาเปนนวัตกรรมกระบวนการผลิตและผลิตภัณฑสารเสริมชีวนะสมุนไพรโดยอาศัยคุณสมบัติความเปนโปรไบโอติกจากจุลินทรียแลคโตบาซิลลัส ทั้งนี ้ กรดแลคติกจากแลคโตบาซิลลัสและสารสกัดจากสมุนไพรเพื่อนำมาใชเปนสารเสริมชีวนะนี้ จะสามารถเก็บรักษาไวไดนานกวา 6 เดือน โดยมีอัตรารอดของจุลินทรียสูงคุณสมบัติเดน• เปนการพัฒนาการเลี้ยงเชื้อแลคโตบาซิลลัสเพื่อนำมาเปนสารเสริมชีวนะ และอาศัยกรดแลคติกที่เปนผลพลอยไดจากการเลี้ยงเชื้อมาสกัดสมุนไพร 3 ชนิด ไดแก ขมิ้นชัน ฟาทะลายโจร และไพล• มีรายงานการวิจัยการทดลองใชในฟารมปศุสัตวที่มีประสิทธิภาพของการนำไปใชสำหรับการปศุสัตว• เปนการผลิตผลิตภัณฑที่ใชวัตถุดิบและเทคโนโลยีภายในประเทศ เพื่อลดตนทุนการใชสารเสริมชีวนะ หรือสารปฏิชีวนะที่ตองนำเขาจากตางประเทศใหแกเกษตรกรตลาดเปาหมาย• กลุมอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตวเจาของผลงานบริษัท ลานนาเกษตรกรรม จำกัด9/548 ซ.พหลโยธิน 21 ถนนพหลโยธิน จตุจักร กรุงเทพฯโทรศัพท 02-967 7561 โทรสาร 02-967 7562Email: f_pbo@yahoo.comwww.nia.or.th/innomart55


บูธD12-1กากถั่วเหลืองคุณภาพสูง◦ ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦จำหนายแลวโดยทั่วไป กากถั่วเหลืองที่จะนำมาใชเปนอาหารสัตวนั้นจะมีสารพิษ (toxic factor) หรือสารยับยั้งการใชโภชนะ(antinutritional factors) ชนิดตางๆ เชน ทริปซิน (trypsin inhibitor) สารที่ทำใหเกิดอาการแพบวม(allergins) ไฟโตเอสโตรเจน (phytoestrogens) และไฟติน (phytin) โดยสารพิษเหลานี้จะทำใหคุณคาทางโภชนะของกากถั่วเหลืองลดลง ซึ่งจะมีผลตอการนำไปใชประโยชนไดหรือกระบวนการเมทตาบอลิซึมของสารอาหาร นอกจากนี้ ปญหาที่สำคัญมากอีกประการหนึ่งคือการปนเปอนฟอสฟอรัสในมูลสัตวไมเคี้ยวเอื้องเนื่องจาก สัตวไมเคี้ยวเอื้องไมมีเอนไซมไฟเทสจึงไมสามารถยอยกรดไฟติคและใชประโยชนจากฟอสฟอรัสสวนใหญในพืชได ดังนั้น จึงจำเปนที่ตองใชการใชเอนไซมไฟเทสเติมลงไปในอาหารเพื่อเพิ่มการใชประโยชนฟอสฟอรัสในไฟตินใหสูงขึ้น ซึ่งจะชวยใหคุณคาทางโภชนะของกากถั่วเหลืองที่จะนำไปใชเปนสวนประกอบในอาหารสัตวไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยสามารถยอยและใชโภชนะในอาหารไดหมดคุณสมบัติเดน• ใชกรรมวิธีทางเทคโนโลยีชีวภาพซึ่งใชประโยชนจากแลคติกแอซิดแบคทีเรียและเอนไซมไฟเทสเพื่อเพิ่มคุณคาของโภชนะในกากถั่วเหลือง• ลดสารตอตานการนำไปใชประโยชนไดของโภชนะ• เพิ่มคุณคาของฟอสฟอรัสในการถั่วเหลืองจาก ทำใหสัตวสามารถใชประโยชนจากฟอสฟอรัสไดอยางเต็มที่• ลดการเติมฟอสฟอรัสจากแหลงอนินทรียลงในสูตรอาหารสัตว ทำใหราคาอาหารสัตวลดลงตลาดเปาหมาย• กลุมลูกคาตางประเทศ ทั้งในประเทศแถบเอเชียและกลุมประเทศยุโรป• กลุมลูกคาเปาหมายภายในประเทศ- กลุมเกษตรกรผูเลี้ยงสัตว- กลุมฟารมบริษัทซึ่งมีธุรกิจขนาดใหญและทำครบวงจร- กลุมผูประกอบการโรงงานอาหารสัตวและรานคาหรือบริษัทตัวแทนจำหนายสินคาเจาของผลงานบริษัท เวท ซุพีเรีย คอนซัลแตนท จำกัด267/20-21 ซอยสาธุประดิษฐ 15 ถนนสาธุประดิษฐแขวงชองนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120โทรศัพท 02-285 5506 โทรสาร 02-285 547556 21-24 กันยายน 2549 สยามพารากอน กรุงเทพฯ


บูธD12-2อะไมเลส/โปรตีเอส เคลือบไคโตซานสำหรับผสมหัวอาหารสัตว◦ ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦จำหนายแลวผลิตภัณฑเอนไซมอะไมเลส/โปรตีเอส เคลือบผิวดวยไคโตซานสำหรับผสมหัวอาหารสัตว เปนนวัตกรรมดานกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ ซึ่งเปนการนำผลงานวิจัยและพัฒนาของศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีแหงชาติ มาพัฒนาตอยอดโดยไดรับความชวยเหลือดานการออกแบบกระบวนการผลิตจากหนวยปฏิบัติการวิจัยและพัฒนาวิศวกรรมชีวเคมีและโรงงานตนแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี ดวยระบบถังหมักแบบหมุนแบบ solid state fermentation และใชเทคนิคการเคลือบผิวดวยไคโตซาน เพื่อชวยใหผลิตภัณฑหัวอาหารสัตวสามารถรักษาคุณภาพของสารอาหาร วิตามิน เกลือแรและสารเรงการเจริญเติบโตของสัตวใหไดนานยิ่งขึ้นคุณสมบัติเดน• เอนไซมโปรตีเอสทำหนาที่ชวยยอยกลุมสารโปรตีนในอาหารของสัตว• เอนไซมโปรตีเอสชวยใหน้ำยอยในสัตวทำการยอยโปรตีนไดดีขึ้น• เอนไซมอะไมเลสทำหนาที่ชวยยอยกลุมสารคารโบไฮเดรตในอาหารของสัตว• เอนไซมอะไมเลสชวยใหน้ำยอยในสัตวทำงานในการยอยคารโบไฮเดรตไดดีขึ้น• การเคลือบดวยไคโตซานทำใหหัวอาหารสัตว (เอมไซมอะไมเลส/โปรตีเอส) มีความคงตัวมากขึ้นและรักษาคุณภาพของวิตามิน เกลือแร และสารเรงการเจริญเติบโตของสัตวใหเก็บไดนานขึ้นตลาดเปาหมาย• เกษตรกรผูเลี้ยงสัตวเศรษฐกิจ• ผูประกอบการอุตสาหกรรมอาหารสัตวเจาของผลงานบริษัท คลอแมน (ประเทศไทย) จำกัด81/85 หมู 9 ซอยเพชรเกษม 52 แขวงบางหวาเขตภาษีเจริญ กรุงเทพฯ 10160โทรศัพท 02-805 1051-60โทรสาร 02-455 7114 และ 02-455 7132Email: biofineth@hotmail.comwww.nia.or.th/innomart57


บูธD13-14อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย◦ ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ทดลองตลาด ◦ จำหนายแลวอุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทยเปนอุทยานวิทยาศาสตรแหงแรกของประเทศ ภายใตการบริหารของสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ตั้งอยูที่อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเปนศูนยกลางของการวิจัย และการพัฒนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และมีเปาหมายในการเรงการพัฒนาบุคลากรของชาติใหมีศักยภาพเทียบทันนานาประเทศตลอดจนเปนแหลงรวมของนักวิจัยและผูเชี่ยวชาญเฉพาะทางในอุตสาหกรรมตางๆบริการของโครงการอุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย• บริการสนับสนุนดานการเงิน ไดแก ทุนอุดหนุนการวิจัย บริการเงินกูดอกเบี้ยต่ำบริการรวมลงทุน• บริการสนับสนุนดานบุคลากร• บริการฝกอบรมและสัมมนา• บริการสนับสนุนดานเทคนิคและเทคโนโลยี• บริการสนับสนุนดานธุรกิจและกฎหมายหนวยบมเพาะธุรกิจเทคโนโลยี (Technology Business Incubator: TSP-I)หนวยบมเพาะธุรกิจเทคโนโลยีเปนหนวยงานซึ่งจัดตั้งขึ้นภายใตการกำกับดูแลของอุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย เพื่อสงเสริมผูประกอบการใหมทางดานธุรกิจเทคโนโลยี โดยมีภาระหนาที่กระตุนใหเกิดแนวคิดทางเทคโนโลยี เพื่อนำไปสูการประดิษฐ คิดคน การวิจัย การพัฒนา โดยใชฐานความรูในดานตางๆ นำมาบูรณาการเพื่อนำไปสูผลิตภัณฑที่มีนวัตกรรมไปสูเชิงพานิชยแกผูประกอบการบริการของหนวยบมเพาะธุรกิจเทคโนโลยี• ใหบริการบมเพาะธุรกิจเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพโดยการใหคำปรึกษาและเปนพี่เลี้ยงในการดำเนินธุรกิจ• ชวยเหลือนักเทคโนโลยีในการจัดตั้งธุริจของตนเอง• สนับสนุนดานการลงทุนและเงินทุนสำหรับธุรกิจเทคโนโลยีเจาของผลงานอุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย(Thailand Science Park: TSP)111 ถนนพหลโยธิน ตำบลคลองหนึ่งอำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120โทรศัพท 02-564 7000 โทรสาร 02-564 700458 21-24 กันยายน 2549 สยามพารากอน กรุงเทพฯ


D15บูธ แขนกลสำหรับงานเชื่อมและพนสี◦ ระดับงานวิจัย ◦ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦ จำหนายแลวหนึ่งในระบบอัตโนมัติที่ใชในโรงงานอุตสาหกรรม คือ “แขนกล (Articulate arm)” ซึ่งควบคุมผานคอมพิวเตอรทั้งหมด ทั้งนี้ แขนกลดังกลาวจะมีความเร็วและความเที่ยงตรงสูงมาก ทำใหเพิ่มประสิทธิภาพของโรงงาน และเพิ่มความสามารถในการแขงขัน ในบางโรงงานไดมีการศึกษาพบวาเมื่อนำแขนกลมาใชงานจะสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานไดสูงถึง 2 เทา ดังนั้น โรงงานทั่วโลกจึงหันมาเพิ่มแขนกลเขาไปในสายการผลิตที่ผานมาประเทศไทยนำเขาแขนกลมาตลอด โครงการนี้จึงนับไดวาเปนอีกกาวหนึ่งของอุตสากรรมไทยที่จะพัฒนาไปสูสากลคุณสมบัติเดน• เปนการสรางแขนกลตนแบบสำหรับงานเชื่อมและงานพนสีใชในโรงงานอุตสาหกรรม แขนกลนี้มีความสามารถในการทำงานทัดเทียมกับหุนยนตที่นำเขา• เปนหุนยนต 6 แกน น้ำหนักประมาณ 200 กิโลกรัม น้ำหนักที่ยกได 5 กิโลกรัม ควบคุมผานระบบคอมพิวเตอรทั้งหมด• พัฒนารวมกับสถาบันวิทยาการหุนยนตภาคสนาม (FIBO) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรีตลาดเปาหมาย• ในชวงแรกจะมุงไปที่โรงงานผลิตชิ้นสวนยานยนตในประเทศและจะกาวสูตางประเทศตอไปเจาของผลงานบริษัท นิวสมไทย มอเตอรเวอรค จำกัด73/1 หมู 4 ถนนบางนา-ตราด กิโลเมตรที่ 13.5ตำบลบางโฉลง อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการโทรศัพท 02-316 9151-2 โทรสาร 02-316 9155www.nia.or.th/innomart59


D16บูธรถพยาบาลโรคหัวใจ (CCU.)◦ ระดับงานวิจัย ◦ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦ จำหนายแลวเมื่อคราวที่เกิดอุบัติเหตุหรือเกิดเจ็บปวยและตองเคลื่อนยายผูปวยไปยังโรงพยาบาล ทางเลือกหนึ่งคือการใชบริการรถพยาบาลซึ่งสวนใหญจะเปนผูปวยหนัก ผูปวยกลุมนี้บางครั้งมีอาการของโรคที่จำเปนตองใชแพทยหรือเจาหนาที่ดูแลเปนพิเศษ ตลอดจนยังตองพึ่งการใชเครื่องชวยหายใจ เครื่องดูดเสมหะ เครื่องปมหัวใจ เปนตน ทั้งนี้ หากไดเคยสังเกตในโรงพยาบาลเครื่องเหลานี้จำเปนตองใชเจาหนาที่เขาไปติดตั้งตัววัดหรือระโยงระยางสายไปยังตัวผูปวย แตรถพยาบาลในประเทศไทยที่อาศัยการดัดแปลงจากรถตูหลังคาสูงเมื่อติดตั้งเตียงผูปวย เครื่องมือ อุปกรณตางๆ แลวทำใหพื้นที่ใชงานมีนอยลงมาก เจาหนาที่ไมสามารถเขาถึงผูปวยไดทั้งสองดาน และตองกมตัวอยูตลอดเวลา อันจะทำใหไมมีความสะดวกในการฝายปอด หรือนวดหัวใจ และรถตูที่นำมาดัดแปลงเปนรถพยาบาลที่นี้ไมไดออกแบบใหติดตั้งชั้นวางของ ลิ้นชักจึงไมมีเสารับน้ำหนักดานขาง เปนเพียงโลหะปมขึ้นรูปเทานั้น โครงการนี้จึงเปนการออกแบบรถพยาบาลโรคหัวใจใหเจาหนาที่ทำงานไดสะดวก เขาถึงผูปวยไดมากกวาเดิม การติดตั้งเครื่องมือตรงตามหลักสากลคุณสมบัติเดน• เปนนวัตกรรมการออกแบบรถพยาบาลสำหรับผูปวยโรคหัวใจโดยเฉพาะ ติดตั้งเครื่องมือและอุปกรณชวยชีวิตครบถวน โครงสรางของรถผานการวิเคราะหความแข็งแรง การจัดวางตำแหนงการชวยเหลือถูกหลักสรีรศาสตร• เปนการพัฒนาจากองคความรูการตอรถโดยสารและรถชนิดพิเศษ เชน รถทันตกรรม และรถเอ็กซเรย• เปนการบูรณาการกับหนวยงานที่มีองคความรูดานการชวยเหลือผูปวย คือ ศูนยนเรนธร โรงพยาบาลราชวิถีตลาดเปาหมาย• โรงพยาบาลขนาดใหญโดยเฉพาะโรงพยาบาลเอกชนที่เปนศูนยโรคหัวใจเจาของผลงานหางหุนสวนจำกัด เอกวัตร146 หมู 2 ตำบลสระกะเทียมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม 73000โทรศัพท 034-200 135โทรสาร 034-200 13460 21-24 กันยายน 2549 สยามพารากอน กรุงเทพฯ


D17บูธเฟองโซรถจักรยานยนต◦ ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦จำหนายแลวดวยจำนวนรถจักรยานยนตกวา 14 ลานคันบนทองถนนและที่เพิ่มขึ้นกวา 2 ลานคันตอป สงผลใหประเทศไทยมีการเปลี่ยนชิ้นสวนจักรยานยนตที่สึกหรอหลายหมื่นลานบาทตอป หนึ่งในชิ้นสวนนั้นก็คือ “เฟองโซ” ที่เปนสวนหนึ่งของระบบสงกำลังจากเครื่องยนตไปยังลอ เฟองโซนี้โดยปกติจะมีอายุการใชงานประมาณ 1 ปจึงไดมีการพัฒนาผลงานวิจัยของคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ทำใหเฟองโซใหมนี้มีความทนทานมากขึ้นคุณสมบัติเดน• อายุการใชงานมากกวาแบรนดอื่นรอยละ 20• ผานกระบวนการเสริมความแข็งแรงเปนพิเศษ ดวยเทคโนโลยีของคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร• จำหนายพรอมกับโซคุณภาพสูง ผูใชจักรยานยนตจะเปลี่ยนพรอมกันทั้งสองชิ้น ทำใหชวยยืดอายุการใชงานตลาดเปาหมาย• ผูใชรถจักรยานยนตทั้งในและตางประเทศ• โรงงานประกอบรถจักรยานยนตทั้งในและตางประเทศเจาของผลงานบริษัท เอส ซี ซี เทค จำกัด125 หมู 21 ตำบลบางพลีใหญอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการโทรศัพท 02-384 0849-50 โทรสาร 02-384 0848www.nia.or.th/innomart61


D18บูธถังคอมโพสิทบรรจุกาซปโตรเลียมเหลว◦ ระดับงานวิจัย ◦ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦ จำหนายแลวประเทศไทยใชถังเหล็กบรรจุกาซปโตรเลียมเหลว (LPG) มาเปนระยะเวลานาน โดยมีใหเลือกใชหลากหลายขนาดตามความตองการของผูบริโภค แตผูบริโภคก็มักประสบปญหา คือ ถังมีน้ำหนักมาก เกิดสนิมงายไมทันสมัย มีอายุการใชงาน 5-10 ป อีกทั้งยังตองใชงบประมาณในการบำรุงรักษาจำนวนมาก ดังนั้น จึงไดมีการพัฒนาถังคอมโพสิทเพื่อทดแทนผลิตภัณฑดังกลาว เนื่องจากถังคอมโพสิตมีน้ำหนักเบากวาถังเหล็ก 3 เทาไมเกิดสนิม มีอายุการใชงาน 10-20 ป และสามารถมองเห็นเนื้อกาซได รวมทั้งยังมีรูปแบบที่ทันสมัยเหมาะสำหรับครอบครัวยุคใหม ตลอดจนสามารถผลิตไดเองในประเทศจากการวิจัยดานความตองการผูบริโภคในอุตสาหกรรมคากาซปโตรเลียมเหลว ถังคอมโพสิทเหมาะสำหรับเปนทางเลือกสำหรับผูบริโภคที่สนใจถังกาซรูปลักษณใหมที่แตกตาง เพื่อทดแทนถังเหล็กเดิมคุณสมบัติเดน• เปนผลิตภัณฑถังคอมโพสิทบรรจุกาซปโตรเลียมเหลวที่มีองคประกอบ 3 สวน คือ สวนพลาสติกภายใน(plastic liner) สวนเสนใยเสริมแรง (reinforcement fiber) และสวนพลาสติกภายนอก (plastic case)• ใชเทคโนโลยีการพัน filament winding แบบ 5 แกน ที่พัฒนาขึ้นเองในประเทศตลาดเปาหมาย• กลุมลูกคาของบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)• กลุมผูคากาซในประเทศ และตางประเทศเจาของผลงานบริษัท ยูนิเทค โพรดักส จำกัด67/5 หมู 7 ซอยฟารมเกษมตำบลออมนอย อำเภอกระทุมแบนจังหวัดสมุทรสาคร 74130โทรศัพท 02-877 4200 โทรสาร 02-877 420762 21-24 กันยายน 2549 สยามพารากอน กรุงเทพฯ


บูธD19-20รถไฟฟาความเร็วต่ำ “SWS”◦ ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦จำหนายแลวปจจุบัน ปรัชญาการดำรงชีวิตของมนุษยที่มุงไปสอดคลองกับแนวทางของธรรมชาติมากขึ้น การรักษาสภาวะแวดลอมมากยิ่งขึ้น นโยบายของประเทศที่พัฒนาแลวหลายประเทศที่กำหนดใหบริษัทที่ขายรถยนตประเภทเครื่องยนตสันดาปตองผลิตรถที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมดวย และดวยสาเหตุของน้ำมันที ่มีแนวโนมจะหมดไปในเวลาอีกไมนาน จึงเปนแรงสงใหมนุษยหันมาพัฒนาเทคโนโลยีการขนสงที่ใชพลังงานไฟฟาที่ไมปลอยมลพิษ (zero emission vehicle) จึงเกิดรถประเภทใหมที่บริษัทชั้นนำทั้งหลายเริ่มพัฒนาวิจัยกันอยางตอเนื่อง ไมวาจะเปนรถกอลฟ รถไฟฟาความเร็วต่ำ (low speed vehicle) หรือเรียกอีกชื่อวารถ NEV(neighborhood electric vehicle) รวมทั้งรถยนตที่ใชไฟฟาในการขับเคลื่อน เชน รถยนต hybrid เปนตนคุณสมบัติเดน• ความเร็วสูงสุด 60 กม./ชม. ระยะทางไกลสุด 60 กม. ตอการชารจหนึ่งครั้ง• ระบบความปลอดภัย อาทิ เข็มขัดนิรภัย 3 จุด กระจกหนาแบบอัดซอน 2 ชั้น ไฟหนาและไฟทายพรอมไฟเลี้ยว ระบบบังคับเลี้ยวและชวงลางแบบเดียวกับรถยนต• แบตเตอรี่ Deep cycle 48 โวลท ประสิทธิภาพสูง ใชงานไดทนทานตลาดเปาหมาย• ในชวงแรกจะมุงสงออกไปยังประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศในสหภาพยุโรปเจาของผลงานบริษัท เอสดับบลิวเอส มอเตอรส จำกัด902 ถนนมิตรภาพ ตำบลในเมืองอำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา 30000โทรศัพท 044-240 390 โทรสาร 044-240 399www.nia.or.th/innomart63


บูธD21-24นวัตกรรมผลิตภัณฑสำหรับยานยนต◦ ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦จำหนายแลวบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) เปนหนึ่งในบริษัทฯ ชั้นนำของประเทศไทยในการพัฒนาผลิตภัณฑนวัตกรรมของประเทศ โดยในป 2549 บริษัทฯ ไดมีการพัฒนาผลิตภัณฑนวัตกรรมน้ำมันหลอลื่นชิ้นลาสุด คือPERFORMA NGV ซึ่งเปนน้ำมันหลอลื่นกึ่งสังเคราะห (semi–synthetic) คุณภาพสูงสุดที่ออกแบบพิเศษสำหรับยานยนตที่ใชกาซธรรมชาติเปนเชื้อเพลิง (NGV หรือ CNG) และสามารถยืดอายุการใชงานไดยาวนานถึง 15,000 กิโลเมตรPERFORMA NGV ชวยลดภาระการทำงานของยานยนตที่ใช NGV ในสวนของเครื่องยนตที่อุณหภูมิสูงขึ้นกวาปกติ ซึ่งอาจสงผลใหน้ำมันหลอลื่นที่เคยใชมีอายุการใชงานที่สั้นลง และเครื่องยนตที่มีการสึกหรอสูงขึ้น นอกจากนี้ PERFORMA NGV ยังไดรับการรับรองมาตรฐานสูงสุดจากสหรัฐอเมริกา (API SM)และผานการทดสอบการใชงานภาคสนามในสภาวะการใชงานหนักในรถ NGV รุนตางๆคุณสมบัติเดน• ชวยรักษาความสะอาดเครื่องยนตและปองกันคราบโคลนไดดีกวา• ปองกันการสึกหรอของชิ้นสวนและชุดขับเคลื่อนวาลว (valve train) สูงสุด• ปองกันกรดจากการเผาไหมที่อุณหภูมิสูงของ NGV• อัตราการระเหยและการกินหลอลื่นต่ำ ลดการเติมพรอง (top–up)• เพิ่มสารพิเศษชวยยืดอายุการใชงานไดนานกวา• ชวยเพิ่มสมรรถนะ การออกตัวและเรงแซงดีขึ้นตลาดเปาหมาย• ผูขับขี่รถยนตนั่ง (เบนซิน) ที่ใชเชื้อเพลิง NGVเชน รถเกงสวนบุคคล รถแท็กซี่ และรถตูเจาของผลงานบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)555 ถนนวิภาวดีรังสิต เขตจตุจักร กทม. 10900โทรศัพท 02-537 2413 และ 02-537 248864 21-24 กันยายน 2549 สยามพารากอน กรุงเทพฯ


D25บูธแปงขาวเจาดัดแปรเพื่อใชเปนสารเพิ่มปริมาณยาเม็ด◦ ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦จำหนายแลวแปงขาวเจาดัดแปรเพื่อใชเปนสารเพิ่มปริมาณยาเม็ด เปนนวัตกรรมระดับโลกของคนไทยดานการผลิตแปงขาวเจาดัดแปรเพื่อใชเปนสารเพิ่มปริมาณยาเม็ด ภายใตชื่อ “Era-tab” โดยไดรับรางวัลชนะเลิศผลงานนวัตกรรมทางดานเศรษฐกิจ ในการประกวดรางวัลนวัตกรรมแหงชาติป 2548 ที่ผานมา ทั้งนี้ ผลงานดังกลาวสามารถชวยลดตนทุนการผลิตยาเม็ด เนื่องจากราคาแปงถูกกวาสารเพิ่มปริมาณในการผลิตยาเม็ดที่นำเขาอื่นๆเชน แปงขาวโพด เซลลูโลส และแล็กโตส ถึงรอยละ 50 โดยมีมูลคาการตลาดในประเทศไมต่ำกวา 50 ลานบาท นอกจากนี้ ยังเปนการสรางมูลคาเพิ่มใหกับแปงขาวเจามากกวา 3 เทา อีกทั้งมีศักยภาพสูงในการสงออกไปยังตางประเทศคุณสมบัติเดน• มีลักษณะเปนทรงกลมจากการเกาะกลุมของเม็ดแปง จึงมีคุณสมบัติการไหลที่ดี (free flowing)• เปนสารที่ใชตอกเม็ดยาในระบบตอกตรง ใหคุณสมบัติของเม็ดยามีความแข็งแรงสูง ความกรอนต่ำสามารถแตกตัวและปลดปลอยตัวยาไดอยางรวดเร็ว• สามารถทดแทนการนำเขาสารเพิ่มปริมาณยาเม็ดจากตางประเทศ• สามารถเพิ่มมูลคาใหกับขาวไทยและสงออกไปขายยังตางประเทศไดทั่วโลกตลาดเปาหมาย• กลุมอุตสาหกรรมผลิตยาเม็ดเจาของผลงานบริษัท เอราวัณฟารมาซูติคอล รีเซิชแอนด ลาบอราตอรี่ จำกัด494/15-16 ถนนวานิช 1 สัมพันธวงศ กรุงเทพฯ 10100โทรศัพท 02-224 0144 โทรสาร 02-224 0992Email: varatus@choheng.comwww.nia.or.th/innomart65


D26บูธแปงฝุนจากแปงขาวเจา◦ ระดับงานวิจัย ◦ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦ จำหนายแลวแปงฝุนจากแปงขาวเจาดัดแปร เปนนวัตกรรมผลิตภัณฑระดับโลกในการนำแปงขาวเจาบริสุทธิ์มาดัดแปรเนื่องจากมีความปลอดภัยมากกวาเพราะเปนสารอินทรียซึ่งยอยสลายไดโดยธรรมชาติ เพื่อใชทดแทนแปงทัลคัมซึ่งเปนสารอนินทรียเพราะเปนแรหินชนิดหนึ่งจึงไมสามารถยอยไดโดยธรรมชาติ และเพื่อทำเปนแปงฝุนซึ่งใชทำแปงเครื่องสำอาง เชน แปงผัดหนา แปงทำตัว และแปงทาตัวเด็ก เปนตนปจจุบันนี้ ในบางประเทศโดยเฉพาะสหรัฐอเมริกา นายแพทยแนะนำผูบริโภคใหใชผลิตภัณฑแปงฝุนที่ทำมาจากแปงขาวโพดแทนแปงทัลคัมเพราะใหความปลอดภัยมากกวา ประเทศไทยซึ่งมีความพรอมทางดานวัตถุดิบคือ “ขาว” และมีผูเชี่ยวชาญและเทคโนยีในการผลิตแปงขาวเจาดัดแปร จึงมีโอกาสเปนผูนำในการผลิตแปงฝุนจากแปงขาวเจาดัดแปร เพราะมีคุณสมบัติที่ดีกวาแปงขาวโพดในดานความขาว ความละเอียด ปองกันความชื้น ทั้งยังดูดซับความมันไดดีกวาอีกดวยคุณสมบัติเดน• เปนแปงฝุนที่ผลิตจากแปงขาวเจา• มีคุณสมบัติใกลเคียงกับแปงฝุนจากทัลคัม• เปนแปงฝุนที่มีโปรตีนต่ำสามารถใชในอุตสาหกรรมถุงมือยางในทางการแพทยได• สามารถเพิ่มมูลคาใหกับขาวไทยตลาดเปาหมาย• กลุมอุตสาหกรรมเครื่องสำอางและอุตสาหกรรมถุงมือยางเจาของผลงานบริษัท เนอเชอรแคร จำกัด (NURTURE CARE CO., LTD.)494/15-16 ถนนวานิช 1 สัมพันธวงศ กรุงเทพฯ 10100โทรศัพท 02-224 0144 โทรสาร 02-224 0992Email: varatus@choheng.com66 21-24 กันยายน 2549 สยามพารากอน กรุงเทพฯ


บูธD27-28สเต็มเซลล นวัตกรรมการแพทยในอนาคต◦ ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦จำหนายแลวสเต็มเซลล (stem cells) หรือเซลลตนกำเนิด เปนสิ่งที่กำลังอยูในความสนใจอยางมากในปจจุบันทั้งในโลกของการแพทยและโลกของวิทยาศาสตร เนื่องจากเชื่อกันวาสเต็มเซลลสามารถเพิ่มจำนวนและเปลี่ยนสภาพเปนเนื้อเยื่อชนิดตางๆ อวัยวะและระบบตางๆ ในรางกายได ดังนั้น จึงไดมีการนำสเต็มเซลลไปใชในการสรางสวนตางๆ ของรางกายและซอมแซมเนื้อเยื่อที่เสื่อมสภาพ ถูกทำลาย ตลอดจนนำไปใชเพื่อการรักษาโรคสเต็มเซลลในตัวเต็มวัย (adult stem cells; ASC) เปนสเต็มเซลลชนิดที่นักวิทยาศาสตรและแพทยสวนใหญใหความสำคัญและนำไปใชประโยชนทางดานการแพทย โดยสามารถเลือกเก็บ ASC ได 3 วิธี ไดแกไขกระดูก กระแสโลหิต และเลือดจากสายสะดือของทารก (cord blood)ทั้งนี้ ในชวงระยะเวลาที่ผานมา ไดมีการนำสเต็มเซลลไปใชในการรักษาโรคตางๆ เชน โรคแทรกซอนในผูปวยเบาหวาน โรคเสนเลือดหัวใจอุดตัน โรคธาลัสซีเมีย และโรคทางระบบประสาทตางๆ โดยพบวาผลการรักษาที่ผานมาใหผลเปนที่นาพอใจเปนอยางมากคุณสมบัติเดน• เปนการบริการรับฝากสเต็มเซลล (stem cell bank) เพื่อนำไปใชเพื่อการรักษาตนเอง และ/หรือ ญาติพี่นอง ที่เปนโรคที่ไมอาจรักษาไดในอนาคต เชน โรคธาลัสซีเมีย โรคลูคีเมีย โรคแทรกซอนในผูปวยเบาหวาน เปนตน• สเต็มเซลลสามารถนำไปใชในการสรางสวนตางๆ ของรางกายและซอมแซมเนื้อเยื่อที่เสื่อมสภาพ ถูกทำลายไดตลาดเปาหมาย• ประชาชนทั้งในและตางประเทศเจาของผลงานบริษัท ไทย สเตมไลฟ จำกัดชั้น 23 อาคารสำนักงานเซ็นทรัลเวิลด999/9 ถนนพระรามที่ 1 เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330โทรศัพท 02-613 1515-8 โทรสาร 02-613 1519www.nia.or.th/innomart67


D29บูธJOYCE ผลิตภัณฑสมุนไพรกวาวเครือ◦ ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦จำหนายแลว“กวาวเครือขาว” เปนหนึ่งในสมุนไพรที่ไดรับความนิยมจากผูบริโภคเปนอยางมาก โดยเฉพาะสุภาพสตรีเนื่องจากความเชื่อที่วาสมุนไพรดังกลาวจะชวยทำใหสุขภาพรางกายเจริญเติบโตไดดีขึ้น บำรุงกำลัง บำรุงสุขภาพใหสมบูรณ บำรุงความกำหนัด และเปนยาอายุวัฒนะ จากการศึกษาทางวิทยาศาสตรพบวากวาวเครือขาวประกอบดวยสารสำคัญตางๆ อาทิ เจนิสเตอิน (genistein) และไดอะเซอิน (daidzein) ซึ่งมีคุณสมบัติตอตานอนุมูลอิสระ และยับยั้งจุลินทรีย ตลอดจนมีฤทธิ์ลดปริมาณคลอเลสเตอรอลในเสนเลือดซึ่งเปนสาเหตุของโรคเสนเลือดอุดตัน อีกทั้งยังพบวาสารสกัดในเหงาของกวาวเครือขาวยังแสดงคุณสมบัติเปนสารออกฤทธิ์คลายฮอรโมนเอสโตรเจน (estrogenic activity) ซึ่งเปนผลกระตุนใหเกิดการเจริญของเซลลเตานมในคนไดอยางไรก็ดี ไดมีขอเตือนไววา “ไมควรใชกวาวเครือขาวในปริมาณที่มากเกินจำเปน เพราะอาจเกิดอันตรายได”ดังนั้น ผลิตภัณฑสมุนไพรกวาวเครือขาวจึงไดถูกพัฒนาเปนผลิตภัณฑตางๆ ที่มีความหลากหลายคุณสมบัติเดน• เปนผลิตภัณฑที่พัฒนามาจากสิทธิบัตรประเทศสหรัฐอเมริกา เลขที่ 6,673,377ซึ่งไดรับการพัฒนาจากนักวิจัยจากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย• เปนผลิตภัณฑที่ชวยกระชับผิว ทำใหผิวดูเปรงปรั่ง• ผานการทดสอบดานความปลอดภัยแลวตลาดเปาหมาย• กลุมลูกคาทั้งในและตางประเทศเจาของผลงานบริษัท ล็อกซเลย เทรดดิ้ง จำกัด102 อาคารล็อกซเลย ชั้น 1 และชั้น AAถนน ณ ระนอง แขวงคลองเตยเขตคลอดเตย กรุงเทพฯ 10110โทรศัพท 02-350 2000 โทรสาร 02-350 200168 21-24 กันยายน 2549 สยามพารากอน กรุงเทพฯ


D30บูธPlaitanoids ผลิตภัณฑสมุนไพรไพล◦ ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦จำหนายแลว“ไพล” เปนสมุนไพรไทยที่พบไดเฉพาะในประเทศไทย และมีการใชกันอยางแพรหลายทางการแพทยแผนไทยมาเปนเวลานาน โดยใชเปนน้ำมันนวดเพื่อบรรเทาอาการปวดบวมและอักเสบ นอกจากนี้ น้ำมันหอมระเหยยังไดถูกนำมาใชในธุรกิจสปา จึงไดมีการศึกษาคนควาและวิจัย โดยพบวา “ไพล” ประกอบดวยสารออกฤทธิ์เทอรไพนีน-4-ออล (terpinen-4-ol) ที่มีคุณสมบัติตอตานเชื้อแบคทีเรีย (anti-bacterial) และสารดีเอ็มพีบีดี (DMPBD) ซึ่งเปนสารออกฤทธิ์ชนิดใหมและชนิดเดียวที่พบในไพลและที่มีประสิทธิภาพลดการอักเสบ (anti-inflammatory) ไดดีกวา “ไดโคฟแนค (diclofenac)”บริษัท โควิก เคทท อินเตอรเนชั่นแนล (ประเทศไทย) จำกัด จึงไดรวมกับโครงการพัฒนาบัณฑิตศึกษาและการวิจัยทางเคมี (PERCH) และกลุมเครือขายวิสาหกิจ 5 บริษัท พัฒนาสารสกัดไพล “ไพลทานอยด”ซึ่งสามารถนำไปใชตอยอดเปนผลิตภัณฑเครื่องสำอางและผลิตภัณฑสปาไดอยางมีประสิทธิภาพคุณสมบัติเดน• เปนผลิตภัณฑที่สามารถลดอาการปวดเมื่อย อาการอักเสบของรายกายได• มีคุณสมบัติปองกันเชื้อแบคทีเรียไดเทียบเทาสารสกัดจากสมุนไพร tree tea oil ของตางประเทศ อีกทั้งยังมีคุณสมบัติตอตานอนุมูลอิสระดวย• สามารถนำไปพัฒนาเปนผลิตภัณฑเครื่องสำอางตางๆ เชน สบู ครีมนวด แชมพู และโลชั่น เปนตนตลาดเปาหมาย• กลุมลูกคาทั้งในและตางประเทศ• กลุมผูประกอบการในอุตสาหกรรมเครื่องสำอางและสปาเจาของผลงานบริษัท โควิก เคทท อินเตอรเนชั่นแนล (ประเทศไทย) จำกัด688/60,62,64 หมู 7 ถนนแจงวัฒนะ แขวงอนุเสาวรียเขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220โทรศัพท 02-521 7888 โทรสาร 02-521 7890www.nia.or.th/innomart69


D31บูธผลิตภัณฑทางการเกษตรเพื่อการสงออก◦ ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦จำหนายแลวการทำเกษตรกรรมในประเทศไทยเพื่อการสงออก จำเปนตองมีกระบวนการเพาะปลูก และกระบวนการแปรรูปที่ทันสมัย เพื่อใหสามารถผานมาตรฐานสำหรับการสงออกได ดังนั้น บริษัท ริเวอรแคว อินเตอรเนชั่นแนล อุตสาหกรรมอาหาร จำกัด จึงไดพัฒนาผลิตภัณฑเกษตรดวยเทคโนโลยีที่ทันสมัย นอกจากนี้ผลิตภัณฑของทางบริษัทฯ ยังคำนึงถึงสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะอยางยิ่งการนำระบบเกษตรอินทรียมาประยุกตใชกับระบบการเพาะปลูก ตลอดจนยังมีการพัฒนาการวิจัยสายพันธุขาวโพดพันธุผสมที่สามารถบรรจุกระปองสงขายไปทั่วโลกคุณสมบัติเดน• มีการควบคุมคุณภาพของวัตถุดิบที่ไดมาตรฐานเนื่องจากมีแปลงเพาะปลูกของบริษัทเอง• ใชระบบเกษตรอินทรีย โดยคำนึงถึงระบบนิเวศนเปนหลัก• มีโรงงานแปรรูปผลิตภัณฑที่ทันสมัย• ผลผลิตที่ไดจัดเปนอาหารประเภทอินทรียปลอดจากสารเคมีและสารปฏิชีวนะตลาดเปาหมาย• กลุมผูบริโภคทั่วโลกกวา 50 ประเทศเจาของผลงานบริษัท ริเวอรแคว อินเตอรเนชั่นแนล อุตสาหกรรมอาหาร จำกัด99 หมู 1 ตำบลแกงเสี้ยน อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี 71000โทรศัพท 034-653 323 โทรสาร 034-653 390Email: river@ksc.th.com70 21-24 กันยายน 2549 สยามพารากอน กรุงเทพฯ


D32บูธ เซรั่มใยไหมปดผมขาว◦ ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ทดลองตลาด ◦ จำหนายแลว“เซรั่มใยไหมปดผมขาว” เปนผลิตภัณฑสมุนไพรปดสีผมที่ผลิตจากสารสกัดจากเฮนนามีชื่อวา lawsoneใหสีสมแดงมีขนาดโมเลกุลไมใหญเมื่อเทียบกับกรดอะมิโน จึงสามารถเขาไปเกาะกับโปรตีนในเสนผม ทำใหสีของเสนผมเขมขึ้น สารสกัดสีเสียด acacia catechu ใหสีน้ำตาลแดง ทำหนาที่ฝาดสมานชวยใหสีติดทนeclipta prostrate ใหสีดำทำหนาที่ฝาดสมานชวยใหสีติดทน วิตามินบี 5 (d-panthenol) เปนสารที่สามารถซึมผานเนื้อเสนผมชั้น cortex เขาไปไดเร็ว และมีคุณสบัติเปน moisturizer สารสกัดจากผงไหม fibroinและกรดอะมิโนธรรมชาติ ทำใหผมนุมเงางามคุณสมบัติเดน• เปนผลิตภัณฑเปลี่ยนสีผมชนิดกึ่งถาวร โดยใชวัตถุดิบจากธรรมชาติ• ปราศจากสารเคมีควบคุม เชน ไฮโดรเจนเปอรออกไซด และแอมโมเนีย เปนตน• เมื่อใชแลวเสนผมมีน้ำหนัก ไมลีบแบน และสีติดทนนาน• สะดวกในการใชงานตลาดเปาหมาย• สถาบันดูแลสุขภาพผม และรานเสริมสวย• ผูบริโภคที่ตองการเปลี่ยนสีผมเจาของผลงานบริษัท ชูลส รีเซิซ จำกัดที่อยู 29 ออนนุช 20 สุขุมวิท สวนหลวง กรุงเทพฯ 10250โทรศัพท 02-331 0915 โทรสาร 02-333 0229Email: drschulzt@yahoo.comwww.nia.or.th/innomart71


บูธD33-34เสื้อซิลเวอรนาโน◦ ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦จำหนายแลวปจจุบัน ความตองการสิ่งทอหรือเสื้อผาที่สามารถปองกันแสงอัลตราไวโอเลต (ultraviolet; UV) และสามารถปองกันการเจริญเติบโตของจุลินทรียซึ่งเปนสาเหตุของกลิ่นอับตางๆ กำลังเปนที่ตองการของผูบริโภคโดยเฉพาะประเทศไทยเปนอยางมาก จึงไดมีการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการดังกลาว ทั้งการใชสารเคมีชนิดตางๆและเทคโนโลยี “นาโนซิลเวอร” เนื่องจากซิลเวอรมีคุณสมบัติในการตอตานเชื้อแบคทีเรีย (anti-microbial)และมีคุณสมบัติในการฆาเชื้อ (germicidal effect)บริษัท ยูไนเต็ด เท็กซไทล มิลล จำกัด จึงไดรวมกับสถาบันวิจัยโลหะและวัสดุ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยในการพัฒนากระบวนการผลิตเสื้อที่มีอนุภาคซิลเวอรนาโนเคลือบบนเสนใยผา เพื่อชวยในการกำจัดแบคทีเรียซึ่งเปนสาเหตุของกลิ่นอับชื้นบนเสื้อผาคุณสมบัติเดน• เสื้อผาซิเวอรนาโนนี้สามารถปองกันกลิ่นอับชื้นไดเปนอยางดี• ผานการทดสอบผลิตภัณฑสิ่งทอนาโนซิลเวอรนี้ตามมาตรฐาน AATCC 100 ซึ่งเปนการทดสอบประสิทธิภาพในการตอตานเชื้อแบคทีเรียบนสิ่งทอและพบวาผลิตภัณฑนี้มีประสิทธิภาพตรงตามมาตรฐานAATCC 100• ผานการทดสอบการระคายเคืองแลว พบวาไมมีอันตรายตลาดเปาหมาย• ประชาชนทั่วไปทั้งในและตางประเทศ โดยเฉพาะกลุมนักกีฬา ฯลฯเจาของผลงานผูผลิต: บริษัท ยูไนเต็ด เท็กซไทล มิลล จำกัด18/8 ซอยวัดออมใหญ ถนนเพชรเกษม ตำบลออมใหญอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐมโทรศัพท 02-812 7211-5 โทรสาร 02-420 3408ผูจัดจำหนาย: บริษัท อินโนเทค เท็กซไทล จำกัด72 21-24 กันยายน 2549 สยามพารากอน กรุงเทพฯ


บูธD35-1ขาวมอลตสำหรับหุงรับประทาน◦ ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦จำหนายแลวเปนหนึ่งในกลุมผลิตภัณฑแปรรูปเพื่อสรางมูลคาเพิ่มแกขาวไทย ดำเนินการโดยโครงการวิจัยมอลตขาวไทยมหาวิทยาลัยรังสิต ตั้งแตป 2543 และไดรับทุนสนับสนุนจาก สพท.ปท.เขต 1 จังหวัดปทุมธานี เพื่อถายทอดเทคโนโลยีมอลตขาวไทยแกกลุมเกษตรกรผูปลูกขาว หมูที่ 8 บานทางยาว อ.สามโคก จ. ปทุมธานี เพื่อขยายผลการผลิตขาวมอลตสำหรับหุงรับประทานออกสูตลาดในป 2549ปจจุบัน มหาวิทยาลัยรังสิต ไดจัดตั้งบริษัท RSU Innovation Products เพื่อดำเนินการเชิงพาณิชยในกลุมผลิตภัณฑมอลตขาวไทยแปรรูป มีการประสานความรวมมือครบวงจร ตั้งแตระดับเกษตรกรผูปลูกและผลิตขาวตนทาง เขาสูขั้นตอนการแปรรูปในภาคอุตสาหกรรม จนถึงดำเนินการการสงเสริมการตลาดและการขายเปนผลิตภัณฑที่พรอมจำหนาย อาทิ เครื่องดื่มน้ำนมขาวมอลต (มอลตามิลค) มอลตสกัดเขมขน เครื่องดื่มชามอลตและชาเขียวผสมน้ำเชื่อมขาวมอลต ขาวมอลตสำหรับหุงรับประทาน และเครื่องดื่มเลียนแบบวิสกี้จากมอลตขาวไทยคุณสมบัติเดน• เพิ่มคุณสมบัติการรับประทานดานกลิ่นรสที่หอมหวานและความนุมของเมล็ด ใหแกเมล็ดขาว• ตรวจพบปริมาณวิตามินบีหนึ่ง และวิตามินบีสองเพิ่มสูงขึ้นจากขาวปกติและขาวกลองปกติ 1-3 เทา• สรางมูลคาเพิ่มใหกับขาวไทย สามารถขยายผลใชกับขาวทุกสายพันธุทั้งขาวเหนียวและขาวเจา• สามารถใชเปนวัตถุดิบในการแปรรูปเปนผลิตภัณฑในกลุมอาหารและเครื่องดื่มหลายชนิดทดแทนมอลตนำเขาตลาดเปาหมาย• โรงแรม ภัตตาคาร และสปาสุขภาพ• ผูบริโภคทั่วไป• สงออก ในตลาดขาวกลุมพรีเมี่ยมเจาของผลงาน• วิสาหกิจชุมชนเฉลิมพระเกียรติบานทางยาวหมู 8 บานทางยาว ตำบลคลองควาย อำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี• บริษัท RSU Innovation Products จำกัด52/347 มหาวิทยาลัยรังสิต หมูบานเมืองเอก ตำบลหลักหก อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานีwww.nia.or.th/innomart73


บูธD35-2ครีมบำรุงผิวจากขาว◦ ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦จำหนายแลวผลิตภัณฑบำรุงผิวจากน้ำมันจมูกขาว “J.ANGEL RICE” เปนการนำเอาจมูกขาวมาสกัดน้ำมัน เพื่อใชเปนสวนผสมในเครื่องสำอางบำรุงผิว เนื่องจากจมูกขาวอุดมไปดวยแรธาตุ โดยเฉพาะมีวิตามินอีในรูปของโทโคฟรอล (tocopherol & tocotrienol) ปริมาณสูง อีกทั้งยังมีสารแกมมาออริซานอล (gamma-oryzanol)และกลุมสารเซราไมด (ceramide) ซึ่งสารเหลานี้มีคุณคาตอเซลลของผิวหนัง อาทิ ปกปองผิวหนังจากแสงยูวีเอ และยูวีบี สาเหตุของฝา กระ มะเร็งผิวหนัง และยังบำรุงผิวพรรณใหคงความชุมชื้นฟนฟูผิว ไมใหแหงแตก และเหี่ยวยนผลิตภัณฑนวัตกรรม• วิตามินน้ำนมจมูกขาว เซรั่มวิตามินจมูกขาว ครีมบำรุงผิวสำหรับเวลากลางคืน และสบูลามินลคุณสมบัติเดน• เปนผลิตภัณฑที่ผลิตจากวัตถุดิบธรรมชาติ มีคุณสมบัติ ปกปองผิวหนังจากแสงยูวีเอ และยูวีบี สาเหตุของฝา กระ และยังบำรุงผิวพรรณใหคงความชุมชื้นฟนฟูผิว ไมใหแหงแตก และเหี่ยวยน• สรางมูลคาเพิ่มใหกับขาวไทยตลาดเปาหมาย• สถาบันเสริมความงาม• ผูบริโภคทั่วไปเจาของผลงานหางหุนสวนจำกัด แองเจิลไรซ80/15 ถนนคฑาธร อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี 70000โทรสาร 032-326 937 และ 02-275 5331โทรศัพทมือถือ 086-341 9686 และ 086-733 644674 21-24 กันยายน 2549 สยามพารากอน กรุงเทพฯ


D36บูธ นวัตกรรมอุปกรณเครื่องกีฬา◦ ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦จำหนายแลว“มหัศจรรย” ตะกรอพลาสติกผิวนุมเปนการใชเทคโนโลยีดานวิทยาศาสตรในกระบวนการยึดติดระหวางเสนฐานที่เปนพลาสติกและผิวนุมที่เปนยางประเภทเทอรโมพลาสติกอีลาสโตเมอร ที่มีคุณสมบัติออนนุมเหมือนยางและสามารถขึ้นรูปไดเหมือนพลาสติก มาประกอบเปนลูกตะกรอที ่ไดมาตรฐานที่ในกติกาการเลนกีฬาตะกรอคุณสมบัติเดนตะกรอมหัศจรรย รุน MT 903 แขงขันชาย ประกอบดวย• ตะกรอพลาสติกผิวยาง ชวยลดแรงกระแทก ลดความเจ็บขณะฝกซอมหรือแขงขัน• เพิ่มประสิทธิภาพของเกมรุก ดวยลูกที่กลมกวา• เพิ่มความมั่นใจในเกมรับ ผิวยางชวยเพิ่มความหยุน เกาะติด สามารถบังคับทิศทางไดดั่งใจ“I Talk” เครื่องออกกำลังกายอัจฉริยะ “พูดได” เปนเครื่องออกกำลังกายที่มีเสียงพูดขณะมีการใชงานเพื่อคอยแนะนำใหทำตามขั้นตอน ตั้งแตการตั่งคาขอมูล การเลือกโปรแกรมการเลนและการออกกำลังกายจนจบขั้นตอนทุกขั้นตอนคุณสมบัติเดนของผลิตภัณฑ I Talk คือ• มีโปรแกรมการออกกำลังกายหลักไว 3 โปรแกรม คือ โปรแกรมฝกความแข็งแรงของหัวใจ โปรแกรมรักษารูปราง ลดความดันโลหิต และโปรแกรมลดไขมัน ลดความเครียด• มีความปลอดภัยสูงเพราะบรรจุเครื่องวัดอัตราการเตนหัวใจของ Polar เขาไปจึงทำใหการวัดอัตราการเตนหัวใจมีความเที่ยงตรงสูงกวาอุปกรณชนิดอื่น ทำใหรูคาความเหนื่อยของหัวใจจริงๆ“พลัสตองไททาเนียม” เปนนวัตกรรมลูกเปตองแข็งเหล็ก ดวยการชุบแข็งแบบพิเศษทำใหผิวลูกเปตองมีความแข็งแกรง ไมบุบ ทนทานตอรอยขูดขีดทุกสภาพสนามตลาดเปาหมาย• นักกีฬา• นักเรียน นักศึกษา• ประชาชนทั่วไปเจาของผลงานบริษัท มาราธอน (ประเทศไทย) จำกัด149 ถนนบรมราชชนนี แขวงอรุณอัมรินทรเขตบางกอกนอย กรุงเทพฯ 10700โทรศัพท 02-434 0500 โทรสาร 02-433 3722-6www.nia.or.th/innomart75


D37บูธสบูดำพืชพลังงานในอนาคตและกอนเพาะปลูกมหัศจรรย◦ ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦จำหนายแลวสบูดำเปนพืชน้ำมันที่ไดรับความสนใจเปนอยางมากทั้งภาครัฐ เอกชน และเกษตรกร แตเนื่องจากรัฐบาลยังไมมีการกำหนดพื้นที่และยังไมสงเสริมการปลูกอยางเปนทางการ จึงทำใหการปลูกสบูดำอยูในระดับการสาธิตการเพาะปลูกในบางพื้นที่ ในการนี้ บริษัท น้ำมันสบูดำไทย จำกัด จึงไดคิดคนและพัฒนานวัตกรรมการเพาะปลูกสบูดำ พรอมกับพัฒนาเทคโนโลยีของการผลิตน้ำมันสบูดำใหมีคุณสมบัติที่สามารถใชทดแทนน้ำมันดีเซล น้ำมันสบูดำดิบที่ผานการปรับปรุงคุณภาพแลวสามารถใชเดินเครื่องยนตทางเกษตรไดโดยตรง และเมื่อนำน้ำมันสบูดำไปผานกระบวนการทรานสเอสเทอรริฟเคชันแลวก็จะไดน้ำมันไบโอดีเซลจากสบูดำ ซึ่งสามารถนำมาใชทดแทนน้ำมันดีเซลไดทันทีนอกจาการนวัตกรรมการผลิตสบูดำแลว บริษัทฯ ยังมีผลิตภัณฑนวัตกรรมสำหรับการเพาะปลูกพืช คือกอนเพาะปลูกมหัศจรรย (magic block) ซึ่งเปนวัสดุปลูกพืชที่สามารถนำไปใชในการปลูกพืชไดทุกชนิดโดยไมตองมีการพรวนดินหรือเติมปุยเพิ่มเติม สามารถใหน้ำตัวเองได และมีจุดเดนคือทรงรูปไดดวยตัวเองคุณสมบัติเดน• น้ำมันสบูดำที่ผานการปรับปรุงคุณภาพแลว สามารถใชกับเครื่องยนตทางการเกษตรไดโดยตรง• น้ำมันสบูดำเปนพืชพลังงานชนิดเดียวที่ตลาดมีความตองการไมจำกัด และเปนพืชน้ำมันที่ไมมีปญหาการแกงแยงกับพืชน้ำมันที่ใชกิน จึงไมมีปญหาในดานราคาในการผลิตเปนน้ำมันดีเซล• กอนเพาะปลูกมหัศจรรย มีรูปแบบที่หลากหลายจึงสามารถนำไปใชเพาะปลูกพืชไดทุกชนิด สามารถนำไปเพาะปลูกพืชที่ไมตองใชดิน ไมตองใหปุย และสามารถดูดน้ำขึ้นไดเอง รวมถึงมีธาตุอาหารที่ครบถวนทำใหพืชมีการเจริญงอกงามไดดีมากตลาดเปาหมาย• เกษตรกรผูผูสนใจและเกษตรกรหัวกาวหนา• นักธุรกิจ ผูผลิตและผูประกอบการดานการเกษตร• ประชาชนทั่วไปเจาของผลงานบริษัท น้ำมันสบูดำไทย จำกัด38 หมู 9 ตำบลคลองสามอำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120โทรศัพท 02-901 0076 โทรศัพทมือถือ 081-809 475476 21-24 กันยายน 2549 สยามพารากอน กรุงเทพฯ


D38บูธธุรกิจปลาการตูน◦ ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ทดลองตลาด ◦ จำหนายแลวบริษัท ซีบอรน ฟารม จำกัด มีนวัตกรรมระบบการเพาะเลี้ยงปลาการตูนเพื่อการสงออก ซึ่งเปนฟารมมาตรฐานในการเพาะเลี้ยงปลาการตูนที่ไดรับการถายทอดเทคโนโลยีจากสถาบันวิทยาศาสตรทางทะเลมหาวิทยาลัยบูรพา ทั้งการผลิตและการจัดการเปนฟารมแรกในประเทศไทย โดยการพัฒนากระบวนการเพาะเลี้ยงปลาการตูนของบริษัทเปนแบบระบบปด คือ ไมเนนการเปลี่ยนถายน้ำ แตจะใชแบคทีเรีย สาหราย และโอโซนสำหรับฆาเชื้อโรค มาผสมผสานทำงานรวมกันในการกำจัดของเสียออกจากระบบ ทำใหคุณภาพน้ำสมบูรณปลาจะแข็งแรงและโตเร็ว ใหผลผลิตเปนจำนวนมากบริษัทฯ สามารถผลิตปลาการตูนหลายชนิด ไดแก ปลาการตูนสมขาว ปลาการตูนลายปลอง ปลาการตูนมะเขือเทศ ปลาการตูนทอง ปลาการตูนอานมา และปลาการตูนมัลดีฟ รวมถึงผลิตภัณฑอื่นๆ เชน เห็ดทะเล กระดุมพรมทะเล สตารโพลิป หินเปนเทียมและสาหราย โดยมีเปาหมายในการผลิตปลาการตูนและสัตวทะเลสวยงามเพื่อสงออกสูตลาดโลกและตลาดในประเทศ ซึ ่งจะเปนการลดหรือทดแทนการจับปลาสวยงามจากทองทะเลในธรรมชาติ นับเปนการชวยอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมทางทะเลอยางยั่งยืนไดคุณสมบัติเดน• เปนการนำวิธีการทางธรรมชาติหลายอยางมาใชเชื่อมโยงผสมผสานกันอยางลงตัวทำใหเกิดระบบบำบัดน้ำที่มีประสิทธิภาพ เกิดความสมดุลในระบบเลี้ยงพอแมพันธุ• ไดมาตรฐานทั้งระบบการผลิตและการจัดการ ทำใหไดลูกปลาที่มีคุณภาพ แข็งแรง สีสวยงามตามธรรมชาติ• เปนการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ ่งแวดลอมทางทะเลตลาดเปาหมาย• กลุมลูกคาตางประเทศเปนเปาหมายหลัก เชน ประเทศสหรัฐอเมริกาประเทศอังกฤษ และประเทศญี่ปุน สวนตลาดเปาหมายรองคือ ประเทศไทยเจาของผลงานบริษัท ซีบอรน ฟารม จำกัด52/86 หมู 10 ถนนโชคชัย 4 เขตลาดพราว กรุงเทพฯโทรศัพท 02-539 3346 โทรสาร 02-931 4513โทรศัพทมือถือ 081-889-7994Email: seabornfarm@yahoo.comฟารม: ตำบลคลองบานโพธิ์ อำเภอบานโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทราwww.nia.or.th/innomart77


บูธD39-40ถังคอมโพสิทบรรจุกาซสำหรับรถ NGV◦ ระดับงานวิจัย ◦ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ทดลองตลาด ◦ จำหนายแลวประเทศไทยมีการใชถังเหล็กนำเขาสำหรับบรรจุกาซธรรมชาติอัด สำหรับรถ NGV (natural gas vehicle)ที่มีโครงสรางเปนเหล็กทั้งใบ มีน้ำหนักมากขนยายไมสะดวก ปจจุบันบริษัท พลัส แลป จำกัด จึงไดคิดคนเทคโนโลยีการใชเสนใยแกวผสมเสนใยเซรามิกพันรอบถังพลาสติกภายใน สำหรับสรางถังคอมโพสิทบรรจุกาซสำหรับรถ NGV ชนิดใหมขึ้นในประเทศไทย ซึ่งมีน้ำหนักเบากวาถังเหล็กมากกวารอยละ 50-60 หรือมีน้ำหนักเพียง 40-50 กิโลกรัมเทานั้น เนื่องจากมีโครงสรางภายในเปนพลาสติกภายใน (plastic liner) ชนิดพอลิเอทิลีนความหนาแนนสูง HDPE (high-density polyethylene) ที่มีความหนาแนนต่ำ น้ำหนักเบา และสวนเสนใยเสริมแรง (reinforcement fiber) ใชเสนใยแกวและเสนใยเซรามิกผสมกัน เพื่อเพิ่มคุณสมบัติการทนตอแรงดึง และแรงดันที่ความดันมากกวา 300 barคุณสมบัติเดน• เปนผลิตภัณฑถังคอมโพสิทบรรจุกาซ สำหรับรถ NGV ที่องคประกอบดังนี้- สวนพลาสติกภายใน (plastic liner) HDPE/PE- สวนเสนใยเสริมแรง (reinforcement fiber) หรือเสนใยแกว และเสนใยเซรามิกผสมกัน• มีราคาที่คุมคา น้ำหนักเบา อายุการใชงานยาวนาน• ใชเทคโนโลยีการพัน Filament Winding แบบ 4 แกน ที่พัฒนาขึ้นเองในประเทศตลาดเปาหมาย• กลุมลูกคาของบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)• กลุมผูคากาซในประเทศ และตางประเทศเจาของผลงานบริษัท พลัส แลป จำกัด38 ถนนรเนศ สี่พระยา บางรัก กรุงเทพฯโทรศัพท 02-631 5126 โทรสาร 02-631 512678 21-24 กันยายน 2549 สยามพารากอน กรุงเทพฯ


ZONE Eสำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (สสว.)สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (สสว.) จัดตั้งขึ้นตาม พ.ร.บ. สงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม พ.ศ. 2543 (ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ 2543 เปนนิติบุคคล) เปนหนวยงานของรัฐที่ไมเปนสวนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ มีคณะกรรมการสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม โดยมี ฯพณฯ นายกรัฐมนตรีเปนประธานกรรมการ ปจจุบันรองนายกรัฐมนตรีไดรับมอบหมายใหเปนประธานคณะกรรมการฯ มีบทบาทในการกำหนดนโยบาย และแผนสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม และมีคณะกรรมการบริหารสำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมโดยมีปลัดกระทรวงอุตสาหกรรมเปนประธานกรรมการ มีบทบาทกำกับดูแลการปฏิบัติงานของสำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมวิสัยทัศน• เปนศูนยกลางประสานระบบการทำงานของภาครัฐและเอกชน เพื่อผลักดันให SMEs เติบโต เขมแข็งอยางยั่งยืน เปนกลไกหลักขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศพันธกิจ• เปนกลไกที่มีประสิทธิภาพในการขับเคลื่อนยุทธศาสตรการสงเสริม SMEs ของรัฐบาล• เพิ่มคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยการสรางสังคมผูประกอบการ• สนับสนุน SMEs อยางบูรณาการ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน• สรางเครือขายพันธมิตร เพื่อใหเกิดผลสัมฤทธิ์ในการทำงานรวมกันภารกิจ• เปนกลไกของคณะกรรมการสงเสริม SMEs เพื่อประสานงานการทำงานของสวนราชการ หนวยงานของรัฐ องคกรเอกชน และผูประกอบการ SMEs ใหสอดคลองไปในทิศทางเดียวกัน• วิเคราะห กำหนดหลักเกณฑการสงเสริม และเสนอแนะนโยบาย/ยุทธศาสตรการสงเสริม SMEs• ประสานการจัดทำแผนปฏิบัติการสงเสริม SMEs รายพื้นที่/รายสาขา• ประสาน ผลักดัน ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานตามแผน ในสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ หนวยงานของรัฐ และองคกรเอกชน• สรางฐานขอมูลและรายงานสถานการณ SMEs• เสนอแนะการปรับปรุงกฎหมาย กฎระเบียบเพื่อสงเสริมการพัฒนา SMEs• สรางความรวมมือกับตางประเทศเพื่อสงเสริม SMEs• บริหารกองทุนสงเสริม SMEs• ประสานการดำเนินงานโครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑwww.nia.or.th/innomart79


บทบาทและหนาที่ของ สสว.• คณะกรรมการสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ไดมีมติมอบหมายนโยบายการปฏิบัติงานใหกับสสว. ในฐานะเปนศูนยกลางในการสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) โดยมีภารกิจสำคัญ2 บทบาทคือ1. สสว. ทำหนาที่ในฐานะ Super Bodyสสว. มีบทบาทเปนสวนวางแผนและเชื่อมโยงแผนปฏิบัติการสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ของทุกหนวยงานที่ทำหนาที่ใหการสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมของประเทศ แผนดังกลาวจะมีความสำคัญที่คณะรัฐมนตรีจะตองใหความเห็นชอบ เพื่อทำหนาที่ดังกลาวสสว. จึงไดรับบทบาทในการดำเนินการ ดังนี้- การทำหนาที่ประสานงาน (Coordinator)- การอำนวยความสะดวกแกหนวยงานปฏิบัติการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (Facilitator)- การใหการสงเสริมสนับสนุนหนวยงานปฏิบัติการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (Promoter)2. สสว.ในหนาที่ฐานะ Operatorสสว. ยังไดรับภารกิจสำคัญใหลงมือปฏิบัติการสงเสริมในกิจกรรมที่หนวยงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมอื่นๆ ที่ยังไมไดทำหรือทำแลวยังไมกระจายสูผูประกอบการมากพอ สสว.ก็จะเขาไปมีบทบาทในการดำเนินการสงเสริมในกิจกรรมนั้นๆ ดังนั้น จึงเปนการสงเสริมในการสนับสนุนผูประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมใหเกิดศักยภาพมากขึ้นเจาของผลงานสำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมอาคารทีเอสที ทาวเวอร ชั้น G, 15, 17-20เลขที่ 21 ถนนวิภาวดี-รังสิต ซอย 9แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900โทรศัพท 02-278 8800 โทรสาร 02-273 8850Call Center: 02-686-911180 21-24 กันยายน 2549 สยามพารากอน กรุงเทพฯ


E3บูธ เว็บไซต อินโนเวชั่น เอส เอ็ม อี◦ ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦ จำหนายแลวสำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม โดยความรวมมือกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และเว็บไซตตอยอด ดอท คอม (www.toryod.com) กำลังดำเนินการศึกษาผลงานวิจัยและสิทธิบัตรเพื่อตอยอดในเชิงพาณิชย เพื่อสงเสริมพัฒนาศักยภาพ ขีดความสามารถของผูประกอบการ สนับสนุนใหธุรกิจ SMEsประสบความสำเร็จ โดยมีกรอบการดำเนินงาน 6 ดานคุณสมบัติเดน• เว็บไซต อินโนเวชั่นเอสเอ็มอี (www.innovationsme.com) ที่มีระบบการจัดการสารสนเทศสำหรับระบบการสืบคน รวมทั้งระบบฐานขอมูลผลงานวิจัย วารสารทางวิชาการ และสิทธิบัตรทั่วโลก ที่สามารถเชื่อมโยงขอมูลทั้งจากหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา และหนวยงานวิจัยไดอยางสะดวกและมีประสิทธิภาพ เพื่อใหผูประกอบการสามารถนำไปใชขยายผลในการดำเนินธุรกิจใหประสบผลสำเร็จ• สรางใหเกิดนวัตกรรม ที่มีผูประกอบการสามารถยื่นขอรับสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตรได และใหมีการศึกษาความเปนไปไดในการลงทุนของนวัตกรรมดังกลาว จำนวน 10 เรื่อง จากอุตสาหกรรม 8 กลุม• เปนฐานขอมูลและจัดหาที่ปรึกษาโครงการ เพื่อใชสำหรับประเมินผลเทคโนโลยี ผลงานวิจัยหรือสิทธิบัตรที่จะนำไปประยุกตใชและพัฒนาตอยอดในเชิงธุรกิจใหกับผูประกอบการ SMEs ไดอยางเปนรูปธรรม• ประชาสัมพันธผลงานวิจัยและขอมูลสิทธิบัตรหรือนวัตกรรม ใหกับผูประกอบการ SMEs นำความรูมาใชพัฒนาธุรกิจ• ชวยสรางทรัพยสินทางปญญาของผูประกอบการโดยสามารถคัดสรรเทคโนโลยีที่มีศักยภาพที่ทันสมัยสามารถติดตามและวิเคราะหทิศทางของเทคโนโลยีชั้นนำของโลกไดทันทวงที ทั้งยังเปนการสงเสริมใหผูประกอบการของไทย สามารถแขงขันไดในยุคโลกาภิวัฒนเจาของผลงานปราโมทย ธรรมรัตน และคณะโครงการ ศึกษาผลงานวิจัยและสิทธิบัตรเพื่อตอยอดในเชิงพาณิชย สสว.สสวพ สกว, หอง 935 สถาบันคนควาและพัฒนาผลิตภัณฑอาหารมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรโทรศัพท 02-942 8629 ตอ 908, 626;Email: ifrpmt@yahoo.com, bulinno@yahoo.comwww.nia.or.th/innomart81


E5บูธสำนักงานพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา (สนก.)◦ ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦จำหนายแลวสำนักงานพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา (สนก.) มีหนาที่ในการศึกษา วิเคราะห รูปแบบและนวัตกรรมในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน และแสวงหาความรวมมือหรือทุน เพื่อการพัฒนารูปแบบ และนวัตกรรมในการจัดการศึกษา ในการดำเนินการนำรองโครงการตางๆ ใหสามารถนำรูปแบบและนวัตกรรมในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานไปสูการปฏิบัติ ตลอดจนใหคำปรึกษา แนะนำ ติดตาม และประเมินผล เกี่ยวกับการนำรูปแบบและนวัตกรรม ในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานไปปฏิบัติ รวมทั้งปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ หรือที่ไดรับมอบหมายโครงการที่ดำเนินการสนก. ไดดำเนินการสนับสนุนโครงการนวัตกรรมตางๆ อาทิ- โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส (e-book) ดานศิลปวัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถิ่น- โครงการการผลิตชุดน้ำหมึกชนิดเติมสำหรับเครื่องพิมพอิงคเจ็ต- โครงการน้ำหยดโยกเยกประหยัดทรัพยากร- โครงการการพัฒนาทักษะการเลนกีฬาเปตองโดยใชเครื่องเปตองสยาม- โครงการอุปกรณตอพวงกลองถายภาพระบบดิจิตัลกับกลองจุลทรรศน- โครงการเครื่องดัดแปลงเครื่องฉายภาพขามศรีษะใหเปน LCD projector- โครงการอุทยานวิทยาศาสตร โรงเรียนปากพลีวิทยาคาร- โครงการเครื่องเก็บใบไมไรฝุน Mechanic 3- โครงการหุนเกมมหัศจรรย- โครงการหุนยนต Wireless Robot ชัยมงคลเจาของผลงานสำนักงานพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา (สนก.)อาคาร สพฐ. 5 ชั้น 10 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ319 ถนนราชดำเนินนอก กรุงเทพมหานคร 10300โทรศัพท 02-280 5559เว็บไซต http://inno.obec.go.th82 21-24 กันยายน 2549 สยามพารากอน กรุงเทพฯ


E16บูธระบบควบคุมและตรวจสอบผานเครือขาย◦ ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦จำหนายแลวเทคโนโลยีการควบคุมและตรวจสอบในอุตสาหกรรมแตเดิมถูกพัฒนาบน protocol แบบเฉพาะ ซึ่งไดแกCAN Foundation Fieldbus ModBus ซึ่งมีราคาคอนขางสูง ปจจุบัน การควบคุมลักษณะดังกลาวนั้นสามารถกระทำผานเครือขาย Ethernet ซึ่งมีราคาถูก มีความเร็วที่สูงกวาและการพัฒนาที่เร็วกวา การตรวจสอบและควบคุมอุปกรณ เครื่องมือ เครื่องจักร จึงสามารถกระทำผานอินเตอรเน็ตได และยังทำใหการเก็บขอมูลสามารถทำไดสะดวกยิ่งขึ้น การประยุกตใชงานระบบควบคุมและตรวจสอบผานอินเตอรเน็ตนี้ไมไดจำกัดเฉพาะในอุตสาหกรรมเทานั้น แตยังสามารถนำมาประยุกตใชกับงานอื่น เชน การตรวจสอบสภาพไฟฟาในอาคาร การวัดอุณหภูมิในโรงเรือนการเกษตร เปนตนคุณสมบัติเดน• สามารถตรวจสอบและควบคุมการทำงานของอุปกรณหรือเครื่องมือผานเครือขายอินเตอรเน็ต• สามารถนำไปประยุกตใชงานไดหลากหลาย เชน โรงเรือนการเกษตร อาคารทั่วไปหากพื้นฐานความตองการในการควบคุมและตรวจสอบใกลเคียงกัน• สามารถตออุปกรณเพิ่มเติมไดหลายชนิด เชน ระบบตรวจวัดขอมูลแบบไรสาย ระบบแจงเตือนดวย smsหรือ กลองวงจรปดเพื่อสงภาพเหตุการณเมื่อมีเหตุการณผิดปกติ• ราคายอมเยากวามาก เมื่อเปรียบเทียบกันระบบของตางประเทศ• สามารถปรับแตงใหเขากับงานตามความตองการของลูกคาตลาดเปาหมาย• กลุมอุตสาหกรรมที่ตองอาศัยการควบคุมและตรวจสอบระยะไกล• กลุมเกษตรกรรมที่ตองการประยุกตใชระบบควบคุมและตรวจสอบอัตโนมัติ เชน โรงเรือนการเกษตรฟารมปด• กลุมกอสราง (สำหรับใชตรวจสอบสถานะในอาคาร)เจาของผลงานบริษัท สมารท เอ็มเบ็ดเด็ด เน็ตเวิรค ซีสเต็ม จำกัดอาคารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรwww.nia.or.th/innomart83


E30บูธผลิตภัณฑเพื่อคววามสะอาด “เพียวริก” และ “สนิฟ”◦ ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ทดลองตลาด ◦จำหนายแลวSilver-coated activated carbon เปนโมเลกุลซึ่งมีรูพรุนขนาดเล็กมากในระดับนาโน (ทุกหนึ่งกรัมมีพื้นที่ผิวภายในมากกวา 1,000 ตรม.) เพื่อทำใหมีคุณสมบัติในการดูดซับกลิ่น กาซ ความชื้น ยังถูกเคลือบดวยอนุภาคนาโนของสารที่มีคุณสมบัติตอตานเชื้อซึ ่งมีประสิทธิภาพในการตอตานเชื้อโรค ทั้งนี้ บริษัท นาโนบิซจำกัด ไดมีการพัฒนาเปนน้ำยาปรับสภาพผาเพื่อใหมีคุณสมบัติกันน้ำ กันเปอน และตอตานเชื้อโรค ภายใตตราสินคา “เพียวริก” โดยสิ่งทอที่ผานการเคลือบยังคงมีการระบายอากาศและคุณลักษณะของเนื้อผายังคงเดิมอีกทั้งน้ำยาปรับสภาพผานี้ยังใชกับเนื้อผาไดหลากหลายชนิด เชน ผาฝาย ผาลินิน ผาไหม ผาใยสังเคราะหผาเรยอง ผาโพลิเอสเตอร เปนตน“สนิฟ” เปนสเปรยน้ำหอมซึ่งมีกลิ่นหอม โดยจะถูกบรรจุในแคปซูลนาโนซึ่งมองเห็นเปนของเหลว กลิ่นหอมจะกระจายออกมาเมื่อถูขยี้หรือสัมผัสผลิตภัณฑที่ฉีดพนดวย สเปรยสนิฟ ยิ่งสัมผัส ยิ่งหอม ใชฉีดพนในผลิตภัณฑตางๆ ที่ตองการใหมีกลิ่นหอมติดทนนาน เชน ถุงเทา ตุกตา โซฟา เปนตนคุณสมบัติเดน• “เพียวริก” จะมีประสิทธิภาพในการดูดซับกาซ มลพิษ ความชื้น ขจัดกลิ่นเหม็นอับตางๆ ตอตานเชื้อโรคทำใหอากาศบริสุทธิ์ขึ้น อีกทั้งสามารถปองกันน้ำและสารพัดคราบสกปรกไมใหซึมลึกลงเนื้อผา เชน ชากาแฟ น้ำสม สามารถเช็ดออกไดทันที และซักซ้ำไดหลายครั้งโดยฃุณสมบัติตางๆ ยังคงอยู• “สนิฟ” ใชฉีดพนผลิตภัณฑตางๆ ที่ตองการกลิ่นหอม เมื่อขยี้หรือสัมผัส จะสงกลิ่นมากกวาเดิมคงคุณสมบัติไดนาน แมผานการซักก็ยังคงหลงเหลืออยูบางตลาดเปาหมาย• กลุมแมบานทั่วไป• กลุมอุตสาหกรรมเครื่องนุงหมเจาของผลงานบริษัท นาโนบิซ จำกัด27 วชิรธรรมสาธิต ซอย 7 ถนนสุขุมวิท 101/1แขวงบางจาก เขตพระโขนง กรุงเทพฯ 1026084 21-24 กันยายน 2549 สยามพารากอน กรุงเทพฯ


E31บูธ“ENSAVER” Condenser Cooling Pad◦ ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦จำหนายแลว“ENSAVER” คือ นวัตกรรมเพื่อการประหยัดพลังงานไฟฟาของเครื่องปรับอากาศ และเครื่องทำความเย็นซึ่งคิดประดิษฐโดยคนไทย โดยอาศัยการทำงานของแผง Condenser Cooling Pad ในการระเหยของน้ำที่มีการถายเทความรอนหรือพลังงานออกไป เพื่อใหของเหลวเปลี่ยนสถานะ ทั้งนี้ เมื่ออากาศหรือลมที่วิ่งผานก็จะถูกดูดพลังงาน หรือความรอนออก ทำใหลมหรืออากาศที่วิ่งผานเย็นลงได ลมที่เย็นลงนี้เมื่อถูกดูดผานแผงระบายความรอนของเครื่องปรับอากาศก็ยอมทำใหประสิทธิภาพของเครื่องปรับอากาศดีขึ้นกวา เมื่อตองระบายอากาศดวยลมรอนๆ อนึ่ง การที่เครื่องปรับอากาศสามารถระบายความรอนใหแผง condenser ไดดีจะทำใหแรงดันน้ำยาในระบบไมสูงมาก คอมเพรสเซอรก็ไมตองออกแรงในการขับเคลื่อนมาก ทำใหกินไฟนอยอีกทั้งยังชวยระบายความรอนไดดีอีกดวยสิ่งประดิษฐและนวัตกรรมดังกลาวนี้ ไดเคยสงเขาประกวดสิ่งประดิษฐประหยัดพลังงาน ในงาน“ถนนเทคโนโลยี 2549” โดยไดรับรางวัลชมเชยและเปน 1 ใน 9 ชิ้นงานที่ไดรับคัดเลือกใหออกแสดงในงานดังกลาวมาแลวคุณสมบัติเดน• เปนผลิตภัณฑที่ใชงานงาย ตนทุนต่ำ คืนทุนไดรวดเร็ว• ไมตองใชชางชำนาญการพิเศษในการติดตั้งหรือดูแลรักษา• ใชไดกับเครื่องทำความเย็นทุกยี่หอในตลาดตลาดเปาหมาย• โรงงานอุตสาหกรรม• โรงเรียน• มหาวิทยาลัย• สถานประกอบการตางๆ• สำนักงานและอาคารเจาของผลงานบริษัท เอ็นเซฟเวอร จำกัด30/145 ถนนรามคำแหง แขวงหัวหมากเขตบางกะป กรุงเทพฯ 10240โทรศัพท 02-735 1263-4www.nia.or.th/innomart85


E32บูธระบบน้ำมันพืชสำหรับเครื่องยนตดีเซล◦ ระดับงานวิจัย ◦ ระดับตนแบบ ◦ ทดสอบภาคสนาม ◦ ทดลองตลาด ◦จำหนายแลวปจจุบัน ปญหาราคาน้ำมันปรับตัวสูงขึ้นอยางตอเนื่อง สงผลใหหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของความพยายามในการหาแหลงพลังงานทดแทน ซึ่งการนำน้ำมันปาลมกลั่นบริสุทธิ์มาทดแทนดีเซลจึงเปนอีกหนึ่งทางเลือก ทั้งนี้ระบบที่นำมาใชนี้จะสามารถใชไดทั้งน้ำมันดีเซลและน้ำมันปาลมกลั่นบริสุทธิ์ ซึ่งเปนแบบ 2 ระบบ สามารถสลับไปมาไดระหวางน้ำมันทั้ง 2 ชนิด ซึ่งเปนการชวยลดตนทุนคาน้ำมันไดโดยตรง ทั้งยังชวยลดมลภาวะและสงเสริมสินคาเกษตรคุณสมบัติเดน• ลดตนทุนคาน้ำมันไดชัดเจน โดยปจจุบัน ราคาน้ำมันปาลมกลั่นบริสุทธิ์มีสวนตางประมาณ 6 บาท• ไมมีการดัดแปลงเครื่องยนตเดิม และสามารถใชไดทั้งน้ำมันปาลมและดีเซล• สามารถใชงานไดตามปกติ เครื่องเดินเรียบขึ้นกวาเดิม• แหลงน้ำมันสามารถหาไดจากภายในประเทศ ลดการนำเขา• ปริมาณควันดำลดลงอยางชัดเจน ควันมีกลิ่นหอมตลาดเปาหมาย• กลุมธุรกิจในภาคการขนสง• ประชาชนทั่วไปเจาของผลงานหงหุนสวนจำกัด ซันชายน พีเอสอำเภอเมือง จังหวัดขอนแกนเว็บไซต http://wwwsunshine-ps.com86 21-24 กันยายน 2549 สยามพารากอน กรุงเทพฯ


สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติสำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (สนช.) จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2546โดยใหเปนหนวยงานในกำกับของกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่มีระบบบริหารงานเปนอิสระจากระบบราชการ และดำเนินงานภายใตการกำกับดูแลของ“คณะกรรมการนวัตกรรมแหงชาติ” สนช. มีพันธกิจในการดำเนินการและสนับสนุนการพัฒนานวัตกรรมของประเทศในเชิงระบบ ทั้งในดานการปรับปรุงและบุกเบิกเพื่อสงเสริมการปรับโครงสรางเศรษฐกิจและเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันโดยเฉพาะการพัฒนาโครงการนวัตกรรมเชิงยุทธศาสตร และโครงการนวัตกรรมเชิงความรู ที่สงผลกระทบตอการปรับเปลี่ยนโครงสรางการผลิตของประเทศ การสงเสริมวัฒนธรรมนวัตกรรม ตลอดจนการเชื่อมโยงเครือขายทั้งในระดับนโยบายและปฏิบัติ อันจะนำไปสูการสรางใหเกิด “ระบบนวัตกรรมแหงชาติ” ขึ้นโดยเร็วสำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี73/1 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400โทรศัพท 02-644 6000 โทรสาร 02-644 8444http://www.nia.or.th อีเมล info@nia.or.thP24-CI-48-09-053 (10000)

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!