29.06.2013 Views

B-19 - AS Nida

B-19 - AS Nida

B-19 - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

การประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงาน<br />

แห่งชาติ ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

รูปที่<br />

3 กระบวนการตัดสินใจเติมเต็มในปัจจุบัน<br />

ดังนั้นผู้วิจัยได้น<br />

าเสนอแนวทางการจัดการ<br />

สินค้าคงคลังแบบใหม่ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลด<br />

ปริมาณสินค้าคงคลัง แต่ยังสามารถตอบสนอง<br />

ความต้องการผู้ป่วยตลอดเวลา<br />

โดยเริ่มต้นจาก<br />

การพยากรณ์อัตราการใช้ล่วงหน้าด้วย วิธี<br />

winter’s exponential smoothing เนื่องจาก<br />

เป็นวิธีที่น<br />

าแนวโน้มและฤดูกาลมาเป็นปัจจัยใน<br />

การค านวน [20-21] และน าค่า maximum และ<br />

safety stock มาใช้ เพื่อก<br />

าหนดช่วงของตัวแปร<br />

จากนั้นเข้าสู่การค<br />

านวนปริมาณยาที่ควร<br />

เติมเต็มของ Fuzzy logic model โดยมีตัวแปร<br />

น าเข้าทั้งหมด<br />

4 ตัวแปร คือ อัตราการใช้ยา<br />

ล่วงหน้า, ปริมาณยาคงเหลือ, safety stock,<br />

Maximum ซึ่งค่าsafety<br />

stock กับ Maximum<br />

จะมาจากเจ้าหน้าที่ระบุวันที่ต้องการเก็บ<br />

safety<br />

stock และ Maximum เมื่อได้ปริมาณยาที่ควร<br />

เติมเต็ม จะน าไปเพิ่มปริมาณยาในคลัง<br />

จากนั้น<br />

เมื่อคลังยาใหญ่ท<br />

าการจ่ายยาไปให้ห้องยาย่อย<br />

ถ้าปริมาณยาลดลงถึง safety stock ระบบจะท า<br />

การค านวนปริมาณยาที่ควรเติมเต็มอีกครั้ง<br />

หรือ<br />

จนกว่าจะถึงรอบที่ก<br />

าหนด ในงานวิจัยก าหนด<br />

รอบการสั่งเป็นทุกต้นเดือน<br />

(ดังรูปที่4)<br />

รูปที่<br />

5 โครงสร้างค านวนจ านวนยาที่ควรเติมเต็ม<br />

รูปที่<br />

4 แผนภาพค านวนจ านวนยาที่ควรเติมเต็ม<br />

4. Fuzzy Logic Model<br />

จากที่แสดงแนวทางการจัดการสินค้าคงคลัง<br />

แบบใหม่แล้ว ขั้นต่อไปก็คือ<br />

การสร้างโปรแกรม<br />

โดยใช้โปรแกรม Matlab จากรูปที่<br />

5 แสดงถึง<br />

โครงสร้างโดยรวมของการค านวนปริมาณยาที่<br />

ควรเติมเต็มของ Fuzzy logic ในโปรแกรม<br />

Matlab Toolbox<br />

4.1 ตัวแปรน าเข้าและน าออก<br />

ตัวแปรน าเข้าที่น<br />

ามาสร้างฟังก์ชันความเป็น<br />

สมาชิก (MF) ในโมเดล มี 3 ตัวแปร คือ ปริมาณ<br />

ยาคงเหลือ, ค่าsafety stock, ค่าMaximum และ<br />

ตัวแปรน าออก คือ ปริมาณยาที่ควรเติมเต็ม<br />

(request) โดยการน าไปเปรียบเทียบกับค่าอัตรา<br />

การใช้ล่วงหน้าของเดือนนั้นๆเพื่อเปลี่ยนให้<br />

กลายเป็นเปอร์เซ็น ยกตัวอย่างเช่น การเปลี่ยน<br />

ค่าตัวแปรน าเข้าปริมาณยาคงเหลือ จาก crisp<br />

value ให้อยู่ในรูปแบบ<br />

Fuzzy value โดยมี<br />

สมการค านวน (สมการที่<br />

1)

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!