29.06.2013 Views

B-19 - AS Nida

B-19 - AS Nida

B-19 - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

การประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงาน<br />

แห่งชาติ ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

2.3.2 กระบวนการอนุมานหรือการตีความ<br />

(Inference) เป็นส่วนที่ท<br />

าหน้าที่ตรวจสอบ<br />

ข้อเท็จจริงและกฎ เพื่อใช้ในการตีความหา<br />

เหตุผล เหมือนกลไกส าหรับควบคุมการใช้<br />

ความรู้ในการแก้ไขปัญหา<br />

รวมทั้งการก<br />

าหนด<br />

วิธีการของการตีความเพื่อหาค<br />

าตอบ<br />

2.3.3 กระบวนดีฟัซซีฟิเคชั่น<br />

(Defuzzification)<br />

เป็นส่วนการแปลงผลการตัดสินใจแบบฟัซซีให้<br />

เป็นภาษามนุษย์ (Human Language) [16]<br />

ในสถานการณ์จริงของการจัดการสินค้าคง<br />

คลัง จะมีหลายปัจจัยที่ส่งผลท<br />

าให้ ระดับสินค้า<br />

คงคลังมีการแปรปรวนค่อนข้างสูง ดังนั้นตัวแปร<br />

และพารามิเตอร์หลายตัว จึงไม่สามารถระบุเป็น<br />

ค่าที่แน่นอนได้<br />

อาทิเช่น ความต้องการลูกค้า<br />

จ านวนที่สั่งซื้อ<br />

เป็นต้น ดังนั้นมีนักวิจัยหลาย<br />

ท่านสนใจท าการศึกษา Fuzzy logic เพื่อให้<br />

ต อ บ ส น อ ง ค ว า ม เ ป ลี่<br />

ย น แ ป ล ง ไ ด้ ร ว ด เ ร็ ว<br />

ยกตัวอย่างเช่น Samanta and Al-Araimi<br />

(2001) [17] ได้ท าการศึกษาการจัดการสินค้าคง<br />

คลังของกล่องที่ใช้บรรจุสินค้า<br />

เมื่อระดับสินค้า<br />

คงคลังมีการแปรปรวนตลอดเวลา (non-linear<br />

demand pattern), Jui-Lin Wang (2009) [18]<br />

น า fuzzy set method มาใช้ในการค านวน<br />

พารามิเตอร์ต่างๆของ Asia-Pacific Orient<br />

supply chain distribution ที่เป็นผู้กระจาย<br />

สินค้าให้กับร้านค้าปลีกในประเทศไต้หวัน<br />

จากนั้นเปรียบเทียบค่า<br />

reorder point เพื่อหาจุด<br />

ที่ท<br />

าให้มูลค่าสินค้าคงคลังต่าที่สุด,<br />

Lao et. al.<br />

(2012) [<strong>19</strong>] ท าการศึกษา Fuzzy logic เพื่อ<br />

สร้างเครื่องมือที่ช่วยตัดสินใจในการเลือก<br />

สถานที่จัดเก็บปลาแซลมอน<br />

เนื่องจากเป็นสินค้า<br />

ที่ลูกค้าต้องการให้ยังคงความสดใหม่อยู่เสมอ<br />

และสินค้าแต่ละประเภทก็ต้องการการเก็บรักษา<br />

แตกต่างกัน ซึ่งเงื่อนไขการเก็บรักษาหรือวิธีการ<br />

ควบคุมต่างๆ จะขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของ<br />

ผู้ปฏิบัติงานเท่านั้น<br />

จากการศึกษาพบว่าวิธีที่เหมาะสมต่อการ<br />

ประยุกต์ใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการตัดสินใจ<br />

ของเจ้าหน้าที่จัดซื้อ<br />

ก็คือ ตรรกะศาสตร์แบบ<br />

คลุมเครือ เนื่องจากเป็นวิธีที่สามารถจ<br />

าลอง<br />

สถานการณ์ได้ใกล้เคียงกับการตัดสินใจของ<br />

เจ้าหน้าที่จัดซื้อที่สุด<br />

และตอบสนองต่อองค์กรที่<br />

พารามิเตอร์มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา<br />

ซึ่ง<br />

ต้องอาศัยประสบการณ์และความรู้ของเจ้าหน้าที่<br />

มาเป็นส่วนส าคัญในการสร้างตรรกะทาง<br />

ความคิด<br />

3. กรณีศึกษา: โรงพยาบาลรามาธิบดี<br />

จากการสัมภาษณ์พบว่าในปัจจุบันเจ้าหน้าที่<br />

คลังยา จะท าการรวบรวมปริมาณยาทั้งหมดที่<br />

ห้องยาย่อยเบิกจากคลังยาใหญ่ในปีที่ผ่านมา<br />

ของยาแต่ละชนิด เพื่อที่จะหาค่าเฉลี่ยอัตราการ<br />

ใช้ยาล่วงหน้ารายเดือน เรียกว่า Msale เป็น<br />

ตัวแทนอัตราการใช้ยาตัวนั้นๆของปีถัดไป<br />

โดยขั้นตอนการเติมเต็มยาเริ่มต้นจาก<br />

เ จ้ า หน้ า ที่<br />

ค ลั ง ย า ใ ห ญ๋ จ ะ เ ติ ม ย า ใ ห้ ถึ ง ค่ า<br />

maximum หรือ เท่ากับ 150% ของค่าMSale<br />

ยาชนิดนั้นๆ<br />

เมื่อปริมาณสินค้าคงคลังลดลงถึงค่า<br />

safety stock หรือ เท่ากับ 80% ของค่า MSale<br />

ยาชนิดนั้น<br />

เจ้าหน้าที่จะสั่งซื้อยาให้เต็ม<br />

150%<br />

ของค่าMSale เสมอ นั่นหมายถึงปริมาณยาที่<br />

สั่งซื้อในแต่ละครั้ง<br />

จะมีค่าประมาณ70% ของค่า<br />

MSaleยาตัวนั้น<br />

(ดังรูปที่3)<br />

ถ้าน าค่า maximum<br />

และ safety stock กลับมาคิดเป็นจ านวนวัน จะ<br />

พบว่าค่า maximum จะคิดจากจ านวนวันที่มาก<br />

ที่สุดของปริมาณที่สามารถเก็บยาในคลัง<br />

โดยมี<br />

ค่าประมาณ 45 วัน เพื่อรองรับข้อก<br />

าจัดทางด้าน<br />

พื้นที่จัดเก็บ<br />

และ safety stock มีค่าประมาณ 24<br />

วัน เพื่อรองรับช่วงเวลาที่ใช้ในขั้นตอนการออก<br />

ใบค าสั่งซื้อ<br />

และช่วงเวลาในการจัดส่งยา ซึ่ง<br />

ก่อให้เกิดภาระด้านสินค้าคงคลังแก่โรงพยาบาล<br />

เป็นอย่างมาก

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!