29.06.2013 Views

B-19 - AS Nida

B-19 - AS Nida

B-19 - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

2.2 Vendor managed inventory in<br />

Healthcare<br />

การประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงาน<br />

แห่งชาติ ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

วัตถุประสงค์หลักในการจัดการคลังสินค้า<br />

ในโรงพยาบาล ก็คือ ลดค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจาก<br />

การด าเนินงานภายในคลังยา ในขณะเดียวกัน<br />

ต้องไม่ส่งผลกระทบท าให้ระดับการให้บริการ<br />

ค น ไ ข้ ล ด ต่ า ล ง [ 9] แ ต่ ท ว่ า ก า ร ตั ด สิ น ใ จ<br />

เปรียบเทียบระหว่างค่าใช้จ่ายและระดับความ<br />

ต้องการในโรงพยาบาลยากและซับซ้อนกว่าใน<br />

อุตสาหกรรมการผลิตทั่วไป<br />

เพราะผลกระทบที่<br />

เกิดจากการบริหารจัดการและตัดสินใจที่<br />

ผิดพลาดจะส่งผลร้ายแรงอย่างมาก ไม่ว่าจะเกิด<br />

ปัญหาการขาดแคลนยาที่หมายถึงการเสียชีวิต<br />

ของผู้ป่วย<br />

หรือการที่เก็บยาในคลังมากเกินไป<br />

ก็<br />

จะท าให้โรงพยาบาลต้องแบกรับภาระค่าใช้จ่าย<br />

มากเกินความจ าเป็น [10]<br />

Mustaffa และ Potter (2009) [11]<br />

ท าการศึกษาและเปรียบเทียบ เพื่อหาวิธีที่<br />

เหมาะสมส าหรับการพัฒนาการบริหารจัดการ<br />

สินค้าคงคลังในโรงพยาบาล ก็คือ Just-in-time,<br />

Stockless และ VMI เนื่องจากทั้ง<br />

3 วิธี<br />

เหมาะสมกับองค์กรที่ความต้องการลูกค้ามีความ<br />

แปรปรวนสูงและพยากรณ์ความต้องการท าได้<br />

ยาก จากนั้นได้ท<br />

าการเปรียบเทียบข้อดี-ข้อเสีย<br />

ของแต่ละวิธี พบว่า VMI เป็นวิธีที่ดีที่สุดส<br />

าหรับ<br />

การจัดการสินค้าคงคลังในโรงพยาบาล เพราะ<br />

ท าให้เกิดเหตุการณ์ขาดแคลนยาต่าที่สุด<br />

ซึ่งเป็น<br />

เงื่อนไขที่ส<br />

าคัญต่อการจัดการสินค้าคงคลังใน<br />

โรงพยาบาล<br />

แต่ทว่าการตัดสินใจในส่วนของจ านวนเติม<br />

เต็มยาของโรงพยาบาล เป็นซึ่งเรื่องที่ยุ่งยากและ<br />

ซับซ้อนอย่างมาก ต้องอาศัยข้อมูลอัตราการใช้<br />

ยาในอดีต ร่วมกับการตัดสินใจของเจ้าหน้าที่<br />

จัดซื้อทางโรงพยาบาล<br />

จะช่วยให้การค านวน<br />

จ านวนเติมเต็มยาแม่นย าและน่าเชื่อถือเพิ่มมาก<br />

ขึ้น<br />

[12-13] ซึ่งความแม่นย<br />

าในการค านวนจะ<br />

ขึ้นอยู่กับ<br />

ข้อมูลที่ใกล้เคียงความเป็นจริง<br />

เจ้าหน้าที่มีทักษะและประสบการณ์ท<br />

างานมาเป็น<br />

เวลานาน ดังนั้นถ้าต้องการให้<br />

VMI ประสบ<br />

ความส าเร็ จ จึงจ าเป็นต้องหา วิธีการแล ะ<br />

เครื่องมือในการจ<br />

าลองกระบวนการคิดของ<br />

เจ้าหน้าที่จัดซื้อ<br />

เพื่อช่วยตัดสินใจว่าควรซื้อยา<br />

จ านวนเท่าไรและเมื่อไร<br />

จึงเหมาะสมในแต่ละ<br />

สถานการณ์มากที่สุด<br />

[14-15]<br />

2.3 ตรรกะศาสตร์แบบคลุมเครือ<br />

ตรรกะศาสตร์คลุมเครือ (Fuzzy logic) เป็น<br />

เครื่องมือที่ช่วยในการตัดสินใจภายในใต้ความ<br />

ไม่แน่นอนของข้อมูล โดยเป็นตรรกะที่มีความ<br />

ยืดหยุ่นสูง<br />

ไม่มีข้อจ ากัดในทางสถิติ และใช้หลัก<br />

เหตุผลที่คล้ายกับการจ<br />

าลองวิธีคิดที่ซับซ้อนของ<br />

มนุษย์ ตรรกะศาสตร์คลุมเครือมีลักษณะที่พิเศษ<br />

กว่าตรรกะศาสตร์จริงเท็จ (Boolean logic) คือ<br />

เป็นแนวคิดที่มีการขยายในส่วนของความจริง<br />

(Partial true) โดยค่าอยู่ในช่วงระหว่างจริง<br />

(Completely true) กับเท็จ (Completely false)<br />

ส่วนตรรกะศาสตร์จริงเท็จจะมีค่าเป็นจริงกับเท็จ<br />

เท่านั้น<br />

(ดังรูปที่<br />

1)<br />

รูปที่<br />

1 ตรรกะจริงเท็จกับตรรกะคลุมเครือ<br />

รูปที่<br />

2 โครงสร้างของรูปแบบตรรกะคลุมเครือ<br />

โครงสร้างของการประมวลผลตรรกะศาสตร์<br />

แบบคลุมเครือ (ดังรูปที่<br />

2) แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ<br />

2.3.1 กระบวนการฟัซซีฟิเคชั่น<br />

(Fuzzification)<br />

เป็นขั้นตอนก<br />

าหนดค่าความเป็นสมาชิกของตัว<br />

แปรที่ใช้<br />

โดยการแทนตัวแปรแบบฟัซซีด้วย<br />

ฟังก์ชันความเป็นสมาชิก

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!