29.06.2013 Views

B-19 - AS Nida

B-19 - AS Nida

B-19 - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

การประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงาน<br />

แห่งชาติ ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

ศึกษาตัวแบบตรรกศาสตร์คลุมเครือในการพยากรณ์จ านวนยาที่ควรสั่งซื้อ<br />

ส าหรับการจัดการสินค้าคงคลังในโรงพยาบาลแบบ Vendor Managed<br />

Inventory (VMI) กรณีศึกษาโรงพยาบาลรามาธิบดี<br />

Development fuzzy logic model of pharmaceutical replenishment<br />

forecast system for VMI implementation in hospital: A case study<br />

of Ramathibodi hospital.<br />

อาภาภัค เดชพันธวณิช1 *, ดร.ฐิติกร ลิ้มชิมชล2<br />

, ผศ.ดร.ธนกรณ์ แน่นหนา3 มหาวิทยาลัยมหิดล 999 ถนนพุทธมณฑลสาย 4 ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม 73170<br />

E-mail: 1* por.arpapak@gmail.com, 2 thitikorn.mu@gmail.com, 3 egtnn@mahidol.ac.th<br />

บทคัดย่อ<br />

ปัจจุบันอุตสาหกรรมการให้บริการด้านสุขภาพของประเทศไทย ก าลังประสบปัญหาในเรื่องการ<br />

จัดการสินค้าคงคลังค่อนข้างรุนแรง โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรงพยาบาลที่อยู่ในความดูแลของรัฐบาล<br />

เนื่องจากปริมาณคนไข้ที่เข้ารับบริการมีจ<br />

านวนมากเและยังมีข้อจ ากัดของทรัพยากรในด้านต่างๆ<br />

อาทิเช่น บุคคลากร พื้นที่จัดเก็บ<br />

และที่ส<br />

าคัญ คือ ขั้นตอนในการท<br />

างานของโรงพยาบาลรัฐบาล ที่<br />

ส่งผลกระทบเป็นอย่างมากต่อการพยากรณ์ความต้องการใช้ยาให้ถูกต้อง แม่นย าและเพียงพอต่อ<br />

ความต้องการ ท าให้โรงพยาบาลมีความจ าเป็นต้องส ารองยา จึงก่อให้เกิดภาระที่ไม่สร้างมูลค่า<br />

และ<br />

เป็นส่วนที่ท<br />

าให้การจัดการสินค้าคงคลังมีค่าใช้จ่ายสูงมาก<br />

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบการพยากรณ์จ<br />

านวนยาในการเติมเต็ม<br />

(replenishment) ของการจัดการสินค้าคงคลังแบบ Vendor Managed Inventory (VMI) ให้มีความ<br />

เหมาะสมกับสถานการณ์ต่างๆของแต่ละช่วงเวลา โดยจะท าการประยุกต์ใช้วิธีตรรกศาสตร์คลุมเครือ<br />

เนื่องจากตรรกะศาสตร์คลุมเครือเป็นวิธีที่สามารถจ<br />

าลองได้ใกล้เคียงกับการตัดสินใจของเจ้าหน้าที่<br />

จัดซื้อ<br />

อีกทั้งยังสามารถป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นมาจากการลาออกของบุคคลากร<br />

ท าให้<br />

โรงพยาบาลเกิดการสูญเสียบุคลากรที่มีความรู้<br />

ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์<br />

จากการศึกษาพบว่า ความต้องการใช้ยาเป็นปัจจัยส าคัญที่ส่งผลต่อการตัดสินใจสั<br />

่งซื้อใน<br />

กระบวนการเติมเต็มยา ดังนั้นในงานวิจัยชิ้นนี้ได้ศึกษาและน<br />

าวิธี winter’s exponential smoothing<br />

มาประยุกต์ใช้ในการพยากรณ์ความต้องการใช้ยาในอนาคต โดยน าโรงพยาบาลรามาธิบดีเป็น<br />

กรณีศึกษา เนื่องจากยาเป็นสินค้าที่มีปริมาณการใช้ขึ้นอยู่ช่วงเวลา<br />

หรือที่เรียกว่าฤดูกาล<br />

ดังนั้น<br />

winter’s exponential smoothing เป็นวิธีการพยากรณ์ทางสถิติที่เหมาะสม<br />

สามารถช่วยให้การ<br />

พยากรณ์ใกล้เคียงสถานการณ์จริงที่สุด<br />

เพราะเป็นวิธีที่น<br />

าปัจจัยด้านฤดูกาลมาใช้เป็นพารามิเตอร์<br />

หลักของการพยากรณ์ความต้องการใช้ยาในอนาคต<br />

ค าส าคัญ: พยากรณ์จ านวนยาในการเติมเต็ม, พยากรณ์อัตราการใช้ยา, ตรรกศาสตร์คลุมเครือ,<br />

โรงพยาบาล, VMI<br />

* Corresponding author: E-mail: por.arpapak@gmail.com<br />

1 นักศึกษาปริญญาโท ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหิดล<br />

2 อาจารย์ประจ าภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหิดล<br />

3 อาจารย์ประจ าภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหิดล


Abstract<br />

In present, the healthcare services industry in Thailand is severely experiencing<br />

problems in inventory management, especially hospitals under the supervision of the<br />

government. Due to a high number of patients and limitations in resources such as<br />

personnel, storage space and importantly working procedures of the hospitals which<br />

impact to accuracy of medicines demand forecast and sufficiency of medicines, it can be<br />

result in high non-value-added inventory and high inventory management cost.<br />

This research aims to develop the pharmaceutical replenishment process for<br />

Vendor Managed Inventory system to suit any situations by implementing fuzzy logic<br />

model. Because the fuzzy logic can be simulating approximate to the decision from<br />

purchasing officer. It can also be prevent potential problems brought about by personnel<br />

turnover at the warehouse, and the subsequent loss of expertise and experience.<br />

This research reveals that the need for medical consumption has an enormous<br />

impact to decision-making in purchasing the medicines for replenishing one’s stock. From<br />

the research, it has been suggested to apply the winter's exponential smoothing method<br />

in forecasting for the future demand by using Ramathibodi hospital as a case study.<br />

Because pharmaceutical items as a key factor for replenishment process and subject to a<br />

degree of seasonality of demand, the researcher believed that the use of such techniques<br />

may provide a more accurate forecast for the items stocked by the central warehouse in<br />

the hospital.<br />

Keywords: medicines replenishment, usage rate, fuzzy logic, hospital, VMI<br />

1. บทน า<br />

ในปัจจุบันประเทศไทยก าลังเป็นที่จับตา<br />

มองและถูกยอมรับจากทั่วโลก<br />

ว่าเป็นประเทศที่มี<br />

ศักยภาพและความสามารถด้านการแพทย์ ทั้งใน<br />

ด้านความเชี่ยวชาญเฉพาะทางของบุคลากรและ<br />

คุณภาพการให้บริการในระดับมาตรฐานสากล<br />

สังเกตุได้จากการที่มีชาวต่างชาติเข้ามารับ<br />

บริการรักษาในประเทศอย่างต่อเนื่อง<br />

และมี<br />

จ านวนผู้เข้ามารับบริการสูงที่สุดในภูมิภาค<br />

เอเชีย สามารถน าเงินเข้าประเทศได้ไม่ต่ากว่าปี<br />

ละหมื่นล้านบาท<br />

(ส านักงานสถิติแห่งชาติ,2553)<br />

ดังนั้นรัฐบาลจึงเล็งเห็นถึงความส<br />

าคัญของ<br />

อุตสาหกรรมการให้บริการด้านสุขภาพ และได้มี<br />

นโยบายผลักดันให้ประเทศไทยกลายเป็นเมดิ<br />

คอลฮับของเอเชีย<br />

ในก า ร ศึ ก ษ า ส า ย โ ซ่ อุ ป ท า น ข อ ง<br />

โรงพยาบาล พบว่าส่วนที่ก่อให้เกิดภาระ<br />

ค่าใช้จ่ายที่ไม่สร้างมูลค่าแก่โรงพยาบาลสูงที่สุด<br />

ก็คือ ส่วนของสินค้าคงคลัง ซึ่งคิดโดยประมาณ<br />

17–35% ของรายได้ทั้งหมด<br />

เมื่อเปรียบเทียบกับ<br />

การบริหารจัดการในส่วนอื่นๆ<br />

[1] ดังนั้นนักวิจัย<br />

ส่วนใหญ่จึงให้ความสนใจพัฒนาการจัดการ<br />

สินค้าคงคลังเป็นอันดับแรก นอกจากจะช่วยลด<br />

ต้นทุนค่าใช้จ่ายด้านยาและเวชภัณฑ์ให้กับ<br />

โรงพยาบาลแล้ว ยังสามารถเพิ ่มระดับการ<br />

ให้บริการแก่คนไข้อีกด้วย


การประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงาน<br />

แห่งชาติ ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

การบริหารจัดการสินค้าคงคลังของ<br />

โรงพยาบาลด้วย VMI เป็นแนวคิดที่ก<br />

าลังได้รับ<br />

ความสนใจเป็นอย่างมาก เนื่องจากท<br />

าให้<br />

ประเทศชาติสามารถประหยัดงบประมาณได้ปีละ<br />

4,000 ล้านบาท (ส านักงานหลักประกันสุขภาพ<br />

แห่งชาติ, 2553) การจัดการสินค้าคงคลังแบบ<br />

VMI จะมีส่วนที่แตกต่างจากแบบอื<br />

่นๆ คือ ผู้จัด<br />

จ าหน่าย (Vendor) จะเป็นผู้ดูแลและบริหาร<br />

จัดการเกียวกับสินค้าคงคลังให้แก่ลูกค้าทั้งหมด<br />

จะเริ่มต้นตั้งแต่ตรวจสอบปริมาณสินค้าคงเหลือ<br />

ของลูกค้า วางแผนในเรื่องปริมาณและเวลาใน<br />

การเติมเต็มสินค้าให้เพียงพอต่อความต้องการ<br />

และสุดท้ายก็ท าการจัดส่งสินค้าให้ถึงมือลูกค้า<br />

ตรงตามแผนที่ก<br />

าหนดไว้ แต่ทว่าโดยปกติแล้ว<br />

การตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับจ<br />

านวนยาที่ควรเติม<br />

เ ต็ ม ภ า ย ใ น โ ร ง พ ย า บ า ล จ ะ ขึ้<br />

น อ ยู่<br />

กั บ<br />

ประสบการณ์ท างานและดุลยพินิจของเจ้าหน้าที่<br />

จัดซื้อ<br />

ซึ่งเป็นปัจจัยส<br />

าคัญที่ส่งผลกระทบรุนแรง<br />

ต่อความส าเร็จในการจัดการสินค้าคงคลังแบบ<br />

VMI ในโรงพยาบาล<br />

จากปัญหาดังกล่าวผู้วิจัยจึงมีแนวคิดที่<br />

น าเสนอวิธีการตรรกะศาสตร์แบบคลุมเครือ<br />

(Fuzzy logic) มาประยุกต์ใช้ เพื่อจ<br />

าลอง<br />

กระบวนการตัดสินใจของเจ้าหน้าที่จัดซื้อที่<br />

เกี่ยวข้องกับจ<br />

านวนยาที่ควรเติมเต็ม<br />

เนื่องจาก<br />

สามารถจ าลองสถานการณ์ได้ใกล้เคียงกับการ<br />

ตัดสินใจของมนุษย์มากที่สุด<br />

มีความยืดหยุ่นสูง<br />

สามารถตอบสนองต่อสถานการณ์ที่อาจมีการ<br />

เปลี่ยนแปลงได้อย่างรวดเร็ว<br />

ทั้งยังไม่มีข้อจ<br />

ากัด<br />

ทางสถิติ เหมือนวิธีการค านวนปริมาณการสั่งซื้อ<br />

อื่นๆ<br />

อาทิเช่น EOQ ในงานวิจัยชิ้นนี้ได้น<br />

าวิธี<br />

winter’s exponential smoothing มาใช้ในการ<br />

พยากรณ์ความต้องการใช้ยาในอนาคต ซึ่งเป็น<br />

ตัวแปรน าเข้า (Input) ที่ส<br />

าคัญ โดยน า<br />

โรงพยาบาลรามาธิบดีเป็นกรณีศึกษา จากนั้นท<br />

า<br />

การเปรียบเทียบปริมาณสินค้าคงคลังระหว่าง<br />

วิธีการค านวนปริมาณการสั่งซื้อที่ใช้ปัจจุบันกับ<br />

วิธีที่น<br />

าเสนอ<br />

2. ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง<br />

2.1 Supply chain management in<br />

Healthcare<br />

ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา<br />

จ านวนผู้ป่วยที่เข้ารับ<br />

การรักษาในโรงพยาบาลมีอัตราการเพิ ่มขึ้นสูง<br />

มาก เมื่อเทียบกับจ<br />

านวนแพทย์ พยาบาล และ<br />

ผู้เชี่ยวชาญที่ปฏิบัติงานภายในโรงพยาบาล<br />

จึง<br />

ท าให้โรงพยาบาลไม่สามารถให้บริการได้ทั่วถึง<br />

ตามความต้องการของคนไข้ [2] และได้มีการ<br />

คาดการณ์ไว้ว่าในอนาคตอุตสาหกรรมการ<br />

ให้บริการด้านสุขภาพจะกลายเป็นแรงขับ<br />

เคลื่อนที่ส<br />

าคัญทางเศรษฐกิจ ดังนั้นนักวิจัยหลาย<br />

ท่านจึงให้ความสนใจพัฒนาการด าเนินงานใน<br />

โรงพยาบาลให้เกิดประสิทธิภาพเพิ ่มมากขึ้น<br />

โดยมีวัตถุประสงค์ในการปรับปรุงและพัฒนา ก็<br />

คือ ลดค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในองค์กร<br />

แต่ใน<br />

ขณะเดียวกันก็เพิ่มระดับการให้บริการ<br />

[3-4]<br />

Hui Shi (2010) [5] ท าการศึกษาและ<br />

สรุปว่า จุดวิกฤตที่ก่อให้เกิดปัญหาและส่งผล<br />

กระทบต่อการพัฒนาโรงพยาบาลค่อนข้าง<br />

รุนแรง ก็คือ การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง ซึ่ง<br />

เ ป็ น ส่ ว น ที่<br />

ใ ช้ ท รั พ ย า ก ร ต่ า ง ๆ ข อ ง ท า ง<br />

โรงพยาบาล อาทิเช่น เวลา บุคคลากร พื้นที่<br />

และ<br />

ค่าใช้จ่าย เป็นจ านวนมาก ดังนั้นเพื่อต้องการลด<br />

ค่าใช้จ่ายและพัฒนาระดับการบริการให้มี<br />

ประสิทธิภาพมากขึ้น<br />

ในหลายๆโรงพยาบาลจึง<br />

ให้ความสนใจที่จะปรับปรุงการบริหารจัดการ<br />

สินค้าคงคลังเป็นอันดับแรก [6-7]<br />

โดยทั่วไปในอดีตวิธีการ<br />

Max-Min มักได้รับ<br />

ความนิยม ส าหรับการจัดการปริมาณสินค้าคง<br />

คลังในโรงพยาบาลอย่างมาก เนื่องเป็นวิธีที่ทาง<br />

โรงพยาบาลมั่นใจว่าจะไม่เกิดเหตุการณ์ที่ยา<br />

ขาดสต๊อก และสามารถก าหนดปริมาณในการ<br />

สั่งซื้อที่แน่นอน<br />

เพื่อน<br />

ามาใช้ในการต่อรองราคา<br />

กับผู้ผลิต<br />

แต่ถ้าการค านวนหาปริมาณการสั่งซื้อ<br />

ไม่สามารถตอบสนองความต้องการที่แท้จริง<br />

จะ<br />

ส่งผลให้เกิดปัญหาด้านสต๊อกอย่างรุนแรง เช่น<br />

ถ้าสต๊อกไม่เคลื่อนไหวมีปริมาณมาก<br />

ก็อาจจะมี<br />

ยาหมดอายุและท าให้ค่าใช้จ่ายเพิ่มสูงขึ้น<br />

[8]


2.2 Vendor managed inventory in<br />

Healthcare<br />

การประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงาน<br />

แห่งชาติ ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

วัตถุประสงค์หลักในการจัดการคลังสินค้า<br />

ในโรงพยาบาล ก็คือ ลดค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจาก<br />

การด าเนินงานภายในคลังยา ในขณะเดียวกัน<br />

ต้องไม่ส่งผลกระทบท าให้ระดับการให้บริการ<br />

ค น ไ ข้ ล ด ต่ า ล ง [ 9] แ ต่ ท ว่ า ก า ร ตั ด สิ น ใ จ<br />

เปรียบเทียบระหว่างค่าใช้จ่ายและระดับความ<br />

ต้องการในโรงพยาบาลยากและซับซ้อนกว่าใน<br />

อุตสาหกรรมการผลิตทั่วไป<br />

เพราะผลกระทบที่<br />

เกิดจากการบริหารจัดการและตัดสินใจที่<br />

ผิดพลาดจะส่งผลร้ายแรงอย่างมาก ไม่ว่าจะเกิด<br />

ปัญหาการขาดแคลนยาที่หมายถึงการเสียชีวิต<br />

ของผู้ป่วย<br />

หรือการที่เก็บยาในคลังมากเกินไป<br />

ก็<br />

จะท าให้โรงพยาบาลต้องแบกรับภาระค่าใช้จ่าย<br />

มากเกินความจ าเป็น [10]<br />

Mustaffa และ Potter (2009) [11]<br />

ท าการศึกษาและเปรียบเทียบ เพื่อหาวิธีที่<br />

เหมาะสมส าหรับการพัฒนาการบริหารจัดการ<br />

สินค้าคงคลังในโรงพยาบาล ก็คือ Just-in-time,<br />

Stockless และ VMI เนื่องจากทั้ง<br />

3 วิธี<br />

เหมาะสมกับองค์กรที่ความต้องการลูกค้ามีความ<br />

แปรปรวนสูงและพยากรณ์ความต้องการท าได้<br />

ยาก จากนั้นได้ท<br />

าการเปรียบเทียบข้อดี-ข้อเสีย<br />

ของแต่ละวิธี พบว่า VMI เป็นวิธีที่ดีที่สุดส<br />

าหรับ<br />

การจัดการสินค้าคงคลังในโรงพยาบาล เพราะ<br />

ท าให้เกิดเหตุการณ์ขาดแคลนยาต่าที่สุด<br />

ซึ่งเป็น<br />

เงื่อนไขที่ส<br />

าคัญต่อการจัดการสินค้าคงคลังใน<br />

โรงพยาบาล<br />

แต่ทว่าการตัดสินใจในส่วนของจ านวนเติม<br />

เต็มยาของโรงพยาบาล เป็นซึ่งเรื่องที่ยุ่งยากและ<br />

ซับซ้อนอย่างมาก ต้องอาศัยข้อมูลอัตราการใช้<br />

ยาในอดีต ร่วมกับการตัดสินใจของเจ้าหน้าที่<br />

จัดซื้อทางโรงพยาบาล<br />

จะช่วยให้การค านวน<br />

จ านวนเติมเต็มยาแม่นย าและน่าเชื่อถือเพิ่มมาก<br />

ขึ้น<br />

[12-13] ซึ่งความแม่นย<br />

าในการค านวนจะ<br />

ขึ้นอยู่กับ<br />

ข้อมูลที่ใกล้เคียงความเป็นจริง<br />

เจ้าหน้าที่มีทักษะและประสบการณ์ท<br />

างานมาเป็น<br />

เวลานาน ดังนั้นถ้าต้องการให้<br />

VMI ประสบ<br />

ความส าเร็ จ จึงจ าเป็นต้องหา วิธีการแล ะ<br />

เครื่องมือในการจ<br />

าลองกระบวนการคิดของ<br />

เจ้าหน้าที่จัดซื้อ<br />

เพื่อช่วยตัดสินใจว่าควรซื้อยา<br />

จ านวนเท่าไรและเมื่อไร<br />

จึงเหมาะสมในแต่ละ<br />

สถานการณ์มากที่สุด<br />

[14-15]<br />

2.3 ตรรกะศาสตร์แบบคลุมเครือ<br />

ตรรกะศาสตร์คลุมเครือ (Fuzzy logic) เป็น<br />

เครื่องมือที่ช่วยในการตัดสินใจภายในใต้ความ<br />

ไม่แน่นอนของข้อมูล โดยเป็นตรรกะที่มีความ<br />

ยืดหยุ่นสูง<br />

ไม่มีข้อจ ากัดในทางสถิติ และใช้หลัก<br />

เหตุผลที่คล้ายกับการจ<br />

าลองวิธีคิดที่ซับซ้อนของ<br />

มนุษย์ ตรรกะศาสตร์คลุมเครือมีลักษณะที่พิเศษ<br />

กว่าตรรกะศาสตร์จริงเท็จ (Boolean logic) คือ<br />

เป็นแนวคิดที่มีการขยายในส่วนของความจริง<br />

(Partial true) โดยค่าอยู่ในช่วงระหว่างจริง<br />

(Completely true) กับเท็จ (Completely false)<br />

ส่วนตรรกะศาสตร์จริงเท็จจะมีค่าเป็นจริงกับเท็จ<br />

เท่านั้น<br />

(ดังรูปที่<br />

1)<br />

รูปที่<br />

1 ตรรกะจริงเท็จกับตรรกะคลุมเครือ<br />

รูปที่<br />

2 โครงสร้างของรูปแบบตรรกะคลุมเครือ<br />

โครงสร้างของการประมวลผลตรรกะศาสตร์<br />

แบบคลุมเครือ (ดังรูปที่<br />

2) แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ<br />

2.3.1 กระบวนการฟัซซีฟิเคชั่น<br />

(Fuzzification)<br />

เป็นขั้นตอนก<br />

าหนดค่าความเป็นสมาชิกของตัว<br />

แปรที่ใช้<br />

โดยการแทนตัวแปรแบบฟัซซีด้วย<br />

ฟังก์ชันความเป็นสมาชิก


การประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงาน<br />

แห่งชาติ ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

2.3.2 กระบวนการอนุมานหรือการตีความ<br />

(Inference) เป็นส่วนที่ท<br />

าหน้าที่ตรวจสอบ<br />

ข้อเท็จจริงและกฎ เพื่อใช้ในการตีความหา<br />

เหตุผล เหมือนกลไกส าหรับควบคุมการใช้<br />

ความรู้ในการแก้ไขปัญหา<br />

รวมทั้งการก<br />

าหนด<br />

วิธีการของการตีความเพื่อหาค<br />

าตอบ<br />

2.3.3 กระบวนดีฟัซซีฟิเคชั่น<br />

(Defuzzification)<br />

เป็นส่วนการแปลงผลการตัดสินใจแบบฟัซซีให้<br />

เป็นภาษามนุษย์ (Human Language) [16]<br />

ในสถานการณ์จริงของการจัดการสินค้าคง<br />

คลัง จะมีหลายปัจจัยที่ส่งผลท<br />

าให้ ระดับสินค้า<br />

คงคลังมีการแปรปรวนค่อนข้างสูง ดังนั้นตัวแปร<br />

และพารามิเตอร์หลายตัว จึงไม่สามารถระบุเป็น<br />

ค่าที่แน่นอนได้<br />

อาทิเช่น ความต้องการลูกค้า<br />

จ านวนที่สั่งซื้อ<br />

เป็นต้น ดังนั้นมีนักวิจัยหลาย<br />

ท่านสนใจท าการศึกษา Fuzzy logic เพื่อให้<br />

ต อ บ ส น อ ง ค ว า ม เ ป ลี่<br />

ย น แ ป ล ง ไ ด้ ร ว ด เ ร็ ว<br />

ยกตัวอย่างเช่น Samanta and Al-Araimi<br />

(2001) [17] ได้ท าการศึกษาการจัดการสินค้าคง<br />

คลังของกล่องที่ใช้บรรจุสินค้า<br />

เมื่อระดับสินค้า<br />

คงคลังมีการแปรปรวนตลอดเวลา (non-linear<br />

demand pattern), Jui-Lin Wang (2009) [18]<br />

น า fuzzy set method มาใช้ในการค านวน<br />

พารามิเตอร์ต่างๆของ Asia-Pacific Orient<br />

supply chain distribution ที่เป็นผู้กระจาย<br />

สินค้าให้กับร้านค้าปลีกในประเทศไต้หวัน<br />

จากนั้นเปรียบเทียบค่า<br />

reorder point เพื่อหาจุด<br />

ที่ท<br />

าให้มูลค่าสินค้าคงคลังต่าที่สุด,<br />

Lao et. al.<br />

(2012) [<strong>19</strong>] ท าการศึกษา Fuzzy logic เพื่อ<br />

สร้างเครื่องมือที่ช่วยตัดสินใจในการเลือก<br />

สถานที่จัดเก็บปลาแซลมอน<br />

เนื่องจากเป็นสินค้า<br />

ที่ลูกค้าต้องการให้ยังคงความสดใหม่อยู่เสมอ<br />

และสินค้าแต่ละประเภทก็ต้องการการเก็บรักษา<br />

แตกต่างกัน ซึ่งเงื่อนไขการเก็บรักษาหรือวิธีการ<br />

ควบคุมต่างๆ จะขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของ<br />

ผู้ปฏิบัติงานเท่านั้น<br />

จากการศึกษาพบว่าวิธีที่เหมาะสมต่อการ<br />

ประยุกต์ใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการตัดสินใจ<br />

ของเจ้าหน้าที่จัดซื้อ<br />

ก็คือ ตรรกะศาสตร์แบบ<br />

คลุมเครือ เนื่องจากเป็นวิธีที่สามารถจ<br />

าลอง<br />

สถานการณ์ได้ใกล้เคียงกับการตัดสินใจของ<br />

เจ้าหน้าที่จัดซื้อที่สุด<br />

และตอบสนองต่อองค์กรที่<br />

พารามิเตอร์มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา<br />

ซึ่ง<br />

ต้องอาศัยประสบการณ์และความรู้ของเจ้าหน้าที่<br />

มาเป็นส่วนส าคัญในการสร้างตรรกะทาง<br />

ความคิด<br />

3. กรณีศึกษา: โรงพยาบาลรามาธิบดี<br />

จากการสัมภาษณ์พบว่าในปัจจุบันเจ้าหน้าที่<br />

คลังยา จะท าการรวบรวมปริมาณยาทั้งหมดที่<br />

ห้องยาย่อยเบิกจากคลังยาใหญ่ในปีที่ผ่านมา<br />

ของยาแต่ละชนิด เพื่อที่จะหาค่าเฉลี่ยอัตราการ<br />

ใช้ยาล่วงหน้ารายเดือน เรียกว่า Msale เป็น<br />

ตัวแทนอัตราการใช้ยาตัวนั้นๆของปีถัดไป<br />

โดยขั้นตอนการเติมเต็มยาเริ่มต้นจาก<br />

เ จ้ า หน้ า ที่<br />

ค ลั ง ย า ใ ห ญ๋ จ ะ เ ติ ม ย า ใ ห้ ถึ ง ค่ า<br />

maximum หรือ เท่ากับ 150% ของค่าMSale<br />

ยาชนิดนั้นๆ<br />

เมื่อปริมาณสินค้าคงคลังลดลงถึงค่า<br />

safety stock หรือ เท่ากับ 80% ของค่า MSale<br />

ยาชนิดนั้น<br />

เจ้าหน้าที่จะสั่งซื้อยาให้เต็ม<br />

150%<br />

ของค่าMSale เสมอ นั่นหมายถึงปริมาณยาที่<br />

สั่งซื้อในแต่ละครั้ง<br />

จะมีค่าประมาณ70% ของค่า<br />

MSaleยาตัวนั้น<br />

(ดังรูปที่3)<br />

ถ้าน าค่า maximum<br />

และ safety stock กลับมาคิดเป็นจ านวนวัน จะ<br />

พบว่าค่า maximum จะคิดจากจ านวนวันที่มาก<br />

ที่สุดของปริมาณที่สามารถเก็บยาในคลัง<br />

โดยมี<br />

ค่าประมาณ 45 วัน เพื่อรองรับข้อก<br />

าจัดทางด้าน<br />

พื้นที่จัดเก็บ<br />

และ safety stock มีค่าประมาณ 24<br />

วัน เพื่อรองรับช่วงเวลาที่ใช้ในขั้นตอนการออก<br />

ใบค าสั่งซื้อ<br />

และช่วงเวลาในการจัดส่งยา ซึ่ง<br />

ก่อให้เกิดภาระด้านสินค้าคงคลังแก่โรงพยาบาล<br />

เป็นอย่างมาก


การประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงาน<br />

แห่งชาติ ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

รูปที่<br />

3 กระบวนการตัดสินใจเติมเต็มในปัจจุบัน<br />

ดังนั้นผู้วิจัยได้น<br />

าเสนอแนวทางการจัดการ<br />

สินค้าคงคลังแบบใหม่ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลด<br />

ปริมาณสินค้าคงคลัง แต่ยังสามารถตอบสนอง<br />

ความต้องการผู้ป่วยตลอดเวลา<br />

โดยเริ่มต้นจาก<br />

การพยากรณ์อัตราการใช้ล่วงหน้าด้วย วิธี<br />

winter’s exponential smoothing เนื่องจาก<br />

เป็นวิธีที่น<br />

าแนวโน้มและฤดูกาลมาเป็นปัจจัยใน<br />

การค านวน [20-21] และน าค่า maximum และ<br />

safety stock มาใช้ เพื่อก<br />

าหนดช่วงของตัวแปร<br />

จากนั้นเข้าสู่การค<br />

านวนปริมาณยาที่ควร<br />

เติมเต็มของ Fuzzy logic model โดยมีตัวแปร<br />

น าเข้าทั้งหมด<br />

4 ตัวแปร คือ อัตราการใช้ยา<br />

ล่วงหน้า, ปริมาณยาคงเหลือ, safety stock,<br />

Maximum ซึ่งค่าsafety<br />

stock กับ Maximum<br />

จะมาจากเจ้าหน้าที่ระบุวันที่ต้องการเก็บ<br />

safety<br />

stock และ Maximum เมื่อได้ปริมาณยาที่ควร<br />

เติมเต็ม จะน าไปเพิ่มปริมาณยาในคลัง<br />

จากนั้น<br />

เมื่อคลังยาใหญ่ท<br />

าการจ่ายยาไปให้ห้องยาย่อย<br />

ถ้าปริมาณยาลดลงถึง safety stock ระบบจะท า<br />

การค านวนปริมาณยาที่ควรเติมเต็มอีกครั้ง<br />

หรือ<br />

จนกว่าจะถึงรอบที่ก<br />

าหนด ในงานวิจัยก าหนด<br />

รอบการสั่งเป็นทุกต้นเดือน<br />

(ดังรูปที่4)<br />

รูปที่<br />

5 โครงสร้างค านวนจ านวนยาที่ควรเติมเต็ม<br />

รูปที่<br />

4 แผนภาพค านวนจ านวนยาที่ควรเติมเต็ม<br />

4. Fuzzy Logic Model<br />

จากที่แสดงแนวทางการจัดการสินค้าคงคลัง<br />

แบบใหม่แล้ว ขั้นต่อไปก็คือ<br />

การสร้างโปรแกรม<br />

โดยใช้โปรแกรม Matlab จากรูปที่<br />

5 แสดงถึง<br />

โครงสร้างโดยรวมของการค านวนปริมาณยาที่<br />

ควรเติมเต็มของ Fuzzy logic ในโปรแกรม<br />

Matlab Toolbox<br />

4.1 ตัวแปรน าเข้าและน าออก<br />

ตัวแปรน าเข้าที่น<br />

ามาสร้างฟังก์ชันความเป็น<br />

สมาชิก (MF) ในโมเดล มี 3 ตัวแปร คือ ปริมาณ<br />

ยาคงเหลือ, ค่าsafety stock, ค่าMaximum และ<br />

ตัวแปรน าออก คือ ปริมาณยาที่ควรเติมเต็ม<br />

(request) โดยการน าไปเปรียบเทียบกับค่าอัตรา<br />

การใช้ล่วงหน้าของเดือนนั้นๆเพื่อเปลี่ยนให้<br />

กลายเป็นเปอร์เซ็น ยกตัวอย่างเช่น การเปลี่ยน<br />

ค่าตัวแปรน าเข้าปริมาณยาคงเหลือ จาก crisp<br />

value ให้อยู่ในรูปแบบ<br />

Fuzzy value โดยมี<br />

สมการค านวน (สมการที่<br />

1)


การประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงาน<br />

แห่งชาติ ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

จากนั้นแสดงตารางเปรียบเทียบระดับ<br />

ฟังก์ชันความเป็นสมาชิก (ตารางที่<br />

1) ซึ่งได้<br />

แสดงรูปแบบกับระดับฟังก์ชันความเป็นสมาชิก<br />

(µ) ในโปรแกรม Matlab Toolbox ดังรูปที่<br />

6<br />

โดย Onhand (t) คือ ปริมาณยาคงเหลือ เดือน t<br />

(1)<br />

Forecast (t) คือ อัตราการใช้ล่วงหน้า เดือน t<br />

ตารางที่<br />

1 ตัวอย่างฟังก์ชันความเป็นสมาชิก<br />

Parameter Variable Description<br />

Onhand<br />

zero Value approximately 0-10%<br />

very low Value approximately 15-20%<br />

low Value approximately 30-35%<br />

medium Value approximately 50-55%<br />

high Value approximately 70-75%<br />

very high Value approximately 90-100%<br />

over Value approximately 130-150%<br />

รูปที่<br />

6 รูปแบบฟังก์ชันและระดับความเป็น<br />

สมาชิกของสินค้าคงคลัง<br />

4.2 กฏในการค านวน<br />

การก าหนดกฏของ Fuzzy Logic จะเขียน<br />

ในรูปแบบของ If-then (ดังตารางที่2)<br />

เพราะเป็น<br />

แบบที่ง่ายต่อความเข้าใจ<br />

และคล้ายคลึงกับ<br />

กระบวนการคิดของมนุษย์อย่างมาก<br />

ตารางที่<br />

2 ตัวอย่างกฏการค านวน Fuzzy logic<br />

Rule:1<br />

IF OH onhand is zero and<br />

SS safety stock is about 1-3 day and<br />

MAX maximum stock is about 33-35 day<br />

THEN RQ Request is 120%<br />

Rule:2<br />

IF OH onhand is zero and<br />

SS safety stock is about 1-3 day and<br />

MAX maximum stock is about 38-40 day<br />

THEN RQ Request is 135%<br />

จากนั้นท<br />

าการก าหนดกฏให้ครอบคลุมทุก<br />

เหตุ การณ์ที่เกิด<br />

ขึ้นและน<br />

ากฏไปสร้า งใ น<br />

โปรแกรม Matlab เมื่อเรียบร้อยแล้ว<br />

โปรแกรม<br />

จะแสดงกฏทั้งหมดที่ก<br />

าหนดไว้ในรูปแบบกราฟ<br />

สร้างฟังก์ชันความเป็นสมาชิก เมื่อระบุค่าตัวแปร<br />

น าเข้า โปรแกรมจะค านวนและแสดงค่าตัวแปร<br />

น าออก โดยแสดงตามรูปที่<br />

7<br />

รูปที่<br />

7 กราฟแสดงการค านวนตามกฏที่ก<br />

าหนด<br />

5. ผลการทดลอง<br />

งานวิจัยชิ้นนี้เลือกเลือกยาของโรงพยาบาล<br />

รามาธิบดีที่มีอัตราการสั่งซื้อสูงสุด<br />

20 อันดับแรก<br />

จากผู้กระจายสินค้า<br />

DKSH คิดเป็นมูลค่าสั่งซื้อ<br />

โดยประมาณ67%ของยอดสั ่งซื้อทั้งหมด<br />

ซึ่งมี<br />

ข้อมูลตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์<br />

ปี 2552 ถึงเดือน<br />

สิงหาคม ปี 2554 จากนั้นสุ่มเลือกค่าของแต่ละ


การประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงาน<br />

แห่งชาติ ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

ช่วงฟังก์ชันความเป็นสมาชิกเป็นตัวแทนในการ<br />

ค านวน และแสดงผลการลดลงของปริมาณสินค้า<br />

คงคลัง ตามตารางที่<br />

3 โดยมีสมการวิธีการ<br />

ค านวน ดังต่อไปนี้<br />

ลดลงสินค้าคงคลัง<br />

(2)<br />

OH_MSale คือผลรวมปริมาณยาคงเหลือ MSale<br />

OH_FLคือผลรวมปริมาณยาคงเหลือ Fuzzy logic<br />

ตารางที่<br />

3 เปอร์เซ็นการลดลงของปริมาณสินค้า<br />

คงคลังเปรียบเทียบ Fuzzy logic กับ MSale<br />

Maximum<br />

(day)<br />

Safety stock (day)<br />

1 3 5 7 9 11<br />

33 75.30 75.16 62.50 62.73 62.54 43.43<br />

35 73.38 73.38 60.01 60.24 59.71 40.16<br />

37 63.31 63.31 48.18 48.<strong>19</strong> 48.32 28.39<br />

39 62.09 62.06 46.08 46.14 45.96 26.91<br />

41 60.77 60.77 44.50 44.51 44.25 26.09<br />

43 47.18 47.18 31.18 31.16 31.02 15.82<br />

จากตารางที่<br />

3 พบว่าปริมาณสินค้าคงคลัง<br />

ของ Fuzzy model จะมีค่าต่ากว่าปริมาณสินค้า<br />

คงคลังในปัจจุบัน (Msale) เสมอ โดยมีค่าการ<br />

ลดลงในช่วงประมาณ 16 – 75% ขึ้นอยู่กับ<br />

จ านวนวันที่ต้องการเก็บ<br />

Safety stock และ<br />

Maximum stock เช่น ถ้าวันที่ต้องการเก็บ<br />

stock มีจ านวนน้อย เปอร์เซ็นการลดลงปริมาณ<br />

สินค้าคงคลังก็จะมีค่ามาก ซึ่งสามารถสรุปเป็น<br />

สมการเปอร์เซ็นการลดลงของปริมาณสินค้าคง<br />

คลัง โดยแบ่งเป็น 2 รูปแบบ คือ แบบที่ก<br />

าหนด<br />

ช่วงวันที่ต้องการเก็บ<br />

Safety stock และแบบที่<br />

ก าหนดช่วงวันที่ต้องการเก็บ<br />

Maximum stock<br />

จะแสดงในตารางที่<br />

4 และ 5 ตามล าดับ<br />

ตารางที่<br />

4 Trendline Equation by safety<br />

stock level<br />

Safety stock (day) Trendline Equation R 2<br />

1 - 3 Y = -2.41X + 154.21 0.896<br />

5 - 9 Y = -2.72X + 151.07 0.921<br />

10 - 15 Y = -2.36X + 1<strong>19</strong>.25 0.926<br />

โดย Y คือ เปอร์เซ็นที่ลดลงปริมาณสินค้าคงคลัง<br />

X คือ จ านวนวันที่ต้องการMaximum<br />

stock<br />

ตารางที่<br />

5 Trendline Equation by maximum<br />

stock level<br />

Maximum stock<br />

(day)<br />

Trendline Equation R 2<br />

31 - 36 Y = -2.85X + 77.37 0.867<br />

37 - 41 Y = -3.0X + 65.65 0.882<br />

42 - 45 Y = -2.65X + 49.47 0.883<br />

โดย Y คือ เปอร์เซ็นที่ลดลงปริมาณสินค้าคงคลัง<br />

6. สรุป<br />

X คือ จ านวนวันที่ต้องการ<br />

Safety stock<br />

ตรรกะศาสตร์แบบคลุมเครือ (Fuzzy logic)<br />

เป็นวิธีการที่สามารถจ<br />

าลองกระบวนการได้<br />

ใกล้เคียงกับความคิดเจ้าหน้าที่จัดซื้อของ<br />

โรงพยาบาล ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ<br />

สั่งซื้อยาได้อย่างเหมาะสม<br />

ทั้งยังช่วยลดปริมาณ<br />

สินค้าคงคลัง ส่งผลให้โรงพยาบาลสามารถลด<br />

ภาระที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้<br />

เพิ่มการหมุนเวียน<br />

ของยา และในขณะเดียวกันไม่เพียงแต่จะช่วย<br />

พัฒนากระบวนการทางธุรกิจของโรงพยาบาล<br />

เท่านั้น<br />

แต่ยังช่วยพัฒนาองค์กรอื่นๆ<br />

ที่เกี่ยวข้อง<br />

กับสายโซ่อุปทานการให้บริการทางการแพทย์<br />

ให้สามารถด าเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ<br />

แต่ทว่าในความเป็นจริงขั้นตอนการ<br />

ด าเนินงานของแต่ละองค์กรมีลักษณะที่แตกต่าง<br />

กันออกไป ท าให้อาจจะมีบางส่วนของตัวแบบ<br />

ตรรกะศาสตร์แบบคลุมเครือ (Fuzzy logic<br />

model) ที่ต้องมีการปรับเปลี่ยน<br />

อาทิเช่น ตัวแปร<br />

น าเข้า ตัวแปรน าออก และกฏในการค านวน


การประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงาน<br />

แห่งชาติ ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

ดังนั้นการน<br />

าตัวแบบตรรกะศาสตร์แบบ<br />

คลุมเครือเข้าไปประยุกต์ใช้กับองค์กร จึงควรที่<br />

จะให้ผู้ที่มีความเชี่ยวชาญในแต่ละองค์กรเป็นผู้<br />

ก าหนดและปรับเปลี่ยนตัวแบบให้เหมาะสมกับ<br />

องค์กร<br />

ปัจจัยส าคัญที่ท<br />

าให้การจัดการสินค้าคง<br />

คลังภายในโรงพยาบาลแบบ VMI ไม่ประสบ<br />

ผลส าเร็จ ก็คือ ข้อจ ากัดด้านปริมาณยาในการ<br />

สั่งซื้อจากองค์กรของรัฐบาล<br />

เช่น องค์การเภสัช<br />

กรรม สถานเสาวภา เป็นต้น เนื่องจากองค์กร<br />

ของรัฐบาลไม่สามารถผลิตได้เพียงพอต่อความ<br />

ต้องการ ดังนั้นโรงพยาบาลจึงยังคงมีความ<br />

จ าเป็นที่ต้องเก็บส<br />

ารองยาปริมาณสูง เพื่อป้องกัน<br />

เหตุการณ์ยาจะขาดสต๊อก ท าให้จ านวนยาใน<br />

การสั่งซื้อไม่มีความแน่นอน<br />

จะขึ้นอยู่กับปริมาณ<br />

ยาที่ผู้ผลิตสามารถจัดส่งได้<br />

7. กิตติกรรมประกาศ<br />

ข้าพเจ้าขอกราบขอบพระคุณ ดร.ฐิติกร<br />

ลิ้มชิมชล<br />

และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธนกรณ์<br />

แน่นหนา ที่ได้ให้ความช่วยเหลือในการวางแผน<br />

งานวิจัยในบทความฉบับนี้<br />

ตลอดจนการให้<br />

ค าปรึกษาแนะน าและตรวจแก้ไขข้อบกพร่อง<br />

ต่างๆ เพื่อให้บทความส<br />

าเร็จลุล่วงไปด้วยดี<br />

8. เอกสารอ้างอิง<br />

[1] G. Strack and Y. Pochet, “An<br />

integrated model for warehouse and<br />

inventory planning,” European Journal of<br />

Operational Research 204, pp.35–50,<br />

2010.<br />

[2] S. E. Heinbuch, “A case of successful<br />

technology transfer to health care Total<br />

quality materials management and just-intime,”<br />

Journal of Management in Medicine,<br />

Vol. 9 No.2, pp. 48-56, <strong>19</strong>95.<br />

[3] A. Kumar, L. Ozdamar and C. Ng Peng,<br />

“Supply chain redesign in the healthcare<br />

industry of Singapore,” International<br />

Journal of Health Care Quality Assurance<br />

Vol. 18 No.2, pp.152-166, 2005.<br />

[4] J.D. Vries and R. Huijsman, “Supply<br />

chain management in health services: an<br />

overview,” Supply Chain Management: An<br />

International Journal 16/3, pp.159–165,<br />

2011.<br />

[5] H. Shi, “Research on Supply<br />

Management in Hospital Based on VMI,”<br />

College of Management and Economics,<br />

University of Tianjin, 2010. Tianjin, China.<br />

[6] F. Faez, S.H. Ghodsypour and C.<br />

O’Brien, “Vendor selection and order<br />

allocation using an integrated fuzzy casebased<br />

reasoning and mathematical<br />

programming model,” Int. J. Production<br />

Economics 121, pp. 395–408, 2009.<br />

[7] J. Gu, M. Goetschalckx and Leon F.<br />

McGinnis, “Research on warehouse<br />

operation: A comprehensive review,”<br />

European Journal of Operational Research<br />

177, pp. 1–21, 2007.<br />

[8] Ian Johnson. (2012,July.20). Simplifying<br />

Min/Max Inventory Management Practices,<br />

[Online]:http://suite101.com/businessmana<br />

gement.<br />

[9] J.D. Vries, “The shaping of inventory<br />

systems in health services: A stakeholder<br />

analysis,” Int.J.Production Economics,<br />

2009.<br />

[10] P. Gary Jarrett, “An analysis of<br />

international health care logistics: The<br />

benefits and implications of implementing<br />

just-in-time systems in the health care<br />

industry,” Leadership in Health Services<br />

Vol.<strong>19</strong> No.1, 2006.<br />

[11] N.H. Mustaffa and A. Potter,<br />

"Healthcare supply chain management in<br />

Malaysia: a case study,” Supply Chain<br />

Management: An International Journal<br />

14/3, pp. 234–243, 2009.<br />

[12] A. Toni and L. Zamolo, “From a<br />

traditional replenishment system to vendormanaged<br />

inventory: A case study from the


การประชุมวิชาการด้านการวิจัยด าเนินงาน<br />

แห่งชาติ ประจ าปี 2555<br />

วันที่<br />

6-7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม พูลแมน บางกอก คิง เพาเวอร์ กรุงเทพฯ<br />

household electrical appliances sector,”<br />

Int. J. Production Economics 96, pp.63–79,<br />

2005.<br />

[13] Marloes J.T. Claassen, Arjan J. van<br />

Weele and Erik M. van Raaj, “Performance<br />

outcomes and success factors of vendor<br />

managed inventory (VMI),” Supply Chain<br />

Management: An International Journal<br />

13/6, pp. 406–414, 2008.<br />

[14] K. Sari, “Exploring the benefits of<br />

vendor managed inventory,” International<br />

Journal of Physical Distribution & Logistics<br />

Management Vol. 37 No. 7, pp.529-545,<br />

2007.<br />

[15] M.A. Rodriguez and A. Vecchietti,<br />

“Inventory and delivery optimization under<br />

seasonal demand in the supply chain,”<br />

Computers and Chemical Engineering 34,<br />

pp.1705–1718, 2010.<br />

[16] ผศ.ดร.พยุง มีสัจ. “โครงข่ายประสาทเทียม<br />

และระบบฟัซซี”, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระ<br />

จอมเกล้าพระนครเหนือ, (2553).<br />

[17] B. Samanta and S.A. Al-Araimi, “An<br />

inventory control model using fuzzy logic,”<br />

Int. J. Production Economics 73, pp.217-<br />

226, 2001.<br />

[18] Jui-Lin Wang, “A supply chain<br />

application of fuzzy set theory to inventory<br />

control models – DRP system analysis,”<br />

Expert Systems with Applications, vol36,<br />

pp.9229–9239, 2009.<br />

[<strong>19</strong>] S.I. Lao, K.L. Choy, G.T.S. Ho,<br />

Richard C.M. Yam, Y.C. Tsim, and T.C.<br />

Poon, “achieving quality assurance<br />

functionality in the food industry using a<br />

hybrid case-based reasoning and fuzzy<br />

logic approach,” Expert Systems with<br />

Applications, vol. 39, pp. 5251–5261, 2012.<br />

[20] สุจารี ด าศรี. วิทยานิพนธ์ เรื่องการศึกษา<br />

เปรียบเทียบวิธีการแบ่งแยกส่วนประกอบในการ<br />

พยากรณ์ข้อมูลอนุกรมเวลาที่มีและไม่มีการ<br />

เปลี่ยนแปลงเนื่องจากฤดูกาล,<br />

คณะวิทยาศาสตร์<br />

มหาบัณฑิสาขาสถิติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,<br />

(2549).<br />

[21] รวิพิมพ์ ฉวีสุข และ ธนีกานต์ จุฑาเจริญ<br />

วงศ์, การพยากรณ์ปริมาณความต้องการและวาง<br />

แผนการผลิตชิ้นส่วนไก่ส<br />

าหรับผลิตภัณฑ์ไก่<br />

แปรรูปแช่แข็ง: กรณีศึกษากลุ่มบริษัทธุรกิจการ<br />

ผ ลิ ต ไ ก่ ค ร บ ว ง จ ร , ภ า ค วิ ช า เ ท ค โ น โ ล ยี<br />

อุตสาหกรรมเกษตรคณะอุตสาหกรรมเกษตร<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, (2549).<br />

งานวิจัยที่สนใจ<br />

ประวัติผู้เขียนบทความ<br />

นางสาว อาภาภัค เดชพันธวณิช<br />

นักศึกษาปริญญาโท ภาควิชาอุต<br />

สาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยมหิดล<br />

1. Logistics and Supply Chain Management<br />

2. Production and Operation Management<br />

3. Operations Research

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!