16.07.2015 Views

รอยละ - คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

รอยละ - คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

รอยละ - คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

รายงานการฝกปฏิบัติงานพัฒนาอนามัยชนบทแบบเบ็ดเสร็จ30 มกราคม – 11 มีนาคม 2549ทีม 2 หมู 3 บานคําพระตําบล คําพระ อําเภอหัวตะพาน จังหวัดอํานาจเจริญรายงานนี้เปนสวนหนึ่งของการฝกปฏบัติงานพัฒนาอนามัยชนบทเบ็ดเสร็จคณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดลปการศึกษา 2548


คํานําจากการที่ประเทศไทยในปจจุบันมีความแตกตางในหลายๆดาน ทั้งทางดานเศรษฐกิจ ความเปนอยูสังคม รวมถึงดานสาธารณสุข ซึ่งสงผลตอการพัฒนาประเทศในหลักสูตรการเรียนการสอนของการฝกปฏิบัติงานพัฒนาอนามัยชนบทเบ็ดเสร็จ และ หลักสูตรการเรียนการสอนของภาควิชาเวชศาสตรปองกันและสังคม นอกจากจะมีการเรียนทางภาคทฤษฎีแลว จะมีการเรียนการสอนภาคสนาม เพื่อนักศึกษาและนิสิตแพทยไดมีโอกาสศึกษาชีวิตความเปนอยูของชาวบานสัมผัสกับชีวิตความเปนอยูจริง เปนประสบการณในการทํางานตอไปในอนาคตการออกฝกภาคสนามนั้นแบงออกเปนสองกลุม โดยกลุมแรกมีระยะเวลาการฝก 3 สัปดาห ตั้งแตวันที่ 30 มกราคม 49 ถึง วันที่ 18 กุมภาพันธ 49 และกลุมที่สองมีระยะเวลาการฝก 6 สัปดาห ตั้งแตวันที่ 30มกราคม 49 ถึง วันที่ 11 มีนาคม 49 ทางกลุมไดออกทําการสํารวจชีวิตความเปนอยู ทุกๆดานของประชาชนหมู 3 ตําบลคําหระ อําเภอหัวตะพาน จังหวัดอํานาจเจริญ ซึ่งไดนําขอมูลมาวิเคราะหและระบุปญหา โดยใหชาวบานมีสวนรวมในการระบุและแกไขปญหาดวย ซึ่งทางกลุมไดรวบรวมจัดทําเปนรายงายฉบับนี้ขึ้นรายงานฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของวิชา การฝกปฏิบัติงานพัฒนาอนามัยชนบทเบ็ดเสร็จ คณะสาธารณสุข มหาวิทยาลัยมหิดล และ วิชาเวชศาสตรปองกันและสังคม คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อ ใหนักศึกษา และ นิสิตแพทยไดศึกษาชุมชนในรูปแบบของการลงสํารวจพื้นที่เพื่อความเขาใจและสามารถนําไปปฏิบัติจริงในโอกาสตอไปหากมีขอผิดพลาดประการใดก็ขออภัยไว ณ ที่นี้ดวยคณะนักศึกษาฝกปฏิบัติงานพัฒนาอนามัยชนบทเบ็ดเสร็จ ทีม 2


สารบัญเรื่อง หนาบทที่ 1 บทนํา 1ขอมูลพื้นฐาน1. ประวัติหมูบาน 22. ขอมูลหมูบาน 32.1 ที่ตั้ง 32.2 อาณาเขต 32.3 การคมนาคม 32.4 สาธารณูปโภค 32.5 การโทรคมนาคม 32.6 การไฟฟา 42.7 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน 42.8 แหลงอาหารในชุมชน 42.9 แหลงบริการสาธารณะ 42.10 การปกครอง- แผนผังโครงสรางการบริหาร 5- โครงสรางองคกรชุมชน 6- การแบงการปกครองออกเปน 8 คุม 72.11 จํานวนประชากร 72.12 ลักษณะประชากร 82.13 ขอมูลดานสังคม 12- Community Asset 142.14 ความเชื่อ ประเพณี วัฒนธรรม 15- ปฏิทินชุมชน 162.15 ขอมูลทางดานเศรษฐกิจ 203. วัตถุประสงคของการศึกษาของทีม 21


1.6 เปรียบเทียบสถานการณที่เปนจริงกับสภาพของชุมชน 72ที่ปรารถนาเพื่อหาชองวาง- ปญหาทั้งหมดของบานคําพระ หมู 3 78- Community Syndrome 791.7 การวิเคราะหสถานการณชุมชนเชิงระบบ 801.8 การลําดับความสําคัญกอน – หลังของปญหา 80- Web of Causation ของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 82- Web of Causation ของการสุขาภิบาลสิ่งแวดลอม 83บทที่ 4 แผนแมบทและแผนงาน/โครงการแกไขปญหา1. การศึกษาชุมชน 842. การระดมความคิดเพื่อระบุปญหาสาธารณสุข 87และการลําดับความสําคัญของปญหา3. การจัดทําแผนและการทําประชาพิจารณแผน 87- วัตถุประสงค 87- วิธีการ 874. แผนงานโครงการตาง ๆ- โครงการ “อยูอยางไรปลอดภัยจากเบาหวาน 97และความดันโลหิตสูง- โครงการ จัดตั้งชมรม “ออน-หวาน-มัน-เค็ม” 105- โครงการ “ออกกําลังกายสบายชีวี เพื่อสุขภาพ 117ที่ดีของทุกคน”- โครงการ “สมตําสะอาดดี มีประโยชน” 123- โครงการ “บานเฮานาอยู หมูบานนามอง” 1345. การประเมินผลโครงการ 143บทที่ 5 สรุป (และประสบการณเรียนรูที่ได) 147ภาคผนวกก-ต


1บทที่ 1บทนําการพัฒนาการทางดานสาธารณสุขของประเทศไทยตั้งแตอดีตมาจนถึงปจจุบัน ไดมีการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศนตามยุคสมัยตาง ๆ โดยในอดีตที่ผานมา สถานการณปญหาสาธารณสุขที่สําคัญของประเทศไทย คือ ปญหาโรคติดเชื้อ ซึ่งปญหาเหลานี้สามารถใชเทคโนโลยีทางการแพทยและสาธารณสุข แกปญหาไดอยางมีประสิทธิภาพ ดังนั้นกระบวนทัศนในการแกปญหาสาธารณสุขจึงมุงเนนในความพยายามในการลดอัตราการตายกอนวัยอันควร โดยการขยายบริการใหครอบคลุมประชากรใหมากที่สุด ซึ่งประสบความสําเร็จอยางสูง ทําใหความมีสุขภาพถูกมองวาเปนความไมเจ็บปวย (Absence of Diseases) ดังนั้นบุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุขจึงเปนศูนยกลางของการตัดสินใจในระบบการดูแลสุขภาพ ประชาชนเปนเพียงผูรับบริการและการที่จะมีสุขภาพอนามัยที่ดีนั้น ประชาชนจะตองกระทําตามคําแนะนําของเจาหนาที่ทางการแพทยและสาธารณสุขเปนหลักและการที่จะไมเกิดความเจ็บปวยนั้นเปนเรื่องของแพทย อํานาจการตัดสินใจวาใครมีสุขภาพดีหรือเจ็บปวยเปนหนาที่ของแพทย การมีสวนรวมของชุมชนในการแกปญหานั้น จึงเปนแคการทําตามคําสั่งของแพทยหรือบุคลากรสาธารณสุขอยางเครงครัด อยางไรก็ตามไดมีความพยายามในการปรับรูปแบบกระบวนทัศนเรื่อยมากจนถึงปจจุบัน ไดมีกระบวนทัศนดานการพัฒนาสุขภาพ อันเนื่องมาจากการปรับเปลี่ยนโครงสรางทางประชากรและการปรับเปลี่ยนดานวิทยาการระบาดของโรค (Epidermioogic Transition) สังคมที่มีความเปลี่ยนแปลง ที่พบชัดเจน คือภาวะทวิภาระของโรค (Double Burden of Diseases) ที่เปนแบบแผนปญหาทั้งโรคติดเชื้อ โรคไมติดตอและโรคอันเนื่องมาจากพยาธิสภาพทางสังคม ดังนั้น กระบวนทัศนทางการสาธารณสุขใหมจึงตองมีการปรับสูการเนนที่ปจจัยที่มีผลตอสุขภาพเชิงบวก (Determinants of Health) การแกปญหาโดยเนนการใชเทคโนโลยีทางการแพทยและสาธารณสุขนั้นไมสามารถจัดการลดขนาดของปญหาลงไดอยางมีประสิทธิภาพเชนในอดีต จะทําไดก็เพียงแคลดความรุนแรง เมื่อเปนเชนนี้เราก็คงตองปรับเปลี่ยนแนวทางการแกปญหา โดยผสมผสานวามรวมมือระหวางสาขาและระดับตาง ๆ ตั้งแต ครอบครัวชุมชน องคกรทองถิ่น รวมไปถึงองคกรระดับชาติ เพื่อเสริมสรางความเขมแข็งและศักยภาพของครอบครัวและชุมชนในการมีสวนรวมในการแกไขปญหาสาธารณสุขของชุมชนดวยตัวเองเนื่องจากสังคมเกษตรกรรมเริ่มเปลี่ยนเปนสังคมเมืองสงผลใหวิถีการดํารงชีวิตของคนในชุมชนเปลี่ยนไป เชน พฤติกรรมการบริโภค การออกกําลังกาย ซึ่งความกาวหนาทางเทคโนโลยีทางการแพทยและสาธารณสุขไมสามารถลดอัตราการเจ็บปวยของโรคดังกลาวได เพียงแตชวยลดความรุนแรงและสภาวะแทรกซอนของโรคเทานั้น แตในทางตรงกันขามการใชภูมิปญญาชาวบานนั้นอาจจะลดอัตราการเกิดโรคไมติดเชื้อดังกลาวได ดังนั้นการศึกษาชุมชนจะทําใหทราบถึง


ลักษณะตาง ๆ ที่มีผลตอวิถีชีวิตของประชาชนในชุมชน เชน สภาพสังคม สถานการณสุขภาพทรัพยากรชุมชน โครงสรางของชุมชน รวมทั้งศักยภาพของชุมชน ทําใหสามารถประเมินปญหาสุขภาพในชุมชนและหาแนวทางในการแกไขได โดยยึดแนวคิดการแกปญหาแบบมีสวนรวม เพื่อนํามาใชในการแกไขและพัฒนาชุมชนใหเกิดความยั่งยืนและตอเนื่อง โดยอาศัยศักยภาพของคนในชุมชนเอง2ขอมูลพื้นฐาน1. ประวัติหมูบานเดิมบานคําพระ มีชื่อวาบาน “คํามะแงว” ซึ่งตั้งอยูทางทิศตะวันออกเฉียงใตของหมูบานปจจุบัน ชาวบานคํามะแงว เดิมเปนคนที่อพยพมาจากดานทิศเหนือ ซึ่งถอยขาศึกของสมัยเจานครเวียงจันทรมารุกรานในสมัยนั้น อีกตําราหนึ่ง วามาจากชาวเหนือ ถิ่นหนองบัวลําภู ซึ่งหนีถอยขาศึกมาจากกรุงเวียงจันทร ยังมีอิทธิพลอยู หรือถาคิดแลวก็อาจจะเปนคนพวกเดียวกัน ตามขอมูลในกลุมที่อพยพมานั้น มีคนสําคัญมาดวย คือ เทาพลเยีย เปนผูนํากลุม ถอยลงมาเรื่อย ๆ จนมาถึงสถานที่แหงนี้ ซึ่งเรียกวา เปนทุงกวางใหญ ทุงหลวงมีน้ํา มีปลา พวกแรงพวกกา พวกสัตวพวกกินปลานั้นเห็นวาเปนแหลงสมบูรณ ปลาก็ตัวใหญ อาจจะเปนคําเรียกติดปากวา เอาหัวปลามาทํากอนเสา คือเอาทําที่วางฐานที่ตมหุงไดสบายบานคําพระเปนหมูบานที่ลอมรอบไปดวย แหลงน้ําที่เรียกวา “คํา” หรือ “น้ําคํา” (หมายถึงบริเวณที่มีน้ําซับ น้ําซึมอยูตลอดป) เชน คําปากวีก คําแหลม คํามวง คําพระเจา คําหมี คําขี้เปดคําโกก และคําไหลบานคําพระตั้งชื่อตามคําพระเจา มีเรื่องบอกเลาตอกันมาวา บริเวณหนองคําพระเปนบริเวณปาไมหนาทึบ มีน้ําคําหรือน้ําซับไหลอยูตลอดป เหตุที่เรียกคําพระ เพราะแตกอนเชื่อวา มีพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ สมัยขอมเดินทางมา เพื่อจะไปรวมสรางพระธาตุพนม แตเดินทางไปไมถึงพระธาตุพนมสรางเสร็จกอน จึงนําพระพุทธรูปฝงดินไว ตอมาชาวบานไปพบพระพุทธรูปองคดังกลาว จึงพากันไปอัญเชิญและกราบไหวบูชา ประกอบกับบริเวณนั้นมีน้ําคําไหลอยู หมูบานบริเวณนี้จึงเรียกวา “คําพระ” (ปจจุบันพระพุทธรูปองคดังกลาว ไดถูกขโมยไปในชวงป พ.ศ. 2503)ตอมาเมื่อนายแสง บุตรราช ไดเปนผูนําหมูบาน ไดจัดตั้งผูรอง 2 คนคือ นายหอมสมบัติโสภารัตน และนายฝาย ศรีสุราช ตอมาไดบูรณะบานเมืองขึ้นในสมัยนั้น ไดรวบรวมครัวเรือนไดประมาณ 30 กวาหลังคา ตอมานายแสง บุตรราช ไดเสียชีวิต จึงไดจัดตั้ง นายหอมสมบัติ โสภารัตนขึ้นเปนผูนําตอไป


2. ขอมูลหมูบาน2.1 ที่ตั้งบานคําพระ หมูที่ 3 ตําบลคําพระ อําเภอหัวตะพาน จังหวัดอํานาจเจริญ ถนนหัวตะพาน-บานขมิ้น ระยะหางจากอําเภอหัวตะพาน 8 กิโลเมตร หางจากจังหวัดอํานาจเจริญ 28 กิโลเมตร ใชระยะทางเดินทางประมาณ 45 นาที2.2 อาณาเขตของหมูบานทิศเหนือ ติดตอกับ หมูที่ 4 ตําบลคําพระ อําเภอหัวตะพาน จังหวัดอํานาจเจริญทิศใต ติดตอกับ หมูที่ 1 ตําบลคําพระ อําเภอหัวตะพาน จังหวัดอํานาจเจริญทิศตะวันออก ติดตอกับ หมูที่ 6 ตําบลคําพระ อําเภอหัวตะพาน จังหวัดอํานาจเจริญทิศตะวันตก ติดตอกับ หมูที่ 3 ตําบลเซียงเพ็ง อําเภอปาติ้ว จังหวัดยโสธร2.3 การคมนาคมการคมนาคมติดตอระหวางอําเภอและจังหวัด รวมทั้งการคมนาคมภายในตําบลและหมูบาน มีรายละเอียดดังตอไปนี้1. ทางหลวงแผนดินหมายเลข 2210 ผาน 4 หมูบานไดแก หมูที่1,หมูที่2, หมูที่3, หมูที่4ระยะทาง 5 กิโลเมตร2. ทาง ร.พ.ช. ผาน 4 หมูบาน ไดแก หมูที่4,หมูที่ 5, หมูที่10, หมูที่11 ระยะทาง 11กิโลเมตร3. ทางคอนกรีตในหมูบาน ไดแก หมูที่1, หมูที่7, หมูที่8, หมูที่9, หมูที่12 ระยะทาง 7กิโลเมตร และอีกเสนทางหนึ่ง คือ คําพระ หมูที่ 3 – เซซง ระยะทาง 9 กิโลเมตร4. ถนนสายแยก ร.พ.ช. บานกุดซวย – บานโคกจักจั่น ถึงบานหนองแคน ระยะทาง 1.5กิโลเมตร5. มีรถสองแถวประจําทางวิ่งระหวางบานคําพระ น้ําปลีก อํานาจเจริญ6. มีรถประจําทาง ป.2 สายกรุงเทพฯ-หัวตะพาน– อุบลราชธานี ผาน2.4 สาธารณูปโภคทุกครัวเรือนจะมีไฟฟาใช มีน้ําประปาของหมูบานแตยังไมเพียงพอเทาที่ควร ซึ่งบริหารโดยคณะกรรมการประปาของหมูบาน ยังไมมีโทรศัพทบานครบทุกบาน แตเกือบทุกบานจะมีโทรศัพทเคลื่อนที่2.5 การโทรคมนาคม- ที่ทําการไปรษณียโทรเลข - แหง- โทรศัพทสาธารณะ 1 แหง3


2.6 การไฟฟา- มีไฟฟาครบทุกครัวเรือน2.7 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน- ที่พักสายตรวจ 1 แหง2.8 แหลงอาหารในชุมชน- มีรถขายอาหาร ผัก ผลไม และไข วิ่งเขามาขายในหมูบาน- มีรานขายของชําและเบ็ดเตล็ด 4 ราน- บางสวนมีการปลูกผักสวนครัวไวรับประทานเอง- มีบานเลี้ยงหมูและชําแหละขาย 1 หลัง- มีรานขายผักและอาหารปรุงสําเร็จ 2 ราน- มีตลาดนัดชุมชน 1 แหง เปดขายเย็นวันอังคารและเชาวันอาทิตย2.9 แหลงบริการสาธารณะ- มีสถานีอนามัยบานคําพระ ซึ่งตั้งอยูในหมูบาน- วัดบานคําพระ- ตูโทรศัพทสาธารณะ 1 ตู- โรงเรียนชุมชนบานคําพระ- ปอมตํารวจ 1 แหง- มีรถตูบริการรับสงไปกรุงเทพฯ- สถานีสูบจายน้ําประปา- โรงสีขาวชุมชน 1 แหง- ศาลากลางบาน- สํานักงานเครือขายหมูบาน- หอกระจายขาว4


โครงสรางองคกรชุมชน6ประธานกลุมสหกรณการเกษตร ในเขตปฏิรูปที่ดิน สมาชิก อบต.กลุมเกษตรกรปลูกผักปลอดสารพิษ 3 คนกลุมแมบานทอผาขิดนายก อบต.ประธานกลุม ผลิตขาวกลองปลอดสารพิษสมาชิกกลุม 40 คนผูใหญบานประธาน อสม.2 คนผูชวยผูใหญบานกลุมทหารเสือหัวหนาคุม 8 คน15กลุมผูนําที่เปนทางการหมอเปาหมอสูตรหมอสมุนไพรกลุมผูนําไมเปนทางการ


7การศึกษาโครงสรางองคกรในชุมชนบานคําพระ เปนการศึกษาความสัมพันธทางสังคมในแงมุมตาง ๆที่มีอยูในชุมชน เชน การศึกษาโครงสรางดานเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของชุมชน จึงมีความจําเปนจะตองศึกษาโครงสรางของชุมชนดานตาง ๆ คือ สถาบัน องคกร และบุคคลทั้งแบบเปนทางการและไมเปนทางการ ซึ่งจะทําใหทราบบทบาท อํานาจหนาที่และความสัมพันธระหวางหนวยงานตาง ๆ ในชุมชน และบุคคลสําคัญที่เปนแรงผลักดันของชุมชนใหเกิดกิจกรรมรวมกัน ไมเกิดอุปสรรคตอการเขาถึงชุมชนโครงสรางองคกรชุมชนบานคําพระ มีผูใหญบานเปนศูนยกลางซึ่งมีความสัมพันธกับองคกรชุมชนตางๆและบุคคลผูที่มีสวนไดเสียในชุมชน กลุมที่เปนทางการเชน ผูชวยผูใหญบาน อสม. อบต. กลุมแมบานทอผาขิดกลุมเกษตรกรปลูกผักปลอดสารพิษ กลุมสหกรณการเกษตรในเขตปฏิรูปที่ดิน กลุมผูนําที่ไมเปนทางการเชนหมอสูตร หมอเปา หมอสมุนไพร ซึ่งแสดงใหเห็นถึงความสัมพันธในชุมชนไดชัดเจนมากยิ่งขึ้นการแบงการปกครองออกเปนคุมตาง ๆ จํานวนทั้งหมด 8 คุม- คุมสามัคคีธรรม ประกอบดวยสมาชิก จํานวน 18 คน ดังนี้ โดยมี นายไสว สุติบุตร เปนหัวหนาคุม- คุมน้ําใจพัฒนา ประกอบดวยสมาชิก จํานวน 21 คน ดังนี้ โดยมี นายเลง บุญเจริญ เปนหัวหนาคุม- คุมพัฒนาสามัคคี ประกอบดวยสมาชิก จํานวน 17 คน ดังนี้ โดยมี นายนาค จารุจิตร เปนหัวหนาคุม- คุมสุขสรรพัฒนา ประกอบดวยสมาชิก จํานวน 20 คน ดังนี้ โดยมี นายมา รักธรรม เปนหัวหนาคุม- คุมรวมพลังพัฒนา ประกอบดวยสมาชิก จํานวน 17 คน ดังนี้ โดยมี นายประเวช ดวงคําเปนหัวหนาคุม- คุมศาลาพัฒนา ประกอบดวยสมาชิก จํานวน 18 คน ดังนี้ โดยมีนายชาลี พระสุนิน เปนหัวหนาคุม- คุมรวมใจพัฒนา ประกอบดวยสมาชิก จํานวน 17 คน ดังนี้ โดยมีนายสมาน แสนหัวเมือง เปนหัวหนาคุม- คุมพัฒนาน้ําใจ ประกอบดวยสมาชิก จํานวน 17 คน ดังนี้ โดยมีนายแสวง ไชยมาตร เปนหัวหนาคุม2.11 จํานวนประชากรบานคําพระ หมูที่ 3 ตําบลคําพระ อําเภอหัวตะพาน จังหวัดอํานาจเจริญ มีจํานวนครัวเรือนทั้งสิ้น 172ครัวเรือน และมีประชากรแยกเปนชาย 372 คนหญิง 382 คนรวมประชากรทั้งสิ้น 754 คนที่มา: จากขอมูลโปรแกรม THO ณ วันที่ 18 มกราคม 2548จากการสํารวจจริง เมื่อวันที่ 1-3 กุมภาพันธ 2549 พบวา มี จํานวนครัวเรือนที่มีผูอยูอาศัยทั้งสิ้น 136 หลังคาเรือนและมีประชากรแยกเปนชาย 254 คนหญิง 251 คนรวมประชากรทั้งสิ้น 505 คนโดยมีการแจกแจงประชากรตามตารางตอไปนี้


2.12 ลักษณะประชากรตารางแสดงจํานวนประชากรแบงตามชวงอายุ ของหมู 3บานคําพระ ต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญชายหญิงชวงอายุจํานวน(คน) รอยละ จํานวน(คน) รอยละ0 – 4 ป16 6.29 11 4.385 – 9 ป25 9.84 20 7.9610 – 14 ป25 9.84 19 7.5715 – 19 ป14 5.52 14 5.5720 – 24 ป10 3.93 12 4.7825 – 29 ป11 4.33 10 4.3830 – 34 ป12 4.72 12 4.7835 – 39 ป17 6.69 22 8.7640 – 44 ป26 10.23 24 10.3545 – 49 ป16 6.29 9 3.5850 – 54 ป22 8.66 32 12.7455 – 59 ป17 6.69 20 7.9660 – 64 ป16 6.29 19 7.5765 – 69 ป8 3.14 9 3.5870 – 74 ป12 4.72 8 3.1975 – 79 ป3 1.18 4 1.5980 – 84 ป4 1.57 4 1.5985 ขึ้นไป0 0 2 0.79รวม254 100 251 1008รวมมีประชากรที่สํารวจไดทั้งสิ้น 505 คนที่มา: จากการสํารวจชุมชนระหวางวันที่ 2-5 กุมภาพันธ 2549


9ปรามิดประชากรชาย7 6 5 4 3รอยละ2 1 0ขอมูลนี้ไดจากการสํารวจชุมชนระหวางวันที่ 2-5 กุมภาพันธ 2549ที่มา : จากการสํารวจชุมชนระหวางวันที่ 2-5 กุมภาพันธ 2549หมูที่ 3 บานคําพระ ต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญกลุมอายุ85+80-8475-7970-7465-6960-6455-5950-5445-4940-4435-3930-3425-2920-2415-1910-145-090-04หญิง0 1 2 3 4 5 6 7รอยละ


ตารางแสดงจํานวนประชากรแบงตามชวงอายุ ของหมู 3บานคําพระ ต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญ10ชวงอายุชายหญิง0 – 4 ป5 – 9 ป10 – 14 ป15 – 19 ป20 – 24 ป25 – 29 ป30 – 34 ป35 – 39 ป40 – 44 ป45 – 49 ป50 – 54 ป55 – 59 ป60 – 64 ป65 – 69 ป70 – 74 ป75 ป ขึ้นไปรวมจํานวน(คน) รอยละ22 5.8528 7.4531 8.2415 3.9929 7.7125 6.6547 12.539 10.3731 8.2529 7.7122 5.8516 4.2515 3.998 2.1311 2.928 2.13376 100.00จํานวน(คน) รอยละ17 4.3828 7.2219 4.9020 5.1524 6.2027 7.0041 10.5738 9.8038 9.8017 4.4032 8.2524 6.1925 6.4412 3.095 1.3018 4.64388 100.00รวมมีประชากรที่สํารวจจากทะเบียนราษฎรไดทั้งสิ้น 764 คนที่มา ไดมาจากสถานีอนามัยบานคําพระ


ปรามิดประชากรหมูที่ 3 บานคําพระ ต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญ117654ชาย32รอยละกลุมอายุ85+80-8475-7970-7465-6960-6455-5950-5445-4940-4435-3930-3425-2920-2415-1910-145-90-40 0 1 2 3 4 5 6 7ที่มา ขอมูลนี้ไดมาากสถานีอนามัยบานคําพระ : ไดมาจากสถานีอนามัยบานคําพระ วันที่รายงาน รายงาน 3 กุมภาพันธ 3 กุมภาพันธ 2549 ตามทะเบียนราษฎร2549 ตามทะเบียนราษฎร1หญิงรอยละ


จากรูป แผนภูมิโครงสรางดานอายุและเพศของชาวบานคําพระหมู 3 พบวาปรามิดประชากรที่ไดจากการสํารวจมีรูปทรงคลายเจดีย แสดงใหเห็นวา ประชากรชวงกลุมวัยรุนถึงทํางานซึ่งมีอายุตั้งแต 15-34 ป หายไปจากโครงสรางประชากร (เทียบกับขอมูลทุติยภูมิ) ทําใหเราสันนิษฐานได 2 ประเด็น คือ ไปศึกษาตอซึ่งนับวาเปนขอดีที่บงบอกถึงโอกาสทางการศึกษาตอของประชากรในวัยรุนถึงวัยทํางาน หรือไปทํางานที่อื่น ซึ่งสะทอนใหเห็นถึงสภาพความเปนอยูในครอบครัวที่ไมอบอุน เนื่องจาก พอ แม และลูกไมไดอยูรวมกันทําใหไมมีความสัมพันธกันในครอบครัว รวมไปถึงทางดานเศรษฐกิจซึ่งครอบครัวไมมีเงินทุนสําหรับการศึกษา ซึ่งตางจากปรามิดประชากรที่ไดจากทะเบียนราษฎร ซึ่งเปนรูประฆังคว่ําเปนโครงสรางของประชากรที่กําลังพัฒนาตอนปลาย พบวาประชากรในวัยเด็กมีนอยกวาในวัยหนุมสาว ฐานของปรามิดจึงเริ่มแคบเขา ภาวะเศรษฐกิจและความเจริญกาวหนาดานตาง ๆจะเพิ่มมากขึ้น เนื่องจาก มีประชากรในวัยแรงงานจํานวนมาก ถามองในอนาคตประชากรในกลุมวัยนี้จะเปนวัยผูใหญ และ วัยผูสูงอายุที่มีจํานวนเพิ่มมากขึ้น เพื่อใหประชากรวัยกลุมผูสูงอายุ ที่คาดวาจะเปนกลุมวัยที่มีจํานวนมากที่สุด ในอนาคตไดมี คุณภาพชีวิตที่ดี มีความสุข ไมเปนภาระพึ่งพิงของสังคม ควรสงเสริมใหประชากรในวัยแรงงาน ไดมีการดูแล สงเสริมสุขภาพ ใหแข็งแรงอยางยั่งยืน สวนประชากรในวัยสูงอายุมีจํานวนนอย ทําใหเราสันนิษฐานได 2 ประเด็น คือ ประชากรมีคุณภาพชีวิตต่ํา อายุไมยืนแตในขณะเดียวกันก็เปนขอดีของชุมชนนี้เนื่องจากไมตองมีภาระเพิ่งพิง122.13 ขอมูลดานสังคมลักษณะบานแบงเปน 2 แบบตามยุคสมัย คือ บานเกา จะเปนบานไมมีใตถุน และบานสมัยใหมเปนบานปูนชั้นเดียวไมมีใตถุน ลักษณะของครอบครัวเปนแบบครอบครัวขยาย มีปูยา ตา ยาย อยูรวมกับลูกหลานถนนในหมูบานเปนถนนคอนกรีต และมีถนนลูกรัง ไปทองนาชาวบานที่อาศัยอยูในหมูบานมักไมคอยพบวามีวัยหนุมสาวเนื่องจากไปทํางานในเมืองใหญ ๆ และสวนหนึ่งไปเรียนหนังสือสําหรับชาวบานที่เหลือสวนใหญประกอบอาชีพทํานาในหนานา และเลี้ยงสัตวตอนที่ไมไดทํานาโครงสรางความสัมพันธบานคําพระ หมู 3 มีความอยูแบบเครือญาติ โดยดูไดจากการตั้งบานเรือนจะตั้งรวมกันแบบกลุมเครือญาติมีลักษณะความเปนพี่เปนนอง ถอยทีถอยอาศัย เอื้อเฟอเผื่อแผ สมัครสมานสามัคคีกัน เคารพซึ่งกันและกันคอนขางจะใหความสําคัญกับผูนําชุมชนซึ่งเปนที่เคารพและศรัทธาของชาวบาน ทําใหมีความเปนอยูอยางสงบรมเย็นแผนที่ทางสังคมทําใหทราบขอมูลทรัพยากรชุมชน คือ ทรัพยากรบุคคล ทรัพยากรสิ่งแวดลอมและทรัพยากรองคกรเพื่อจะไดหยิบใชทรัพยากรที่มีใหคุมคามากที่สุดในการวิเคราะหปญหา หรือแกปญหา ซึ่ง


ทรัพยากรบุคคล มีดังนี้คือพระภิกษุ เจาหนาที่สาธารณสุข ยาม เจาของปมน้ํามัน คนเผาถาน คนคาไม คนทอผา คนทอเสื่อชาวนา ชาวสวน เลี้ยงสัตว พยาบาล ผูชวยทันตแพทย ครู วงกลองยาว ตํารวจ ผูใหญบาน อสม. ขายของชําขายผลไม ทําขนม ขายอาหาร ทําปลารา ขับรถรับจางสวนตัว รับจาง ชางไฟ ชางกอสราง ชางไม ชางทําโองชางซอมรถ หมอน้ํามนต หมอดู หมอสมุนไพรทรัพยากรสิ่งแวดลอม มีดังนี้คือหนองน้ํา ทุงนา ปาไผ หอกระจายขาว ศาลากลางบาน ปอมตํารวจ ผักพื้นบาน น้ําบาดาล น้ําซับทรัพยากรองคกร มีดังนี้คือสถานีอนามัย องคการบริหารสวนตําบล โรงเรียน วัด ศูนยผาขิด กลุมสหกรณการเกษตรในเขตปฏิรูปที่ดิน การประปาชุมชนซึ่งทรัพยากรทางสังคมทั้งหมดนี้จะทําใหเห็นวา ในชุมชนนี้มีทรัพยากรที่ดี เปนจุดแข็งของชุมชนซึ่งสามารถนํามาใชใหเกิดประโยชนตางๆไดมากมาย13


14Community Assetองคการบริหารสวนตําบลสถานีอนามัยโรงเรียนผักพื้นบานปอมตํารวจศาลากลางบานการประปาชุมชนวัดน้ําบาดาลหมอดู หมอน้ํามนต ชางซอมรถ ชางกอสราง ชางไฟ รับจางขับรถรับจางหมอสมุนไพร ชางทําโอง ชางไม ชางเสริมสวยสวนตัวผูชวยผูใหญบาน อสม. ขายของชํา ทําปลารา หอกระจายขาวครูทันตแพทยพยาบาล วงกลองยาว ตํารวจ ขายผลไม ทําขนม ขายอาหารทําสวน ทํานา ทอเสื่อเจาของปมยาม พระภิกษุน้ํามันเจาหนาที่เลี้ยงสัตวทอผา คาไม เผาถานสาธารณสุขทุงนาหนองน้ํา ปาไผศูนยผาขิดกลุมสหกรณออมทรัพยเพื่อการผลิตกลุมสหกรณการเกษตรในเขตปฏิรูปที่ดินหมูที่ 3 บานคําพระ อ. หัวตะพาน จ. อํานาจเจริญ


2.14 ความเชื่อ ประเพณี วัฒนธรมชาวบานบานคําพระ สวนใหญนับถือศาสนาพุทธ วัฒนธรรมประเพณี จึงมีลักษณะตามแนวศาสนาพุทธ มีวัดเปนศูนยรวมจิตใจ เพื่อรวมกันทําบุญในประเพณีตาง ๆ เชน วันพระ วันเขาพรรษา วันออกพรรษาสวนคานิยมยังเนนแบบดั้งเดิม อาจมีคานิยมสมัยใหมบาน เยาวชนนิยมดานวัตถุอยูบาน เชน โทรศัพทมือถือเยาวชนบางกลุมหารายไดเสริมชวยครอบครัว สรางความสามัคคีในครอบครัวชาวบานสวนใหญนิยมรับประทาน ขาวเหนียว สมตําปลารา ปลารา ลาบ ซกเล็ก ขนมจีนน้ํายา ปลาและปูที่หาไดจากทองนา ผักเสี้ยนดอง บางสวนปลูกผักสวนครัวกินเอง แตชาวบานสวนใหญรับประทานอาหารทะเลคอนขางนอย เพราะมีราคาแพง15


16ปฏิทินชุมชนเดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.ดานวัฒนธรรม• ประเพณีบุญเบิกบาน• ประเพณีบุญลานขาว,ประเพณีบุญขาวกรรม,ประเพณีบุญขาวจี่• ประเพณีบุญพระเวส• ประเพณีสงกรานต• ประเพณีเลี้ยงปูตา,ประเพณีปกตาแฮก• ประเพณีบุญบั้งไฟ,วันวิสาขบูชา• ประเพณีบุญเดือนเจ็ด• เขาพรรษา• ปฏิบัติธรรม(ผูเฒาผูแกเขาวัดจําศีล)• ประเพณีบุญขาวประดับดิน• ประเพณีบุญขาวสาก,ออกพรรษา,ไตน้ํามัน• ลอยกระทง,ทอดกฐิน• วันพอแหงชาติ (บําเพ็ญสาธารณประโยชน)ดานเศรษฐกิจ• ปลูกขาว(นาหวาน)• เก็บเกี่ยวขาว• ทอเสื่อ• เลี้ยงสัตว• คาขาย• ทอผาขิด• ปลูกถั่วลิสง


ประเพณีบุญเบิกบานเปนประเพณีที่มีจุดประสงคบูชาขาวใหม ที่เก็บเกี่ยวกอนนําขาวเขายุงฉาง โดยในตอนเชาชาวบานจะปนขาวเหนียวขนาดลูกมะพราว เขียนชื่อที่อยูของผูปนแลวนําไปรวมกันไวที่วัด พระจะเอาสายสิญจนมาลอมและจะใหศีลใหพร มีการสะเดาะเคราะห และมีทํากระทงสามเหลี่ยมจากกาบกลวย ภายในบรรจุอาหารคาวหวาน แลวเอาไปวางไวที่ทางสามแพง จากนั้นหันหลังเดินกลับทันที ไมหันกลับไปมองอีกเพราะเชื่อวา อาหารที่วางไวนั้นจะมีผีที่คุมครองหมูบานมากินหลังจากนั้นจะถวายกัณฑใหพระ จะทําประสาทผึ้งขึ้น แลวเอาดอกไม ขนม ใสไวในประสาทผึ้งแลวนําไปถวายวัดพรอมปจจัยประเพณีบุญลานขาวหรือบุญคูณลานเมื่อถึงเดือนยี่หรือเดือนสอง ตอนเก็บเกี่ยวเสร็จ ชาวบานก็จะขนขาวที่ยังไมไดนวดไปรวมกันไวที่ลานขาว ดวยความเชื่อที่วา ขาวนั้นเปนพืชเลี้ยงชีวิตที่มีเทพรักษา ซึ่งเทพนั้นมีนามวา พระแมโพสพ ซึ่งเปนขวัญขาวที่เลี้ยงมนุษย การทําบุญลานขาวหรือบุญคูณลาน ก็จะมีการบอกญาติพี่นองใหไปทําบุญรวมกัน ซึ่งเปนการพบญาติ เพื่อถามถึงความเปนอยูประเพณีบุญขาวกรรมเมื่อถึงเดือนอาย หรือเดือนเจียง พระสงฆองคเจาจะมีการอยูบริวาสกรรมเพื่อออกจากอาบัติสังฆากิเลสที่สงสัยตัวเองวาอาจจะตองหรือตองการจริงๆเปนการสรางความมั่นใจในการครองสมณเพศของตนชาวบานก็พากันมาทําบุญรวมกัน เพราะตอนนี้พระสงฆจะมีการปฏิบัติอยางเครงครัด อาจจะไมมีเวลาออกบิณฑบาต การมาทําบุญรวมกันในเดือนนี้จึงเชื่อวาไดถามขาวคราวกันและไดรูจักกับบุคคลอื่นๆมากขึ้นประเพณีบุญขาวจี่เมื่อถึงเดือน 3 ชาวบานที่ขนขาวขึ้นยุงฉางแลว ชาวบานจะทําบุญเกี่ยวกับขาว ชาวบานนิยมเอาขาวเหนียวที่นึ่งแลวมาปนเปนกอนใหญๆใสน้ําออยขางใน ทาเกลือขางนอก นําไปยางไฟพอแข็งตัวนํามาชุบไขแลวยางใหสุก และนําไปถวายพระที่วัดเพื่อเปนการตอบแทนบุญคุณพระแมโพสพที่ใหขาวมา จุดประสงคของประเพณีนี้เปนการตอบแทนบุญคุณพระแมโพสพประเพณีบุญพระเวส (บุญเทศนมหาชาติ)เปนประเพณีทําบุญเทศนมหาชาติ พระเวสสันดรชาดกซึ่งเปนชาติสุดทายในทศชาติกอนที่จะมาเปนพระพุทธเจา ชาวบานเชื่อวาถาใครไดฟงเทศนมหาชาติตั้งแตตนจนจบ จะไดขึ้นสวรรคมีการนิมนตพระจากแหลงตางๆ เพื่อมาเทศนมหาชาติ แจกหนังสือเทศนมหาชาติ ชาวบานจะจัดขาวปลาอาหารใหกับผูที่มารวมงาน ตอนค่ํา พระสงฆจะทําการสวดที่เรีกวา “สวดชุมนุมเทวดา” หลังจาก17


สวดเสร็จจะมีมโหรสพจัดขึ้นภายในวัด ราวตีสาม จะใหพระที่อาวุโสสูงสุด เปนผูประกาศวาพระเวสสันดรเดินทางกลับเขามาในเมืองแลว เรียกการประกาศนี้วา “อานหนังสือ สังกาศ” ชาวบานจะกลับจากวัดไปอาบน้ําแตงตัวใหม แลวกลับมาอีกครั้งเพื่อถวายภัตตาหารเชา หลังจากกรวดน้ําเรียบรอยก็จะเริ่มเทศนกัณฑแรก ไปเรื่อยๆจนกระทั่งกัณฑสุดทาย ระหวางนั้นชวงเวลา 9.00 น. - 10.00 น. จะมีการแตงกัณฑที่เรียกวา “กัณฑตน” ไปถวายพระ และระหวางที่เริ่มบทเทศนแตละบท คนที่รับเปนเจาภาพจะตองคอยจุดเทียนตามจํานวนกัณฑในบทนั้นๆ เชน บทจุลพล มีทั้งหมด 90 กัณฑ ก็ตองจุดเทียนทั้งหมด 90 เลมเปนตนชวงค่ํา จะมีการเทศนฉลองกัณฑ และชาวบานจะนําขาวมาคั่วจนพอง แลวนําดายที่ชุบแปงเปยกมาคลุกกับขาวที่คั ่วไว นําไปแขวนไวเปนขวัญยุงขาว เปนที่ระลึกวาเปนขาวจากงานบุญมหาชาติประเพณีสงกรานตมีความเชื่อวา ถาสงกรานตปนั้น ตรงกับวันอังคาร บานเมืองจะไมสงบรมเย็น ชาวบานจะทําการแกเคล็ดดวยการ ใหคนในบานคนหนึ่งขนเครื่องนอนไปนอนที่นา แลวใหคนในบานคนหนึ่งไปเรียกกลับโดยบอกวา “บานเมืองสงบรมเย็นแลว กลับบานไดแลว”หากปนั้นตรงกับวันพุธ ก็จะถือวาปนั้นบานเมืองจะวุนวาย เกิดจราจล จะมีการเชิญพระสงฆมาสวดเจริญพระพุทธมนตเพื่อแกไขเหตุการรืที่รายใหกลายเปนดีนอกจากการ สรงน้ําพระ และรดน้ําดําหัวผูใหญแลว จะมีการแหดอกไมไปตามทองนา ไปเรื่อยๆไปยังวัดของหมูบานอื่น จากนั้น จึงนํากลับมายังวัดของหมูบานมีการสวดเจริญพระพุทธมนตอยูสามคืน หลังจากนั้นก็จะสวดฉลองสงกรานตในวันสุดทายในชวงวันสงกรานตนั้น จะมีขอหามอยูหลายประการ1. ขาวอยูในยุงหามเอามาทําอะไรทั้งสิ้น ไมวาจะเอามาตํา กิน หรือทําอะไรก็ตาม2. หามทอผา3. หามตัดผม4. พิธีการมงคลตางๆ ยกเวนประเพณีสงกรานตประเพณีเลี้ยงปูตาชาวบานมีความเชื่อวาขาวในยุงฉางมีเทพยาดาและเจาที่เจาทางดูแลรักษาเปนจึงมีการทําบุญเพื่อขอบคุณเทพยาดาเจาที่เจาทางที่ดูแลรักษายุงฉางขาวประเพณีปกตาแฮกเปนประเพณีที่เกี่ยวกับการเพาะปลูกเพื่ออธิษฐานถึงพระแมโพสพโดยมีวิธีการทําดังนี้ ใหเอาตนกลามา 8 ตน เอาขัน 5 ใบ มายกใสหัว แลวอธิษฐานถึงแมโพสพ ใหมาค้ําคูณแลวจึงปกตนกลา18


ประเพณีบุญบั้งไฟจะมีการประกาศหมูบาน ถึงวันประเพณีบุญบั้งไฟ โดยจะมีหลักเกณฑคือ1. ตองไมตรงกับวันอังคาร2. ตองไมตรงกับวันเดือนดับ คือ วันแรม 14 ค่ํา หรือ แรม 15 ค่ําเมื่อกําหนดวันแนนอน จะมีการแบงกลุม แตละกลุมจะจัดหาบั้งไฟมา เมื่อถึงวันงาน จะมีพระมาแตละกลุมเพื่อใหพรในแตละกลุม ชาวบานจะแบงเปนสองกลุมคือ กลุมทําบุญที่วัด และกลุมที่ตั้งแถวขบวนรื่นเริงขางนอกที่จะเดินไปตามบานตางๆ เพื่อขอเงินตามบาน หากบานไหนไมใหเงินก็จะใหขาวสารแทน เงินที่ไดจะนํามาบริจาควัดหรือนํามากินเลี้ยงกัน ในวันตอมาจะมีการประกวดบั้งไฟซึ่งแตละกลุมจะนําบั้งไฟของตนเองออกมาแห กลุมใดที่ไมมีบั้งไฟจะตองนําบั้งไฟปลอมออกมาเพราะมิฉะนั้นถาไมมีบั้งไฟก็จะไมสามารถจัดขบวนแหได และในวันเดียวกันจะมีการประกวดเทพีบั้งไฟ รุงขึ้นจะนําบั้งไฟมาจุดแขงขันกันดูวาบั้งไฟไหนที่ขึ้นสูงที่สุดก็จะเปนผูชนะ หลังจากแขงขันกันเรียบรอยแลวก็จะมีการจัดขบวนแหอีกครั้งหนึ่งเพื่อขอรับเงินทําบุญ ถาบานไหนที่เจาของบานไมอยูก็จะเอาแกลบโรยไวเพื่อเปนสัญลักษณวาไดเดินผานมาแลว19รับพรประเพณีบุญเดือนเจ็ดเดือนนี้ผลไมพืชผักจะงอกงามก็จะเอาผลไมพืชผักเหลานี้มาถวายพระที่วัด รวมกันฟงเทศน รับศีลประเพณีปฏิบัติธรรมเปนการปฏิบัติธรรมเขาวัดจําศีล โดยในแตละบานจะสงตัวแทนหรือผูที่สมัครใจ เพื่อไปจําศีลที่วัดเปนเวลา 4 วัน 3 คืน ซึ่งจะมีเจาคณะประจําอําเภอมาเทศนาสอนปฏิบัติธรรมใหแกผูที่เขารวม เมื่อปฏิบัติธรรมจนครบกําหนดแลวจะมีการแจกประกาศนียบัตรประเพณีบุญขาวประดับดินเปนการทําบุญอุทิศสวนกุศลใหกับบุคคลผูลวงลับ มีการถวายอาหารแกพระสงฆและจัดอาหารแขวนไวตามตนไมและกําแพงเพื่อใหผูที่ลวงลับมากินอาหาร พระจะเทศนาเรื่องบุญขาวประดับดิน การทําบุญในวันนี้เนื่องจากพื้นดินมีความรอนตั้งแตเดือน 5 ซึ่งเปนเดือนสงกรานต คนทํากิจกรรมตางๆบนพื้นดินมากมายซึ่งถือเปนการลวงเกินพระแมธรณี ดังนั้นวันนี้จึงถือเปนการทําบุญเพื่อขอขมาและขอบคุณพระแมธรณี


ประเพณีบุญออกพรรษาจะมีการทําประสาทผึ้ง และจุดเทียนตอนกลางคืน ในวันขึ้น 14 ค่ํา จะมีการใหตัวแทนที่จะมีผูที่ลวงลับไปแลวมาเขาสิงบอกใหทําประสาทผึ้ง รวมกันทํา โดยคนที่รับเปนเจาภาพจะจัดขาวปลาเลี้ยงผูที่มาชวยกันทําปราสาทผึ้ง เมื่อทําเสร็จแลว จะเอาของตางๆมาแขวน แลวหามไปวัดเพื่อใหพระเจริญพระพุทธมนตให แลววันขึ้น 15 ค่ํา จะมีการจุดเทียนตามธาตุที่บรรจุกระดูกของผูที่ลวงลับไปลวประเพณีบุญขาวสากหรือขาวสารทเปนบุญถวายขาวสลากแดพระสงฆ และเปนการทําบุญใหเปรตประเพณีไตน้ํามันเปนการทําบูชาพระพุทธเจาดวยแสงไฟซึ่งชาวบานจะทําการจุดเทียน หรือการจุดพลุ,ประทัด2.15 ขอมูลดานเศรษฐกิจโครงสรางทางเศรษฐกิจโครงสรางทางเศรษฐกิจ โดยรวมของชาวบานคําพระรายไดหลักมาจากการทํานา สวนรายไดอื่นๆจากการรับจาง ตัดไม ทอผา เย็บกระเปา ตัดเย็บเสื้อผาการประกอบอาชีพประชากรสวนใหญจะประกอบอาชีพเกษตรกรรม โดยเฉพาะการทํานา ตัดไม เย็บกระเปานอกจากนี้ยังมีการเลี้ยงสัตว เลี้ยงวัวบทบาทของหนวยงานดานตาง ๆ ที่มีตอหมูบานหนวยงานตาง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน ที่เขามาสนับสนุนการดําเนินงานของหมูบานคําพระประกอบดวย1. พัฒนาชุมชนเปนหนวยงานที่เขามาสงเสริมและสนับสนุนการเขามามีสวนรวมของผูนําชุชนตางๆ2. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร- แหลงเงินทุนในการกูยืมเพื่อไปประกอบอาชีพ- อนุมัติวงเงินกูตางๆ ใหความรูเกี่ยวกับระบบการเงินของกองทุนหมูบาน และโครงการแกไขความยากจน- การใหความรูเกี่ยวกับการจัดทําระบบบัญชีตาง ๆ3. องคการบริหารสวนตําบล- จัดโครงสรางพื้นฐาน ใหกับหมูบาน เชน ถนน, ไฟฟา, ประปา, คลองสงน้ํา เปนตน- สนับสนุนดานงบประมาณในการสงเสริมวิสาหกิจชุมชน20


- อํานวยความสะดวกสถานที่ในการจัดฝกอบรมกิจกรรมตาง ๆ- เปนที่ปรึกษาในการดําเนินกิจกรรมของกลุมตาง ๆ4. สาธารณสุข- ดูแลดานสุขภาพอนามัยของหมูบาน เชน การฉีดวัคซีน การปองกัน รักษาโรคติดตอ5. เกษตร- ใหความรูเกี่ยวกับการทําการเกษตร, การทําการเกษตรปลอดสารพิษ, การใชปุย, การกําจัดศัตรูพืช และการเพาะปลูกตาง ๆ6. ปศุสัตว- แนะนําการเลี้ยงสัตวเพื่อเพิ่มรายได- ใหคําปรึกษาเกี่ยวกับการปองกันและรักษาโรคระบาดตาง ๆ- บําบัดรักษาโรคที่เกี่ยวของกับสัตว การฉีดวัคซีน- การเพาะพันธ ผสมผสานเพื่อขยายพันธสัตว3. วัตถุประสงคของการศึกษาของทีมเพื่อใหได มหาบัณฑิต และบัณฑิต ตรงตามวัตถุประสงค และปรัชญาของคณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล รวมทั้งประชาชนชนบทในเขตพื้นที่ฝกภาคสนาม ยังไดรับการพัฒนาและเพิ่มพูนศักยภาพของชุมชนในการพึ่งตนเอง อันจะนําไปสูการมีคุณภาพชีวิตที่ดี อีกทั้งยังเปนแบบอยางใหกับชุมชนใกลเคียง1. เพื่อเพิ่มพูนทักษะของนักศึกษาดานการพัฒนาอนามัยชุมชน2. เพื่อใหนักศึกษาสามารถประเมินปญหาสุขภาพในชุมชน และหาแนวทางในการแกไขได โดยยึดแนวคิดการแกปญหาแบบมีสวนรวม3. เพื่อใหนักศึกษาสามารถทํางานเปนทีมในวิชาชีพสาธารณสุขตางๆรวมกับชุมชนได4. เพื่อใหนักศึกษาสามารถผสมผสานทักษะดานวิชาการกับภูมิปญญาทองถิ่น และวัฒนธรรม เพื่อการพัฒนาและสงเสริมสุขภาพแบบยั่งยืน21


บทที่ 2วิธีการดําเนินงาน1. ขั้นตอนและกระบวนการดําเนินงานตารางแสดงระยะเวลาการดําเนินงานออกฝกภาคสนามตั้งแตวันที่ 31 มกราคม 2549 ถึง 11 มีนาคม 2549มกราคมกุมภาพันธกิจกรรม 30 31 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17แนะนําตัวตอเจาของบาน และแบงหนาที่ความรับผิดชอบภายในทีมการศึกษาชุมชนพบผูใหญบานเพื่อแนะนําตัว สํารวจชุมชนเบื้องตนและทําความรูจักกับคนในหมูบานวางแผนการเก็บขอมูลชุมชนเก็บขอมูลทุติยภูมิจาก สอ.บานคําพระ และอบต.คําพระสรุปขอมูลทุติยภูมิ วิเคราะหขอมูลและจัดทําแบบสอบถามรวมจัดทําแผนที่เดินดินกับอสม.และชาวบานสรางความคุนเคยกับชุมชนและเรียนรูวิถีชีวิตชุมชนประชุมชาวบาน, กรรมการหมูบาน และ อสส.เก็บขอมูลปฐมภูมิจากการสัมภาษณ สํารวจชุมชนและรวบรวมขอมูลทรัพยากรทางสังคม22


มกราคมกุมภาพันธกิจกรรม 30 31 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17เก็บขอมูลปฐมภูมิจากการตรวจคัดกรองความดันและเบาหวานของชาวบานในชุมชนเก็บขอมูลปฐมภูมิจากการตรวจอุจจาระเพื่อหาไขพยาธิของชาวบานในชุมชนสรุปขอมูลปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และวิเคราะหขอมูลระบุปญหาและลําดับความสําคัญของปญหาจัดการประชุมชาวบานในชุมชนเพื่อวาดภาพชุมชนที่พึงปรารถนาวิเคราะหสถานการณในปจจุบันลําดับความสําคัญของปญหาวิเคราะหหาปจจัยเหตุของปญหารวมกับชุมชน23การจัดทําแผนและการประชาพิจารณประชุมรวมกับชาวบานเพื่อจัดหมวดหมูหาแนวทางในการแกปญหาจัดทําแผนการแกปญหารวมกับชุมชนนําเสนอแผนงานตอองคการบริหารสวนตําบล


กิจกรรม กุมภาพันธ มีนาคม18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11การปฏิบัติงานตามแผนประเมินผลการปฏิบัติงานสรุปผลการปฏิบัติงานสรุปผลงาน สงมอบงานใหแก สสจ.จังหวัดอํานาจเจริญ และเดินทางกลับ242. การทําแผนที่หมูบาน


วัดโพธิศรี25ไปบาน หมู 6โรงเรียนโนนเมือง37125147129 11812892127ฉางขาว2321 32 96 8 19 2367229425 28 11 7 135 242/1 15391 33 75 14 71 20 13 154 72 98 152156/15 1096/2120879714450/139 17 108 102 34 89 157 7 9 103 47 141 1 6 3 16 50/211782 90 119 35 150 143 38 40 41 31 36 36/1 116 101 30 18 3/18842/114510274213145 43 64 63 74 26 110 2 56 56/1 85 54ฉางขาวประจําหมูบาน4884444 62/2 51 53/2 53 53/1 95506851/1873113136 80 29วัดบานคําพระ10449 55/1 69 52 55 57 59/1 60/1 58126100 142ศูนยผาขิต130 60/2 60 66 65 62 61 61/1 61/2ที่ทําการผูใหญบาน25701221499องคการบริหารสวนตําบลคําพระตลาดนัดชุมชน8311577105103132133107114สถานีอนามัย ต. คําพระโรงเรียนบานคําพระ78


26แผนที่เดินดินหมู 3 บานคําพระบานถนนลาดยางบาน อสม.บานผูใหญบานอูซอมรถถนนคอนกรีดถนนลูกรังถังขยะประปาหมูบาน บานคําพระในการสรางแผนที่เดินดินนั้นมีวัตถุประสงคในการทําหลายประการ เชน สํารวจบานเรือน สถานที่สําคัญตางๆ ทรัพยากรภายในหมูบาน เปนตน โดยในขั้นตอนการสรางนั้น เพื่อเปนการประหยัดเวลาและใหไดขอมูลที่ถูกตองที่สุด ทางกลุมจึงไดขอแผนที่เกาของหมูบานจากผูใหญบาน และเพื่อใหไดแผนที่ที่เปนขอมูลลาสุด จึงไดใชวิธีออกสํารวจดวยการเดินเทาทั้งหมด โดยแบงเปนสองกลุม แตละกลุมจะมี อสม. และเยาวชนในหมูบาน ชวยใหขอมูล ทั้งดานเสนทางตางๆที่มองไมเห็นหรือไมมีในแผนที่อันเกา บานเรือนที่ไมมีถนนเขาไปถึง สถานที่สําคัญตางๆเชน ศาลากลางบาน เปนตน และเพื่อใหไดทิศทาง ระยะทางของแผนที่ละเอียดถูกตองกวาแผนที่เดิมทางกลุมจึงวัดระยะทางของถนนแตะละเสนโดยใชเชือกฟางที่วัดระยะแลวเปนเครื่องมือวัดระยะทาง จึงทําใหแผนที่เดินดินที่สรางขึ้นมาในครั้งนี้ ละเอียดถูกตอง และครบถวนกวาแผนที่ฉบับเดิมหลังจากไดขอมูลรายละเอียด ของแผนที่เดินดินครบถวนโดยมี บานเรือน (ระบุเลขที่บาน) บานอสม.บานผูใหญบาน ปาไผ ปอมตํารวจ โทรศัทสาธารณะ ฉางขาว ศาลากลางบาน หอกระจายขา ศูนยผาขิดตําบลคําพระ วัดบานคําพระ สถานีอนามัย โรงเรียน ตลาดนัดชุมชน กลุมสหกรณตางๆ บอบาดาล โรงสีขาว รวมทั้งตําแหนงถังขยะดวย ก็ไดนําขอมูลดังกลาวมาเขียนลงแผนที่ใหญ ทําใหสามารถประยุกตไปใชประโยชนในการทําแผนที่ทางสังคมทําใหทราบถึงทรัพยากรที่มีอยูในชุมชนทั้งทรัพยากรบุคคล ทรัพยากรทางสิ่งแวดลอมที่มีอยูและทรัพยากรองคกร เพื่อใหไดภาพองครวมของชุมชนที่เขาใจงาย ชัดเจน ทําใหรูจักชุมชนมากขึ้นและสะดวกในการทํางานตอไป


273. การกําหนด Stakeholdersเกณฑที่ใชในการคัดเลือก Stakeholder1. ตองใหครอบคลุมทั้งผูไดรับประโยชน และผูเสียประโยชน จากการดําเนินกิจกรรมในการแกไขปญหาในชุมชนครั้งนี้2. ครอบคลุมตามพื้นที่ในชุมชน คือกลุม stakeholder ที่คัดเลือกมาควรกระจายใหทั่วทั้งชุมชน3. ครอบคลุมสัดสวนของประชากรชาย-หญิง ใหครบทุกกลุมอายุประชากร4. ครอบคลุมทุกกลุมอาชีพในชุมชน5. ตองใหโอกาสแกผูดอยโอกาสในชุมชน6. ประกอบไปดวยผูนําชุมชนและคณะกรรมการในชุมชน7. ตองใหครอบคลุมทุกกลุมประชากรทั้งเด็ก เยาวชน วัยแรงงาน ผูสูงอายุ8. ประกอบไปดวยกลุมเครือขายตางๆในชุมชนลําดับที่ ชื่อ ความสําคัญ1. นายบุญเพ็ง สาทาวงศ2.3.4.5.6.7.89.10.11.12.13.นายชุมพล วามะลุนนายหนูจันทร สาสารนายประกิจ จารุจิตรนายอํานวย รักธรรมนายบัวกันต ธยาธรรมนายธนพล สุพลนายเลง บุญเพ็งนางพู โยคณิตนางสุธรรมา จันทรโทวงศนายเชิดพงค ขันธุปทมนางทองศรี จารุจิตรนางนําคุณ กลางประพันธผูใหญบานประธานกลุมออมทรัพยเพื่อผลผลิตและกองทุนหมูบานผูประสานพลังแผนดินผูชวยผูใหญบานผูชวยผูใหญบานนายกองคการบริหารสวนตําบล และประธานกลุมผลิตขาวกลองปลอดสารพิษสมาชิกองคการบริหารสวนตําบลประธานอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานรองประธานอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานประธานกลุมสหกรณการเกษตรในเขตปฎิรูปที่ดินประธานกลุมแมบานทอผาขิด เจาของฟารมหมูอสม.อสม.อสม.อสม.


2814.15.16.17.18.19.20.21.22.23.24.25.26.27.28.29.30.31.32.33.34.35.36.37.38.39.40.41.42.43.4445นางอุบล จันทนชาตินางฉวีวรรณ คุณเมืองนางดาวลอย พระสุบินนางสุดใจ คุณเมืองนางออย นาดีนางอระพิน ดวงคํานางสําราญ สุณขานางสุพิศ วามะลุนนางวงวาลี ออทองนางใคร ศรีบางนางประณี พันสรคูนางฤทัยรัตน อุดมลาภนายไสว สุติบุตรนายเลง บุญเจริญนายนาค จารุจิตรนายมา รักธรรมนายประเวช ดวงคํานายชาลี พระสุนินนายสมาน แสนหัวเมืองนายแสวง ไชยมาตรนายวุฒิชัย วิริยะพันธนายประสิทธิ์ คําตันนายพรม วามะลุนนายบัวริน สลับศรีนางเสมียน บุญทองนางตอย ทางไธสงคนางพรม กุลเกษนายวันทา โยคะนิจนายสรรเพช สีตาเสนนางสาวอังศุมาลิน ศรีลารักษนางปญจพร พิมราชนายดํารงค พิลาแดงอสม.อสม.อสม.อสม.อสม.อสม.อสม.อสม.อสม.อสม.อสม.อสม.หัวหนาคุมสามัคคีธรรมหัวหนาคุมน้ําใจพัฒนา, ตัวแทนกลุมผูสูงอายุหัวหนาคุมพัฒนาสามัคคีหัวหนาคุมสุขสรรพัฒนาหัวหนาคุมพลังพัฒนาหัวหนาคุมศาลาพัฒนาหัวหนาคุมรวมใจพัฒนาหัวหนาคุมพัฒนาน้ําใจครูใหญหัวหนาสถานีอนามัยหมอเปา หมอน้ํามนต หมอสูติหมอสมุนไพรรักษางูกัดหมอสมุนไพรรักษาแมงมุมกัดตัวแทนผูปวยโรคเบาหวานตัวแทนผูไดรับเบี้ยยังชีพผูที่ไดรับผลกระทบจากฟารมหมูตัวแทนกลุมเยาวชนตัวแทนกลุมเยาวชนเจาหนาที่สาธารณสุขตํารวจ


2946 นายรังสฤษดิ์ ไชยอุตม ตํารวจ4. การรวบรวมขอมูลจากการสํารวจ4.1 ขอมูลทั่วไปของชุมชน1. การศึกษาตารางที่ 1 แสดงระดับการศึกษาประชาชนในกลุมที่สําเร็จการศึกษาแลวของบานคําพระต.คําพระ อ.คําพระ จ.อํานาจเจริญระดับการศึกษา จํานวน รอยละไมไดรับการศึกษาประถมศึกษามัธยมศึกษาตอนตนมัธยมศึกษาตอนปลายปวช.ปวส./อนุปริญญาปริญญาตรีปริญญาโทรวม22422438492313430.5870.556.9911.071.162.626.700.29100ที่มา : ขอมูลจากการสํารวจชุมชน โดยนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒน ระหวางวันที่ 2 - 5 กุมภาพันธ 2549จากการสํารวจชุมชนของคณะนักศึกษาทีมที่ 2 พบวา ประชาชนในกลุมที่สําเร็จการศึกษาแลวนั้นสวนใหญมีระดับการศึกษาคอนขางต่ํา โดยพบวามีรอยละ 0.58 ที่ไมไดรับการศึกษา มีการศึกษาระดับประถมศึกษารอยละ 70.55 ระดับมัธยมศึกษาตอนตนรอยละ 6.99 มัธยมศึกษาตอนปลายรอยละ 11.07 ระดับ ปวช. รอยละ1.16 ระดับปวส./อนุปริญญา รอยละ 2.62 ระดับปริญญาตรี รอยละ 6.70 ระดับปริญญาโท 0.29


30ตารางที่2 แสดงระดับการศึกษาประชาชนในกลุมที่กําลังศึกษาของบานคําพระต.คําพระ อ.คําพระ จ.อํานาจเจริญระดับการศึกษา จํานวน รอยละอนุบาลประถมศึกษามัธยมศึกษาตอนตนมัธยมศึกษาตอนปลายปวช.ปวส./อนุปริญญาปริญญาตรีรวม1856291634212814.0643.7522.6512.502.343.131.56100ที่มา : ขอมูลจากการสํารวจชุมชน โดยนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒน ระหวางวันที่ 2 - 5 กุมภาพันธ 2549จากการสํารวจชุมชนของคณะนักศึกษาทีมที่ 2 พบวา ประชาชนในกลุมที่กําลังศึกษา พบวากําลังศึกษาอยูระดับอนุบาลรอยละ 14.06 ระดับประถมศึกษารอยละ 43.75 ระดับมัธยมศึกษาตอนตนรอยละ 22.65มัธยมศึกษาตอนปลายรอยละ 12.50 ระดับ ปวช. รอยละ 2.34 ระดับปวส./อนุปริญญา รอยละ 3.13 ระดับปริญญาตรี รอยละ 61.562. อาชีพตารางที่ 3 แสดงอาชีพของประชาชน บานคําพระ หมูที่ 3 ต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญอาชีพ จํานวน(คน) รอยละทํานาทําไรรับจางคาขายรับราชการแมบาน21074711241241.581.389.302.184.752.37ที่มา : ขอมูลจากการสํารวจชุมชน โดยนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒน ระหวางวันที่ 2 - 5 กุมภาพันธ 2549จากขอมูลที่ไดจากการสํารวจชุมชนบานคําพระ พบวาประชาชนประกอบอาชีพ ทําไรจํานวน 210 คนคิดเปนรอยละ 41.58 ทํานาจํานวน 7 คน คิดเปนรอยละ 1.38 รับจางจํานวน 47 คน คิดเปนรอยละ 9.30


31คาขาย จํานวน 11 คน คิดเปนรอยละ 2.18 รับราชการ จํานวน 24 คิดเปนรอยละ 4.75 แมบานจํานวน 12 คิดเปนรอยละ 2.37 นักเรียน/นักศึกษา 127 คิดเปนรอยละ 25.15 วางงาน จํานวน 67 คน รอยละ 3.27เมื่อพิจารณาแลวพบวาประชากรสวนใหญประกอบอาชีพทํานา ซึ่งก็สอดคลองกับสภาพภูมิประเทศของบานคําพระ แตขอมูลนี้ไมไดแสดงอาชีพของผูที่มีชื่ออยูในทะเบียนบานแตไมไดอาศัยอยู ณ ปจจุบันนี้3. รายไดตารางที่ 4 แสดงรายไดตอเดือนของประชากรบานคําพระ หมูที่ 3 ต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญรายไดตอเดือน(บาท) จํานวน(คน) รอยละต่ํากวา 50005000 - 10000มากกวา 10000ไมทราบ/ไมตอบรวม44312128137731.678.225.5774.54100ที่มา : ขอมูลจากการสํารวจชุมชน โดยนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒน ระหวางวันที่ 2 - 5 กุมภาพันธ 2549ตารางที่ 5 แสดงประชากรที่มีรายไดพอเพียง ของหมู 3 บานคําพระ ต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญรายไดเพียงพอกับรายจายหรือไมไมเพียงพอเพียงพอและเหลือเก็บเพียงพอไมเหลือเก็บรอยละ16.410.273.4ที่มา : ขอมูลจากการสํารวจชุมชน โดยนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒน ระหวางวันที่ 2 - 5 กุมภาพันธ 2549เมื่อพิจารณาดูขอมูลที่ไดจากการสํารวจชุมชนบานคําพระพบวาประชาชนมี่รายไดเฉลี่ย 4,634 บาทตอเดือนตอคนและพบวาประชาชนสวนใหญมีรายไดตอเดือนต่ํากวา 5,000 บาท ซึ่งมีจํานวน 44 คน คิดเปนรอยละ 31.67 ซึ่งถือวาต่ําอยู และเมื่อพิจารณารวมกับขอมูลการมีหนี้สินพบวาประชาชนสวนใหญมีรายไดเพียงพอแตไมเหลือเก็บถึงรอยละ 73.4


32ตารางที่ 6 แสดงประชากรที่มีรายไดพอเพียง ของหมู 3 บานคําพระ ต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญรายไดเพียงพอกับรายจายหรือไมธกส.กลุมสหกรณการเกษตรเงินกองทุนหมูบานกลุมออมทรัพยหนี้นอกระบบอื่น ๆรอยละ31.5113.7035.6213.701.374.11ที่มา : ขอมูลจากการสํารวจชุมชน โดยนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒน ระหวางวันที่ 2 - 5 กุมภาพันธ 2549นอกจากเรื่องรายจายปกติเพื่อการดํารงชีพแลว ในสวนของคาใชจายที่เปนภาระหลักอีกดานก็คือ การชําระเงินคืนแกกองทุนเงินกูตาง ๆ ซึ่งไดทําการกูยืมเงินมาเพื่อใชในการพัฒนาความเปนอยูในครอบครัว จากการสํารวจก็พบวาสวนใหญของชุมชนทําการกูยืมเงินจากกองทุนที่มีอยูในชุมชน รอยละ 94.53 โดยแบงเปนเงินกองทุนหมูบาน รอยละ 35.62 รองมารอยละ 31.51 จะกูยืมเงินจากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ มีบางสวนกูยืมเงินจากกลุมสหกรณการเกษตรและกลุมออมทรัพยหมูบาน รอยละ 13.70 และมีสวนนอยรอยละ 1.37และรอยละ 4.11 กูยืมเงินนอกระบบและอื่น ๆจากขอมูลนี้ทําใหทราบวาในชุมชนมีเงินที่เขามาหมุนเวียนในระบบการเงินในรูปแบบของการกูยืม ซึ่งถาเงินนี้ถูกนําไปกอใหเกิดผลกําไรขึ้นจะเปนประโยชนอยางมาก


334.2 ขอมูลดานสุขภาพของชุมชน1. หลักประกันสุขภาพตารางที่ 7 แสดงหลักประกันสุขภาพของประชาชนหมู 3 บานคําพระ ต.คําพระ อ.หัวตะพานจ.อํานาจเจริญหลักประกันสุขภาพ จํานวน(คน) รอยละไมมีสิทธิสิทธิโครงการ 30 บาทเบิกราชการ/รัฐวิสาหกิจพิการประกันสังคมพระเณรประกันเอกชนสิทธิอื่นๆไมทราบ/ไมตอบ0386100070435รวม 505 100.00ที่มา : ขอมูลจากการสํารวจชุมชน โดยนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒน ระหวางวันที่ 2 - 5 กุมภาพันธ 2549จากการสํารวจชุมชนบานคําพระ หมูที่ 3 ต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญ ระหวางวันที่ 2 – 5 กุมภาพันธ 2549 พบวาสวนใหญประชาชนบานคําพระ ใชสิทธิ 30 บาทซึ่งสอดคลองกับนโยบายของรัฐบาลที่ใหทุกคนมีหลักปรันสุขภาพถวนหนา0.076.419.80.01.40.00.80.61.0


342. สถานะสุขภาพตารางที่ 8 อัตราปวยดวยโรคความดันโลหิตสูง หมูที่ 3 บานคําพระ ต.คําพระ อ.หัวตะพาน ป2549กลุมอายุ จํานวนประชากร จํานวน ความชุก(รอยละ)นอยกวา 15 116 0 015 - 40 ป 144 2 1.388มากกวา 40 ป 245 26 10.61รวม 505 28 5.545ที่มา : ขอมูลจากการสํารวจชุมชน โดยนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒน ระหวางวันที่ 2 - 5 กุมภาพันธ 2549จากการสํารวจชุมชน พบวามีอัตราปวยดวยโรคความดันโลหิตสูงรอยละ 5.545 จากจํานวนประชากรทั้งหมดที่สํารวจได โดย 92.86% ของประชากรที่ปวยดวยโรคความดันโลหิตสูง เปนประชากรในกลุมอายุมากกวา40 ป ซึ่งบอกถึงความชุกของโรคความดันโลหิตสูงของประชากร ในกลุมอายุมากกวา 40 ป อยางเห็นไดชัด และจากการอางอิงกับตัวชี้วัดยุทธศาสตรสรางคนไทยแข็งแรง เมืองไทยแข็งแรง (Healthy Thailand) ที่มีตัวชี้วัดของมิติทางกาย เปาหมายลดอัตราปวยตายโรคอันดับตน ๆ ซึ่งมีตัวชี้วัดคือรอยละของประชากรอายุ 40 ปขึ้นไป ไดรับบริการคัดกรองความดันโลหิตเปนจํานวนรอยละ 60 ซึ่งจากการสํารวจในประชากรกลุมอายุมากกวา 40 ป พบวามีประชากรปวยดวยโรคความดันโลหิตสูงรอยละ 10.61


35ตารางที่ 9 แสดงอัตราปวยดวยโรคเบาหวาน หมูที่ 3 บานคําพระ ต.คําพระ อ.หัวตะพาน ป2549กลุมอายุ จํานวนประชากร จํานวน ความชุก(รอยละ)นอยกวา 15 116 0 015 - 40 ป 144 1 0.69440 ปขึ้นไป 245 26 10.61รวม 505 27 5.346ที่มา : ขอมูลจากการสํารวจชุมชน โดยนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒน ระหวางวันที่ 2 - 5 กุมภาพันธ 2549จากการสํารวจชุมชน พบวามีอัตราปวยดวยโรคเบาหวานรอยละ 5.346 จากจํานวนประชากรทั้งหมดที่สํารวจได โดย 96.3% ของประชากรที่ปวยดวยโรคเบาหวาน เปนประชากรในกลุมอายุมากกวา 40 ป ซึ่งบอกถึงความชุกของโรคเบาหวานของประชากร ในกลุมอายุมากกวา 40 ป อยางเห็นไดชัด และจากการอางอิงกับตัวชี้วัดยุทธศาสตรสรางคนไทยแข็งแรง เมืองไทยแข็งแรง (Healthy Thailand) ที่มีตัวชี้วัดของมิติทางกาย เปาหมายลดอัตราปวยตายโรคอันดับตน ๆ ซึ่งมีตัวชี้วัดคือรอยละของประชากรอายุ 40 ปขึ้นไป ไดรับบริการคัดกรองเบาหวานเปนจํานวนรอยละ 60 ซึ่งจากการสํารวจในประชากรกลุมอายุมากกวา 40 ป พบวามีประชากรปวยดวยโรคความดันโลหิตสูงรอยละ 10.6


36ตารางที่ 10 แสดงอัตราปวยดวยโรคติดเชื้อ หมูที่ 3 บานคําพระ ต.คําพระ อ.หัวตะพาน ป2548ชายหญิงโรค จํานวน รอยละ จํานวน รอยละโรคไขไมทราบสาเหตุ 1 25 3 37.5โรคอาหารเปนพิษ 1 25 2 25โรคอุจจาระรวง 0 0 3 37.5โรคปอดบวม 2 50 0 0รวม 4 100 8 100ขอมูลจากรายงาน 506 สถานีอนามัยตําบลคําพระ ป 2548จากรายงาน 506 พบโรคติดเชื้อในบานคําพระในอัตราที่นอยโดยโรคไขไทรายสาเหตุ ในเพศชายพบผูปวยจํานวน 1 ราย คิดเปนรอยละ 25 หญิง จํานวน 3 ราย คิดเปนรอยละ 37.5 โรคอาหารเปนพิษ ชายจํานวน1 ราย คิดเปนรอยละ 25 หญิง จํานวน 2 ราย คิดปนรอยละ 25 โรคอุจจาระรวง หญิง จํานวน 3 ราย คิดเปนรอยละ 37.5 โรคปอดบวม ชายจํานวน 2 ราย คิดเปนรอยละ 50 หญิง ไมมีผูปวย


374.3 ขอมูลเกี่ยวกับอนามัยครอบครัวตารางที่ 11 แสดงอัตราการขาดสารอาหาร บานคําพระ หมูที่ 3 ต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาเจริญการขาดสารอาหาร จํานวนครัวเรือน รอยละมีการขาดสารอาหารไมขาดสารอาหารรวม11351360.7399.26100ที่มา : ขอมูลจากการสํารวจชุมชน โดยนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒน ระหวางวันที่ 2 - 5 กุมภาพันธ 2549จากการสํารวจชุมชนบานคําพระ หมูที่ 3 ต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญ ระหวางวันที่ 2 – 5กุมภาพันธ 2549 โดยทีมนักศึกษา คณะสาธารณสุขศาสตร ม.มหิดลและนิสิตนักศึกษาคณะแพทยศาสตรมศว. ทีมที่ 2 พบวามี 1 ครัวเรือนที่มีสมาชิกขาดสารอาหาร คิดเปนรอยละ 0.73 ซึ่งขอมูลตรงนี้นั้นอาจไมตรงกับความเปนจริงเพราะอาจพบอคติจากการบอกสวนสูงหรือน้ําหนักที่ไมตรงตามความเปนจริง ดังนั้นควรมีการตรวจภาวะขาดสารอาหารดวยวิธีมาตรฐาน คือการชั่งน้ําหนักและวัดสวนสูงเพื่อนํามาคําณวน BMIตารางที่ 12 แสดงอัตราที่พบภาวะอวน บานคําพระ หมูที่ 3 ต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาเจริญภาวะอวน จํานวนครัวเรือน รอยละอวนไมอวนรวม61301364.495.6100ที่มา : ขอมูลจากการสํารวจชุมชน โดยนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒน ระหวางวันที่ 2 - 5 กุมภาพันธ 2549จากการสํารวจชุมชน บานคําพระ หมูที่ 3 ต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญ ระหวางวันที่ 2 – 5กุมภาพันธ 2549 โดยทีมนักศึกษา คณะสาธารณสุขศาสตร ม.มหิดลและนิสิตนักศึกษาคณะแพทยศาสตร มศว.ทีมที่ 2 พบวามีสมาชิกในครัวเรือนที่มีภาวะอวน 6 ครัวเรือน คิดเปนรอยละ 4.4


38ตารางที่ 13 แสดงอัตราปวยดวยโรคมะเร็ง บานคําพระ หมูที่ 3 ต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญโรคมะเร็ง จํานวนครัวเรือน รอยละเปนมะเร็งไมเปนมะเร็ง (ปากมดลูก)รวม135113699.30.7100ที่มา : ขอมูลจากการสํารวจชุมชน โดยนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒน ระหวางวันที่ 2 - 5 กุมภาพันธ 2549จากการสํารวจชุมชน บานคําพระ หมูที่ 3 ต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญ ระหวางวันที่ 2 – 5กุมภาพันธ 2549 โดยทีมนักศึกษา คณะสาธารณสุขศาสตร ม.มหิดลและนิสิตนักศึกษาคณะแพทยศาสตร มศว. ทีมที่ 2 พบวา มีจํานวนครัวเรือนที่เปนโรคมะเร็ง ซึ่งในขณะที่สํารวจนี้โรคมะเร็งที่พบคือ มะเร็งปากมดลูกแตไดทําการรักษาแลว จํานวน 1 ราย คิดเปนรอยละ 0.7ตารางที่ 14 แสดงอัตราปวยดวยโรคไขเลือดออก บานคําพระ หมูที่ 3 ต.คําพระ อ.หัวตะพานจ.อํานาจเจริญโรคไขเลือดออก จํานวนครัวเรือน รอยละเปนไขเลือดอกไมเปนไขเลือดออกไมตอบ/ไมทราบขอมูลรวม212014136ที่มา : ขอมูลจากการสํารวจชุมชน โดยนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒน ระหวางวันที่ 2 - 5 กุมภาพันธ 2549จากการสํารวจชุมชน บานคําพระ หมูที่ 3 ต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญ ระหวางวันที่ 2 – 5กุมภาพันธ 2549 โดยทีมนักศึกษา คณะสาธารณสุขศาสตร ม.มหิดลและนิสิตนักศึกษาคณะแพทยศาสตร มศว.ทีมที่ 2 พบวา มีสมาชิกในครัวเรือนที่เคยปวยเปนไขเลือดออกจํานวน 2 ครัวเรือน คิดเปนรอยละ 1.5 ซึ่งจากการสอบถามเพิ่มเติมพบวามีจํานวนผูปวย 2 ราย1.588.210.3100


39ตารางที่ 15 แสดงอัตราปวยดวยโรคอุจจาระรวง บานคําพระ หมูที่ 3 ต.คําพระ อ.หัวตะพานจ.อํานาจเจริญโรคอุจาระรวง จํานวนครัวเรือน รอยละเปนอุจาระรวงไมเปนโรคอุจาระรวงไมตอบ/ไมทราบขอมูลรวมที่มา : ขอมูลจากการสํารวจชุมชน โดยนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒน ระหวางวันที่ 2 - 5 กุมภาพันธ 2549จากการสํารวจชุมชน พบวามีจํานวนสมาชิกในครัวเรือนที่ปวยเปนโรคอุจาจาระรวง จํานวน 32ครัวเรือน คิดเปนรอยละ 23.5 ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับขอมูลอัตราปวยดวยโรคอุจจาระรวงที่ไดจากรายงาน 506ของสถานีอนามัยตําบลคําพระ พบวาแตกตางกันโดยจากการสํารวจมีอัตราปวยดวยโรคอุจจาระรวงมากกวา32931113623.568.48.1100ตารางที่ 16 แสดงอัตราปวยดวยโรคพยาธิ บานคําพระ หมูที่ 3 ต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญโรคพยาธิ จํานวนครัวเรือน รอยละเปนโรคพยาธิไมเปนโรคพยาธิไมตอบ/ไมทราบขอมูลรวมที่มา : ขอมูลจากการสํารวจชุมชน โดยนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒน ระหวางวันที่ 2 - 5 กุมภาพันธ 2549จากการสํารวจชุมชนพบวามีครัวเรือนที่มีสมาชิกเปนโรคพยาธิจํานวน 84 ครัวเรือน คิดเปนรอยละ 61.8ซึ่งสอดคลองกับพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ดิบ ๆ สุก ๆ84371513661.827.211100


40ตารางที่ 17 แสดงอัตราการตรวจน้ําตาลในเลือด บานคําพระ หมูที่ 3 ต.คําพระอ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญการตรวจน้ําตาลในเลือด จํานวนครัวเรือน รอยละเคยตรวจน้ําตาลในเลือดไมเคยตรวจน้ําตาลในเลือดไมตอบ/ไมทราบขอมูลรวมที่มา : ขอมูลจากการสํารวจชุมชน โดยนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒน ระหวางวันที่ 2 - 5 กุมภาพันธ 254935861513663.225.711100จากการสํารวจชุมชนพบวามีสมาชิกในครัวเรือนเคยตรวจน้ําตาลในเลือด จํานวน 35 ครัวเรือนคิดเปนรอยละ 63.2ตารางที่ 18 แสดงอัตราของผูปวยเบาหวานที่มีอาการแทรกซอน บานคําพระ หมูที่ 3 ต.คําพระอ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญการตรวจน้ําตาลในเลือด จํานวน(ราย) รอยละชาตามปลายมือเปนแผลหายชาชา/แผลหายชาไมตอบ/ไมทราบขอมูลรวม112592740.747.4018.5233.33100ที่มา : ขอมูลจากการสํารวจชุมชน โดยนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒน ระหวางวันที่ 2 - 5 กุมภาพันธ 2549จากการสํารวจชุมชนพบวามีจํานวนผูปวยโรคเบาหวานมีอาการแทรกซอนโดยแยกตามลักษณะอาการคือ ชาตามปลายมือ จํานวน 11 ราย คิดเปนรอยละ 40.74 เปนแผลหายชาจํานวน 2 ราย คิดเปนรอยละ 7.40ชา/แผลหายชา จํานวน 5 ราย คิดเปนรอยละ 33.33


41ตารางที่ 19 แสดงจํานวนครัวเรือนและรอยละที่สมาชิกมีพฤติกรรมการรับประทานอาหารสุก ๆ ดิบ ของประชาชน บานคําพระ หมู 3 ต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญการกินอาหารสุก ๆดิบ ๆ จํานวนครัวเรือน รอยละมีไมเคยมีเคยมีแตปจจุบันเลิกแลวไมตอบ/ไมทราบขอมูลรวม982313213672.0516.919.551.47100ที่มา : ขอมูลจากการสํารวจชุมชน โดยนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒน ระหวางวันที่ 2 - 5 กุมภาพันธ 2549จากการสํารวจชุมชนพบวาชาวบานยังมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารสุก ๆ ดิบ ๆอยู โดยยังพบวามีหลายครัวเรือนที่มีสมาชิกรับประทานอาหารสุก ๆ ดิบ ๆอยูถึงรอยละ 72.05 ซึ่งถือวาอยูในระดับที่สูง และจากการสังเกตุเองของคณะนักศึกษาทีม 2 นั้นก็พบวามีการรับประทานอาหารสุก ๆ ดิบ ๆ อยูจริง และเมื่อไดทําการตรวจอุจาระเพื่อหาพยาธิก็พบวาเจอพยาธิในอุจาระ แสดงใหเห็นวาประชานยังมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารสุก ๆ ดิบ ๆตารางที่ 20 แสดงจํานวนและรอยละของครัวเรือนที่มีสมาชิกมีพฤติกรรมการสูบบุหรี่ ของประชาชนบานคําพระ หมู 3 ต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญการสูบบุหรี่ จํานวหลังคาเรือน รอยละมีไมเคยมีเคยมีแตปจจุบันเลิกแลวไมตอบ/ไมทราบขอมูลรวม556118213640.4444.8513.231.47100ที่มา : ขอมูลจากการสํารวจชุมชน โดยนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒน ระหวางวันที่ 2 - 5 กุมภาพันธ 2549จากการสํารวจชุมชนพบประชาชนบานคําพระ หมูที่ 3 คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญ ระหวางวันที่ 2 – 5 กุมภาพันธ 2549 นั้นยังมีพฤติกกรมการสูบบุหรี่อยูถึง รอยละ 40.44 ซึ่งการสูบบุหรี่นั้นเปนพฤติกรรมที่เสี่ยงตอการเกิดโรคเรื้อรังหลาย ๆ โรคดวยกัน อาทิเชน โรคมะเร็ง โรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูงเปนตน และเมื่อพิจารณาจากอัตราปวยดวยโรคความดันโลหิตสูงแลว ก็พบวาชาวบานคําพระมีอัตราปวยสูงถึงรอยละ 10.61 ซึ่งสอดคลองกัน


42ตารางที่ 21 แสดงจํานวนและรอยละของครัวเรือนที่มีสมาชิกมีพฤติกรรมการดื่มสุรา ของประชาชนบานคําพระ หมู 3 ต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญการดื่มสุรา จํานวหลังคาเรือน รอยละมีไมเคยมีเคยมีแตปจจุบันเลิกแลวไมตอบ/ไมทราบขอมูลรวม823616213660.2926.4711.761.47100ที่มา : ขอมูลจากการสํารวจชุมชน โดยนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒน ระหวางวันที่ 2 - 5 กุมภาพันธ 2549จากการสํารวจชุมชนพบประชาชนบานคําพระ หมูที่ 3 คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญ ระหวางวันที่ 2 – 5 กุมภาพันธ 2549 นั้นยังมีพฤติกกรมการดื่มสุราอยูถึง รอยละ 60.29 ซึ่งการดื่มสุรานั้นเปนพฤติกรรมที่เสี่ยงตอการเกิดโรคเรื้อรังหลาย ๆ โรคดวยกัน อาทิเชน โรคมะเร็งตับ โรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง เปนตนและเมื่อพิจารณาจากอัตราปวยดวยโรคความดันโลหิตสูงแลว ก็พบวาชาวบานคําพระมีอัตราปวยสูงถึงรอยละ10.61 ซึ่งสอดคลองกัน


43ตารางที่ 22 แสดงการออกกําลังกาย ของประชาชน หมู 3 บานคําพระ ต.คําพระ อ.หัวตะพานจ.อํานาจเจริญการออกกําลังกายเขาใจความหมายการออกกําลังกายไมเขาใจความหมายการออกกําลังกายออกกําลังกายไมออกกําลังกายใชเวลาออกกําลังกายมากกวา 30 นาที 3 ครั้ง/สัปดาหใชเวลาในการออกกําลังกายนอยกวา 30 นาที3 ครั้ง/สัปดาหรอยละ40.859.236.763.328.9ที่มา : ขอมูลจากการสํารวจชุมชน โดยนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒน ระหวางวันที่ 2 - 5 กุมภาพันธ 2549จากการสํารวจชุมชน ระหวางวันที่ 2 – 5 กุมภาพันธ 2549 พบวา ประชาชนบานคําพระ หมูที่ 3 ต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญเขาใจความหมายของการออกกําลังกายเพียงรอยละ 40.8 ซึ่งต่ํากวารอยละ 50และยังพบวามีเพียงรอยละ 36.7 เทานั้นที่ออกกําลังกาย และเวลาที่ออกกําลังกายไมถึง 30 นาทีตอครั้งเปนเวลา 3 ครั้งตอสัปดาห ถึงรอยละ 71.1ซึ่งการออกกําลังกายนั้นชวยใหลดความเสี่ยงตอการเกิดโรคหลายโรคดวยกัน นับวาเปนเรื่องที่นาเปนหวงสําหรับชุมชนบานคําพระ วาในอนาคตอาจมีผูปวยดวยโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้นและสุขภาพที่ออนแอ71.1


44ต ารางที่ 23 แสดงจํานวนหลังคาเรือนและรอยละครัวเรือนที่มีสมาชิกมีพฤติกรรมการไมสวมหมวกนิรภัยหรือคาดเข็มขัดขณะขับขี่ยานพาหนะ ของประชาชน บานคําพระ หมุ 3 ต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญการสวมหมวกนิรภัยหรือคาดเข็มขัดขณะขับขี่ยานพาหนะจํานวหลังคาเรือน รอยละไมมีมีไมตอบ/ไมทราบขอมูลรวม27921713619.8567.6412.5100ที่มา : ขอมูลจากการสํารวจชุมชน โดยนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒน ระหวางวันที่ 2 - 5 กุมภาพันธ 2549จากการสํารวจชุมชนบานคําพระ หมูที่ 3 ต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญ ระหวางวันที่ 2 – 5กุมภาพันธ 2549 พบวามีครัวเรือนที่มีสมาชิกที่ไมมีการสวมหมวกนิรภัยหรือคาดเข็มขัดขณะขับขี่ยานพาหนะ ถึงรอยละ 60.29 แตเนื่องจากวาในหลายครัวเรือนไมมียานพาหนะ จึงตอบวาไมมีการสวมหมวกนิรภัยหรือคาดเข็มขัดขณะขับขี่ยานพาหนะ เปนความคาดเคลื่อนอยางหนึ่ง4.4 หมวดสุขาภิบาลตารางที่ 24 แสดงแหลงน้ําดื่ม/น้ําใช จํานวน 136 หลังคาเรือน ในหมูที่ 3 บานคําพระต. คําพระ อ.หัวตะพาน ป 2549แหลงน้ําดื่ม/น้ําใช จํานวน รอยละน้ําฝนน้ําประปาน้ําบาดาลน้ําดื่มบรรจุขวด/ถังรวม10126511427.0488.733.530.7100ที่มา : ขอมูลจากการสํารวจชุมชน โดยนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒน ระหวางวันที่ 2 - 5 กุมภาพันธ 2549


45ตารางที่ 25 แสดงการปรับปรุงคุณภาพน้ําดื่ม/น้ําใช จํานวน 136 หลังคาเรือน ในหมูที่ 3 บานคําพระต. คําพระ อ.หัวตะพาน ป 2548แหลงน้ําดื่ม/น้ําใช จํานวน รอยละไมมีตมกรองแกวงสารสมรวม118853213686.765.883.682.211.47100ที่มา : ขอมูลจากการสํารวจชุมชน โดยนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒน ระหวางวันที่ 2 - 5 กุมภาพันธ 2549จากการสํารวจพบวาสวนใหญไมมีการปรับปรุงคุณภาพน้ํากอนนํามาใชอุปโภค บริโภค ถึง รอยละ 86.76สวนที่มีการปรับปรุงคุณภาพน้ํา มีเพียงรอยละ 13.24 ซึ่งมีการปรับปรุงคุณภาพน้ําดวย วิธีการตม รอยละ 7.35 การกรอง รอยละ 3.68 และการแกวงสารสม รอยละ 2.21 จะเห็นไดวา ประชาชนหมู 3 บานคําพระ สวนใหญ จะนําน้ํามาใชโดยตรงโดยไมมีการปรับปรุงคุณภาพน้ํา ถาหากน้ํานั้นมีการปนเปอนเชื้อกอโรคและสิ่งสกปรกอื่นๆ ก็จะทําใหประชาชนบริโภคน้ําที่ไมสะอาด ก็อาจทําใหเกิดโรคที่เกิดจากน้ําเปนสื่อตามมาได4.5 หมวดโภชนาการตารางที่ 26 แสดงการรับประทานอาหารประเภทนมและผลิตภํณฑชนิดครบสวนของหมู 3 บานคําพระ ต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญความถี่ รอยละไมกินเลยทุกวันบอยมากบอยไมบอยนาน ๆ ครั้งที่มา: ขอมูลจากการสํารวจชุมชน วันที่ 15 กุมภาพันธ 2549 โดยทีมนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร ม.มหิดลและนิสิตนักศึกษาคณะแพทยศาสตร มศว. ทีมที่ 246.914.38.28.24.118.4


46ตารางที่ 27 แสดงการรับประทานอาหารประเภทนมและผลิตภํณฑชนิดพรองไขมัน ของหมู 3 บานคําพระต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญไมกินเลยทุกวันบอยมากบอยไมบอยนาน ๆ ครั้งความถี่ รอยละที่มา: ขอมูลจากการสํารวจชุมชน วันที่ 15 กุมภาพันธ 2549 โดยทีมนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร ม.มหิดลและนิสิตนักศึกษาคณะแพทยศาสตร มศว. ทีมที่ 258.38.38.38.34.212.5ตารางที่ 28 แสดงการรับประทานอาหารประเภทไอศครีมที่มีนมเปนสวนผสม ของหมู 3 บานคําพระต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญความถี่ รอยละไมกินเลยบอยมากบอยไมบอยนาน ๆ ครั้งที่มา: ขอมูลจากการสํารวจชุมชน วันที่ 15 กุมภาพันธ 2549 โดยทีมนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร ม.มหิดลและนิสิตนักศึกษาคณะแพทยศาสตร มศว. ทีมที่ 246.94.110.28.230.6


47ตารางที่ 29 แสดงการรับประทานอาหารประเภทเนื้อวัว-เนื้อหมูติดมัน หมูสามชั้น ขาหมู คอหมู ของหมู 3บานคําพระ ต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญไมกินเลยทุกวันบอยมากบอยไมบอยนาน ๆ ครั้งความถี่ รอยละ14.36.14.136.728.610.2ที่มา: ขอมูลจากการสํารวจชุมชน วันที่ 15 กุมภาพันธ 2549 โดยทีมนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร ม.มหิดลและนิสิตนักศึกษาคณะแพทยศาสตร มศว. ทีมที่ 2ตารางที่ 30 แสดงการรับประทานอาหารประเภทเปด ไก หาน ติดหนัง ของหมู 3 บานคําพระต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญความถี่ รอยละไมกินเลยทุกวันบอยมากบอยไมบอยนาน ๆ ครั้งที่มา: ขอมูลจากการสํารวจชุมชน วันที่ 15 กุมภาพันธ 2549 โดยทีมนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร ม.มหิดลและนิสิตนักศึกษาคณะแพทยศาสตร มศว. ทีมที่ 210.26.220.430.622.410.2


48ตารางที่ 31 แสดงการรับประทานอาหารประเภทหมูเนื้อแดง เนื้อสันใน ไก-เปด ไมติดหนัง ของหมู 3 บานคําพระ ต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญความถี่ รอยละไมกินเลยทุกวันบอยมากบอยไมบอยนาน ๆ ครั้งที่มา: ขอมูลจากการสํารวจชุมชน วันที่ 15 กุมภาพันธ 2549 โดยทีมนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร ม.มหิดลและนิสิตนักศึกษาคณะแพทยศาสตร มศว. ทีมที่ 26.112.210.24912.210.2ตารางที่ 32 แสดงการรับประทานอาหารประเภทเครื่องในสัตวทุกชนิด สมอง ของหมู 3 บานคําพระ ต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญความถี่ รอยละไมกินเลยทุกวันบอยมากบอยไมบอยนาน ๆ ครั้ง22.42.06.130.630.68.2ที่มา: ขอมูลจากการสํารวจชุมชน วันที่ 15 กุมภาพันธ 2549 โดยทีมนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร ม.มหิดลและนิสิตนักศึกษาคณะแพทยศาสตร มศว. ทีมที่ 2


49ตารางที่ 33 แสดงการรับประทานอาหารประเภทกุง ปู หอยนางรม ปลาหมึก ของหมู 3 บานคําพระต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญความถี่ รอยละไมกินเลยทุกวันบอยมากบอยไมบอยนาน ๆ ครั้ง4.12.04.116.334.738.8ที่มา: ขอมูลจากการสํารวจชุมชน วันที่ 15 กุมภาพันธ 2549 โดยทีมนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร ม.มหิดลและนิสิตนักศึกษาคณะแพทยศาสตร มศว. ทีมที่ 2ตารางที่ 34 แสดงการรับประทานอาหารประเภทปลามันมาก เชน ปลาสวาย ปลาดุก ของหมู 3 บานคําพระต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญความถี่ รอยละไมกินเลยทุกวันบอยมากบอยไมบอยนาน ๆ ครั้ง6.114.314.340.812.212.2ที่มา: ขอมูลจากการสํารวจชุมชน วันที่ 15 กุมภาพันธ 2549 โดยทีมนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร ม.มหิดลและนิสิตนักศึกษาคณะแพทยศาสตร มศว. ทีมที่ 2


50ตารางที่ 35 แสดงการรับประทานอาหารประเภทปลามันนอย เชน ปลาทะเล ปลานิล ของหมู 3 บานคําพระต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญไมกินเลยทุกวันบอยมากบอยไมบอยนาน ๆ ครั้งความถี่ รอยละ2.06.122.426.524.518.4ที่มา: ขอมูลจากการสํารวจชุมชน วันที่ 15 กุมภาพันธ 2549 โดยทีมนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร ม.มหิดลและนิสิตนักศึกษาคณะแพทยศาสตร มศว. ทีมที่ 2ตารางที่ 36 แสดงการรับประทานอาหารประเภท ไขไก ไขเปด ไขนกกระทา ของหมู 3 บานคําพระต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญความถี่ รอยละไมกินเลยทุกวันบอยมากบอยไมบอยนาน ๆ ครั้ง4.331.923.423.412.84.3ที่มา: ขอมูลจากการสํารวจชุมชน วันที่ 15 กุมภาพันธ 2549 โดยทีมนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร ม.มหิดลและนิสิตนักศึกษาคณะแพทยศาสตร มศว. ทีมที่ 2


51ตารางที่ 37 แสดงการรับประทานอาหารประเภทอาหารทอด เชน ปลาทอด ไกทอด เปนตน ของหมู 3บานคําพระ ต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญความถี่ รอยละไมกินเลยทุกวันบอยมากบอยไมบอยนาน ๆ ครั้ง2.018.414.336.716.312.2ที่มา: ขอมูลจากการสํารวจชุมชน วันที่ 15 กุมภาพันธ 2549 โดยทีมนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร ม.มหิดลและนิสิตนักศึกษาคณะแพทยศาสตร มศว. ทีมที่ 2ตารางที่ 38 แสดงการรับประทานอาหารประเภทขาวเหนียวของหมู 3 บานคําพระ ต.คําพระ อ.หัวตะพานจ.อํานาจเจริญความถี่ รอยละทุกวันบอยมากบอยที่มา: ขอมูลจากการสํารวจชุมชน วันที่ 15 กุมภาพันธ 2549 โดยทีมนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร ม.มหิดลและนิสิตนักศึกษาคณะแพทยศาสตร มศว. ทีมที่ 283.76.110.2


52ตารางที่ 39 แสดงการรับประทานอาหารประเภทขาวสวยหรือขาวหุง ของหมู 3 บานคําพระ ต.คําพระอ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญความถี่ รอยละไมกินเลยทุกวันบอยมากบอยไมบอยนาน ๆ ครั้ง4.126.510.230.618.410.2ที่มา: ขอมูลจากการสํารวจชุมชน วันที่ 15 กุมภาพันธ 2549 โดยทีมนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร ม.มหิดลและนิสิตนักศึกษาคณะแพทยศาสตร มศว. ทีมที่ 2ตารางที่ 40 แสดงการรับประทานอาหารประเภทที่ใชกะทิเปนสวนประกอบของหมู 3 บานคําพระต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญความถี่ รอยละไมกินเลยทุกวันบอยมากบอยไมบอยนาน ๆ ครั้ง20.44.12.016.334.722.4ที่มา: ขอมูลจากการสํารวจชุมชน วันที่ 15 กุมภาพันธ 2549 โดยทีมนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร ม.มหิดลและนิสิตนักศึกษาคณะแพทยศาสตร มศว. ทีมที่ 2


53ตารางที่ 41 แสดงการรับประทานอาหารประเภทขนมหวาน ของหวาน ของหมู 3 บานคําพระ ต.คําพระอ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญความถี่ รอยละไมกินเลยทุกวันบอยมากบอยไมบอยนาน ๆ ครั้ง12.810.612.831.914.917.0ที่มา: ขอมูลจากการสํารวจชุมชน วันที่ 15 กุมภาพันธ 2549 โดยทีมนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร ม.มหิดลและนิสิตนักศึกษาคณะแพทยศาสตร มศว. ทีมที่ 2ตารางที่ 42 แสดงการรับประทานอาหารประเภทหมักดอง เชน ปลารา ปลาจอม ผักเสี้ยนดองของหมู 3 บานคําพระ ต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญความถี่ รอยละไมกินเลยทุกวันบอยมากบอยไมบอยนาน ๆ ครั้งที่มา: ขอมูลจากการสํารวจชุมชน วันที่ 15 กุมภาพันธ 2549 โดยทีมนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร ม.มหิดลและนิสิตนักศึกษาคณะแพทยศาสตร มศว. ทีมที่ 28.253.110.218.48.22.0


54ตารางที่ 43 แสดงการรับประทานอาหารประเภทผัก ของหมู 3 บานคําพระ ต.คําพระ อ.หัวตะพานจ.อํานาจเจริญทุกวันบอยมากบอยไมบอยนาน ๆ ครั้งความถี่ รอยละที่มา: ขอมูลจากการสํารวจชุมชน วันที่ 15 กุมภาพันธ 2549 โดยทีมนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร ม.มหิดลและนิสิตนักศึกษาคณะแพทยศาสตร มศว. ทีมที่ 241.714.637.54.22.1ตารางที่ 44 แสดงการรับประทานอาหารประเภทผัก ของหมู 3 บานคําพระ ต.คําพระ อ.หัวตะพานจ.อํานาจเจริญความถี่ รอยละไมกินเลยทุกวันบอยมากบอยไมบอยนาน ๆ ครั้งที่มา: ขอมูลจากการสํารวจชุมชน วันที่ 15 กุมภาพันธ 2549 โดยทีมนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร ม.มหิดลและนิสิตนักศึกษาคณะแพทยศาสตร มศว. ทีมที่ 28.253.110.218.48.22.0


55ตารางที่ 45 แสดงการรับประทานอาหารประเภทผลไม ของหมู 3 บานคําพระ ต.คําพระ อ.หัวตะพานจ.อํานาจเจริญไมกินเลยทุกวันบอยมากบอยไมบอยนาน ๆ ครั้งความถี่ รอยละ040.814.336.74.12.0ที่มา: ขอมูลจากการสํารวจชุมชน วันที่ 15 กุมภาพันธ 2549 โดยทีมนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร ม.มหิดลและนิสิตนักศึกษาคณะแพทยศาสตร มศว. ทีมที่ 2จากการสอบถามเรื่องความถี่ในการบริโภคนมและผลิตภัณฑจากนมชนิดครบสวนและนมพรองไขมันพบวา ชาวบานไมนิยมบริโภค เนื่องมาจากนมทั้งสองซึ่งเปนนมวัวซึ่งมีราคาสูงสําหรับชาวบาน และชาวบานรูสึกวามีกลิ่นคาว จึงนิยมบริโภคนมถั่วเหลืองแทน และสําหรับไอศกรีมที่มีนมเปนสวนผสมนั้น พบวาชาวบานไมนิยมบริโภค อาจเนื่องมาจากไอศกรีมมีราคาสูงและหาซื้อยากการบริโภคเนื้อสัตวจําพวกเนื้อวัว-เนื้อหมูติดมัน หมูสามชั้น ขาหมูคอหมู พบวาชาวบานกินบอยรอยละ36.7 และการบริโภคเปด ไก หาน ติดหนัง พบวาชาวบานกินบอยและบอยมากรวมถึงรอยละ 51.0 สําหรับการบริโภคเครื่องในสัตวพบวา ชาวบานกินบอยรอยละ 30.6 อยางไรก็ตาม แมวาอาหารพื้นบานของชาวบานจะมีสวนประกอบของเนื้อสัตวไมมากก็ตาม แตหากบริโภคในปริมาณที่ไมเหมาะสม เชน บริโภคบอยเกินไป ก็อาจสงผลใหระดับไขมันสูง และเกิดโรคอวน หัวใจและหลอดเลือด เบาหวาน ฯลฯการบริโภคเนื้อสัตวจําพวกหมูเนื้อแดง เนื้อสันใน ไก-เปด ไมติดหนัง พบวาชาวบานกินบอยถึงรอยละ49.0 เนื่องมาจากสามารหาซื้อไดงาย สวนการบริโภคอาหารทะเล เชน กุง ปู หอยนางรม ปลาหมึก พบวาชาวบานไมนิยมบริโภค เนื่องมาจากหาซื้อไดยากและมีราคาสูง สําหรับการบริโภคปลา พบวาชาวบานนิยมบริโภคปลามันนอยมากกวาปลามันมาก เนื่องมาจากปลามันนอยสวนใหญเปนปลาน้ําจืด ซึ่งสามารถหาไดงาย และอาหารพื้นบานสวนใหญก็นิยมกินปลาซึ่งเลี้ยงเองหรือหาตามทองนาไขไก ไขเปด ถือเปนอาหารที่ชาวบานนิยมบริโภคมาก เห็นไดจากกราฟแทง ซึ่งมีการบริโภคทุกวันบริโภคบอย และบริโภคบอยมากรวมกันถึง รอยละ 55.3 อาจเนื่องมาจากไขเปนอาหารที่หาซื้องาย ราคาไมแพง


56และประกอบอาหารไดงาย อยางไรก็ตามการบริโภคไขของชาวบานควรพิจารณาถึงวัยดวย เพราะวัยแตละวัยมีความตองการสารอาหารและมีการเผาผลาญที่ตางกันอาหารทอด เชน ปลาทอด ไกทอด หมูทอด เนื้อทอด กุงทอด ทอดมัน ไขดาว ไขเจียว และผักชุบแปงทอดพบวาเปนที่นิยมบริโภค โดยบริโภคทุกวัน บริโภคบอยมาก และบริโภคบอย ถึงรอยละ 18.4, 14.3 และ 36.7ตามลําดับ การบริโภคเชนนี้แสดงใหเห็นวาพฤติกรรมการประกอบอาหารของชาวบานเปลี่ยนไป (เพราะอาหารอีสานสวนใหญมีอาหารทอดอยูนอยมาก) ซึ่งเนนการทําอาหารที่งายและสะดวกมากขึ้นจากแผนภูมิ พบวาชาวบานนิยมบริโภคขาวเหนียวเปนอาหารหลัก คือ บริโภคทุกวันเปนประจําสูงรอยละ88.7 สวนการบริโภคขาวเจาจะมีการบริโภคบางสลับกับขาวเหนียวบางเปนบางวันหรืออาจทุกวันเปนบางมื้อ จากการสอบถามพบวา กลุมที่บริโภคขาวเจารวมดวยมักจะเปนกลุมคนวัยทํางานหรือวัยเด็กและวัยรุนเปนสวนใหญอยางไรก็ตามตัวเลขการบริโภคขาวเหนียวซึ่งสูงนั้น อาจตองตระหนักถึงผลที่จะตามมา เพราะมีหลายการศึกษาบอกวาขาวเหนียวทําใหคา Glycemic Index สูง และทําใหระดับน้ําตาลที่ดูดซึมเขากระแสเลือดสูง สงผลตอการเกิดเบาหวานตามมา


575. การรวบรวมขอมูลจากการตรวจสภาวะสุขภาพ5.1 ขอมูลจากการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงตารางที่ 46 แสดงจํานวนผูที่ไดรับการตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูง ของหมู 3 บานคําพระ ต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญชวงอายุ จํานวนทั้งหมด จํานวนที่พบ รอยละ35 – 3940 – 4445 – 4950 – 5455 – 5960 – 6465 – 6970 – 7475 – 7980 ปขึ้นไปรวม41011018135532710002233112120002.822.824.224.221.401.402.8116.90ที่มา: จากการตรวจคัดกรองจากการคัดกรองภาวะความดันโลหิตสูง บานคําพระ หมูที่ 3 ต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญวันที่ 6 พ.ศ.2549 มีผูที่ไดรับการตรวจคัดกรองทั้งหมด 71 ราย พบวามีภาวะความดันโลหิตสูง 12 ราย คิดเปนรอยละ 16.90การตรวจคัดกรองครั้งนี้ยังถือวามีผูมารับการตรวจคัดกรองเปนสัดสวนนอยกวาประชากรจริง ซึ่งนาเปนหวงอยางยิ่ง เพราะในจํานวนผูที่ไมมานั้นมีมีหลายรายที่มีภาวะความดันโลหิตสูงอยูก็เปนได


58ตารางที่ 47 แสดงจํานวนผูที่ไดรับการตรวจคัดกรองเบาหวาน ของหมู 3 บานคําพระ ต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญชวงอายุจํานวนพบน้ําตาลในปสสาวะจํานวน รอยละ35-3940-4445-4950-5455-5960-6465-6970-7475-7980 ปขึ้นไปรวม4101101813553271ที่มา: จากการตรวจคัดกรองประชาชนบานคําพระ ณ ศาลากลางบาน ในวันที่ 6 กุมภาพันธ 2549 โดยทีมนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร ม.มหิดลและนิสิตนักศึกษาคณะแพทยศาสตร มศว. ทีมที่ 2จากการตรวจคัดกรองประชาชนบานคําพระ ในวันที่ 6 เพื่อหาน้ําตาลในปสสาวะ ของประชาชนบานคําพระ ต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ. อํานาจเจริญ วันที่ 6 กุมภาพันธ 2549 มีจํานวนผูที่มาคัดกรองทั้งหมด 71พบวามีผูที่ตรวจพบมีภาวะน้ําตาลในปสสาวะสูงกวาปกติ จํานวน 4 คน คิดเปนรอยละ 5.63เนื่องจากการตรวจคัดกรองครั้งนี้ ตรวจหาน้ําตาลในปสสาวะ ซึ่งพบรายใหมถึง 4 ราย ซึ่งถือวานาเปนหวงอยางยิ่ง เพราะถาปลอยใหเวลาผานไปอาจทําใหเกิดภาวะที่รุนแรงขึ้น หรืออาจเกิดโรคแทรกซอนที่รุนแรงได0101110000401.4001.401.401.4000005.63


595.2 ขอมูลจากการตรวจคัดกรองภาวะโภชนาการตารางที่ 48 แสดงผลการประเมินภาวะโภชนาการในเด็ก 0 – 5 ป หมูที่ 3 ต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญภาวะโภชนาการปกติต่ํากวาเกณฑสูงกวาเกณฑชายหญิงจํานวน รอยละ จํานวน รอยละ1260.01372.22420.0316.66420.0211.11รวม 20 100 18 100ที่มา: จากการตรวจคัดกรองโรงเรียนชุมชนบานคําพระ วันที่ 6 กุมภาพันธ โดยทีมนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร ม.มหิดลและนิสิตนักศึกษาคณะแพทยศาสตร มศว. ทีมที่ 2สรุปภาวะโภชนาการจากการประเมินการเจริญเติบโตของเด็ก 0 – 5 ป ซึ่งใชการชั่งน้ําหนัก-วัดสวนสูงแลวเทียบกับ คูมือ แนวทางการใชเกณฑอางอิง น้ําหนักตอสวนสูง เพื่อการประเมินภาวะการเจริญเติบโตของเด็กไทย พบวาภาวะโภชนาการที่อยูในเกณฑ ปกติ หรือ การบริโภคอาหารที่เพียงพอตอความตองการของรางกาย ในเพศชายนั้น มีคารอยละ 60.0 และเพศหญิง มีคารอยละ 72.22 ซึ่งแตกตางอยางเห็นไดชัด และจากการอางอิงกับนโยบายเมืองไทยแข็งแรง ซึ่งกําหนดวา เด็กอายุแรกเกิดถึง 6 ป มีการเจริญเติบโตสมวัย ไมต่ํากวารอยละ 80 พบวา ภาวะโภชนาการของเด็กต่ํากวาเกณฑ ดังนั้น ภาวะโภชนาการจึงถือเปนปญหาที่ควรไดรับการพิจารณาแกไขตอไปเพื่อใหสอดคลองกับนโยบาย ดังกลาวตารางที่ 49 แสดงผลการตรวจคัดกรองเพื่อหาคาดัชนีมวลกายจากการตรวจสุขภาพ ของชาวหมู 3 ตําบลคําพระในอายุ 28 - 84 ปน้ําหนักเทียบกับมาตรฐานชายหญิง(BMI) จํานวน รอยละ จํานวน รอยละปกติ (22.9)61550.008.3341.661653329.639.2661.11รวม 12 100 54 100ที่มา: จากการตรวจคัดกรองประชาชนบานคําพระ ณ ศาลากลางบาน ในวันที่ 6 กุมภาพันธ 2549 โดยทีมนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร ม.มหิดลและนิสิตนักศึกษาคณะแพทยศาสตร มศว. ทีมที่ 2


60สรุปภาวะโภชนาการจากการประเมินภาวะโภชนาการของชาวบาน หมู 3 ตําบลคําพระ อําเภอหัวตะพาน จังหวัดอํานาจเจริญจากอายุ 28 ปขึ้นไป โดยพิจารณาคาดัชนีมวลกายที่คํานวณไดจากการชั่งน้ําหนัก และวัดสวนสูงจากการตรวจสุขภาพ พบวา เพศชาย มีภาวะโภชนาการปกติ รอยละ 50 น้ําหนักต่ํากวาเกณฑ 8.33 น้ําหนักสูงกวาเกณฑ 41.66เพศหญิง มีภาวะโภชนาการปกติ รอยละ 29.63 น้ําหนักต่ํากวาเกณฑ 9.26 น้ําหนักสูงกวาเกณฑ 61.11เมื่อพิจารณาโดยใชเกณฑ WHO in adult Asian จะพบวาเพศชายและเพศหญิงมีภาวะโภชนาการเกิน ซึ่งอาจมีผลตอการเกิดโรคตางๆ ได เพราะการมีภาวะน้ําหนักเกินจะเปนตัวบงชี้ถึงความไมสมดุลของการใชพลังงานในระยะยาว ซึ่งก็คือการใชพลังงานนอย ในขณะที่ไดรับพลังงานเขาไปมาก ปจจัยสําคัญที่เปนตัวกําหนด คือ สังคมประเพณี วัฒนธรรมและพฤติกรรม ซึ่งชาวบานในหมูบานคําพระจะนิยมกินขาวเหนียว ไกยาง และลาบหมู ลาบเนื้อ ซึ ่งเปนอาหารที่มีคารโบไฮเดรต และโปรตีนสูง ซึ่งอาจสงผลใหเกิดโรคเบาหวานในอนาคตได5.3 ขอมูลการตรวจสุขภาพนักเรียนตารางที่ 50 แสดงผลการประเมินภาวะโภชนาการในนักเรียนชั้น อนุบาล 1 ถึง ชั้นประถมศึกษาที่ 6โรงเรียนชุมชนบานคําพระ หมูที่ 3 ตําบลคําพระ อําเภอหัวตะพาน จังหวัดอํานาจเจริญภาวะโภชนาการปกติต่ํากวาเกณฑสูงกวาเกณฑชายหญิงจํานวน รอยละ จํานวน รอยละ9582.619483.181613.911210.6243.4776.19รวม 115 100 113 100สรุปภาวะโภชนาการจากการประเมินการเจริญเติบโตของเด็กอนุบาล 1 – ประถมศึกษาที่ 6 ซึ่งใชการชั่งน้ําหนัก-วัดสวนสูงแลวเทียบกับ คูมือ แนวทางการใชเกณฑอางอิง น้ําหนักสวนสูง เพื่อการประเมินภาวะการเจริญเติบโตของเด็กไทยพบวา เด็กมีภาวะทุพโภชนาการ หรือ การมีโภชนาการต่ํากวาเกณฑและสูงกวาเกณฑนั้น ในเพศชายและเพศหญิงนั้น มีคาใกลเคียงกัน คือ รอยละ 17.39 และ 16.81 ตามลําดับ เมื่อไดอางอิงกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9 ( พ.ศ. 2545 – 2549 ) ซึ่งกําหนดวา เด็กอายุ 6 – 12 ป ตองมีภาวะทุพโภชนาการไมเกิน 7%พบวา ภาวะโภชนาการของนักเรียนทั้งชายและหญิงในโรงเรียนแหงนี้ไมผานเกณฑ ดังนั้น ภาวะโภชนาการจึงถือ


61เปนปญหาที่ควรไดรับการพิจารณาแกไขตอไป เพื่อใหสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9 ดังกลาวตารางที่ 51 แสดงผลการประเมินภาวะดัชนีมวลกายในผูที่มีอายุมากกวา 35 ปขึ้นไป ของบานคําพระหมูที่ 3 ต.คําพระ อ.หัวตะพาน จังหวัดอํานาจเริญน้ําหนักเทียบกับ คนที่ไมเปนเบาหวาน คนที่เปนเบาหวานมาตรฐาน (BMI) จํานวน รอยละ จํานวน รอยละต่ํากวาปกติ (22.9)6222910.5338.6050.87-18011.1188.89รวม 57 100 9 1005.4 ขอมูลจากการตรวจพยาธิในอุจจาระเหตุผลและความจําเปนในการตรวจเนื่องดวยพฤติกรรมการรับประทานเนื้อสุกๆดิบๆ ของคนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่เสี่ยงตอการติดเชื้อพยาธิ เปนที่ทราบกันมานาน และในชวงหลายปที่ผานมาทางกระทรวงสาธารณสุขไดมีการแกไขปญหาโรคพยาธิโดยมุงเนนไปที่โรคพยาธิใบไมในตับอันเนื่องมาจากการรับประทานเนื้อปลาแบบสุกๆดิบๆ แตปจจุบันการดําเนินแกไขปญหาดังกลาวไดลดลงดูไดจากการที่ไมไดมีการตรวจไขพยาธิในหมูบานมานานอยาง 2 ป อีกทั้งสถานการณโรคเรื้อรังซึ่งเกี่ยวเนื่องกับโรคพยาธิ ก็คือโรคมะเร็งตับ ซึ่งจํานวนผูปวยมะเร็งตับของจังหวัดอํานาจเจริญที่สูง จึงไดทําการตรวจวัดสถานการณดานความเสี่ยงของพฤติกรรมการบริโภคเนื้อสัตวสุกๆดิบๆ ของชุมชน และพบวายังมีพฤติกรรมเสี่ยงในเปอรเซ็นตที่สูงอยูจึงไดทําการตรวจหาพยาธิในอุจจาระของคนในชุมชนการคัดเลือกกลุมตัวอยางจากการสอบสัมภาษณเพื่อดูสถานการณของพฤติกรรมเสี่ยงพบวา สวนใหญจะเปนผูชายวัยกลางคนขึ้นไปซึ่งไดแกพอบานที่มีพฤติกรรมเสี่ยงรองลงมาก็คือแมบาน ดังนั้นกลุมเปาหมายเบื้องตนจึงเปนพอบานการตรวจอุจจาระเมื่อไดมีการแจกอุปกรณที่จะเก็บตัวอยางอุจจาระแกคนในชุมชนแลว และไดเก็บรวบรวมมา จึงไดเริ่มทําการตรวจหาตัวพยาธิ หรือไขพยาธิในตัวอยางอุจจาระ วิธีการตรวจมีดังนี้1. ทําการลงทะเบียนตัวอยางอุจจาระ2. ทําการเขียนเบอรอันดับทั้งบนถุงเก็บตัวอยางและบนสไลดแกว


623. ทําการหยด Iodine ลงไปบนสไลด 2 หยด4. ปายตัวอยางอุจจาระปริมาณ 1 หัวไมขีด แลวไปคนใน iodine จนไดความเขมขนที่เหมาะสม5. เมื่อไดความเขมขนของตัวอยางอุจจาระที่พอเหมาะก็ทําการปดดวย cover glass6. นําไปตรวจดูพยาธิหรือไขพยาธิดวยกลองจุลทรรศนขนาดกําลังขยาย 100 เทา (เลนสตา 10 เทา เลนสวัตถุ 10 เทา) แลวเปลี่ยนเปนกําลังขยาย 400 เทา เมื่อตองการดูรายละเอียดของตัวพยาธิหรือไขพยาธิจากการตรวจคัดกรองพยาธิจากอุจจาระ ของประชาชนหมู 3 ตําบลคําพระ €โดยการสุมตรวจหลังคาเรือนละ 1 ตัวอยาง เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ 2549 พบวา มีผูที่ตรวจพบไขพยาธิจํานวน 16 คน จากตัวอยางทั้งหมด 152ตัวอยาง คิดเปน 10.16% ดังตอไปนี้ชื่อ-สกุล อายุ บานเลขที่ พยาธิที่พบ1. นายนิรัญ ทองดา 41 80 H. nana2. นายนาค หนองบัว 54 109 Strongyloides3. นายสมวิทย บุญมี 62 47 H. nana4. นายประภาส สุขขา 39 11 Taenia spp.5. นายวีระชัย บุญมี 24 36/1 H. nana.6. นายสี ไชยอุตม 77 13 Taenia spp.7. นางหนูกอง ไชยอุตม 74 13 Taenia spp.8. นางสุทีชา สุทล 46 50/1 O.v like9. นายเลื่อน สารจันทร 44 114 Unidentified10. นางสชิลา หนองบัว 55 109 O.v11. นางมิตรไชย พลเมือง 37 74 O.v12. นายมังราย อินทพันธ 39 11 Taenia spp13. นายทองคํา โคษาแสง 52 71 O.v14. นางใคร ศรีปาง 56 26 O.v15. นายสํานวน วามะลุข 53 12 Taenia spp.16. นางสําลี วองไว 50 28 Unidentified


60บทที่ 3ผลการดําเนินงาน1 .การระบุปญหาสาธารณสุขและลําดับความสําคัญของปญหาวัตถุประสงค- ระดมความคิดของกลุมผูมีสวนไดสวนเสียในชุมชนเพื่อกําหนดวิสัยทัศนของชุมชน- ประมวลขอมูลที่มีอยูเพื่อการระบุสถานการณของชุมชน- เชื่อมโยงวิเคราะหสถานการณปญหาที่ระบุโดยชุมชนกับสถานการณปญหาที่พบตามเกณฑทางวิชาการ- ระบุขอมูลที่จะตองศึกษาเพิ่มเติมโดยการทํางานรวมกันระหวางชุมชนและนักศึกษา- ระบุปญหาเพิ่มเติมและสังเคราะหปญหาของชุมชนที่พบ- วิเคราะหสถานการณชุมชนเชิงระบบ- ลําดับความสําคัญกอนหลังของปญหาการวิเคราะหปญหาในขั้นตอนนี้ไดอาศัยการมีสวนรวมของคนในชุมชนเปนหลัก ในการระบุปญหาสาธารณสุข โดยการเรียนรูรวมกันระหวางชาวบานและนักศึกษา โดยมีขั้นตอนดังนี้1.1 การสรางภาพที่พึงปรารถนาของชุมชนดานการสาธารณสุขวิธีการในการสรางภาพฝนใชวิธีการโดยแบงกลุมผูมีสวนไดสวนเสีย โดยพิจารณาใหกลุมยอยเพื่อใหมีการแสดงความคิดเห็นที่เปนอิสระโดยแยกกลุมยอยเปนดังตอไปนี้- กลุมเด็กเล็ก- กลุมวัยรุน- กลุมผูชายวัยแรงงาน / ผูสูงอายุชาย (พอบานนารัก)- กลุมแมบาน (แมบานในอนาคต)- กลุมผูสูงอายุหญิง 1- กลุมผูสูงอายุหญิง 2จากนั้นใหชาวบานแสดงความคิดเห็นและนักศึกษาเปนผูเขียนความตองการลงในกระดาษของแตละกลุมทุกกลุมยกเวนกลุมเด็กเล็ก สําหรับกลุมเด็กเล็กไดใชการวาดภาพเพื่อสื่อความคิดนั้นแทนการเขียนอธิบายหลังจากนั้นมีการนําเสนอภาพฝนของแตละกลุม โดยใหมีผูแทนกลุมนําเสนอ โดยเริ่มจากกลุมเด็กเล็กกอน มีการนําเสนอภาพบานในฝนและโรงเรียนในฝน โดยใหตัวแทนเด็กเปนผูอธิบาย จากนั้นเปน


61การนําเสนอภาพฝนของกลุมอื่น ๆ ทีละกลุม จนครบทุกกลุม โดยใหตัวแทนของกลุมเปนผูอธิบายภาพฝนขณะเดียวกันก็มีการซักถามโดยวิทยากร เพื่อใหผูมีสวนไดสวนเสียรวมภาพของทุกกลุมใหเปนภาพเดียวกันเพื่อสรางทิศทางไปสูอนาคตรวมกัน รูสึกเปนเจาของความคิดรวมกัน หลังจากนั้นใหชาวบานชวยกันสรางคําขวัญหมูบาน และวิเคราะหภาพชุมชนที่ปรารถนา โดยวิทยากรกลุมกระตุนใหสมาชิกผูเขารวมประชุมไดวิพากษวิจารณทําความเขาใจรวมกันถึงภาพชุมชนที่พึงปรารถนาของกลุม และพยายามกระตุนใหชุมชนสรางคําขวัญประจําหมูบานที่จะรวมเอาองคประกอบหลักๆของภาพชุมชนที่พึงปรารถนาไวเปนคําคลองจองสั้นๆ โดยสกัดคําหลักซึ่งเปนองคประกอบที่สําคัญในคําขวัญที่สะทอนระบบชุมชนที่พึงปรารถนาออกมา1.2 วิสัยทัศนบานคําพระหมู 3 จากการระดมความคิดของกลุมตางๆกลุมเด็กเล็กภาพฝน เชนอยากมีบานในฝนที่มี- หองนั่งเลน- หองเลนเกมส- หองครัวที่มี ตูเย็น, เตาแก็ส, ตูเก็บจาน- หองนอน อยากใหมีโคมไฟ, แอร- เครื่องกรองน้ํา- สนามเด็กเลน- ตนไมใหรมเงามาก ๆ- ฯลฯโรงเรียนในฝน- หองสมุดมีหนังสือเยอะ ๆ- หอง Computer- อุปกรณกีฬาครบ- ครูเพิ่ม- ฯลฯกลุมเยาวชน (วัยรุน)ภาพฝน เชน- อยากใหวัยรุนมีสวนรวมในการประชุมประจําเดือน มีสิทธิในการออกความคิดเห็น- มีถังขยะครบทุกบานและมีรถมาเก็บขยะเพิ่มมากขึ้น- อยากใหโรงเรียนมีรถรับสงฟรี


62- มีไฟฟาและน้ําประปาทุกบาน- มีอุปกรณกีฬาทุกชนิด- พัฒนาการศึกษามากขึ้น- ศาลากลางบานมีหองน้ํา- พอแมใหอิสระแกลูก ใหเวลาเปนตัวของตัวเอง- มีหมอที่สถานีอนามัยเพิ่มมากขึ้น- ชาวบานมีความสามัคคี ไมเห็นแกตัว- ฯลฯวิสัยทัศน“วัยรุนสรางสรรค ไมหันพึ่งยาเสพติด”กลุมพอบานนารักภาพฝน เชน- พัฒนาการสาธารณูปโภค เชน ถนนถึงที่นา, คลองระบายน้ํา, ขยายไฟฟา, น้ําประปา เพิ่มตูโทรศัพทสาธารณะ สัญญาณโทรศัพท เปนตน- มีแพทย พยาบาลเพียงพอที่สถานีอนามัย- ใหมีแพทยเคลื่อนที่มาตรวจโรคบอย ๆ- มีปายเตือนวัว-ความขามถนน- สงเสริมดานการเกษตร, การปศุสัตว เชน มีคลองสงน้ํา, ใหความรูทางการเกษตร, แจกพันธุพืชหรือสัตว เชน วัว- แกปญหาเยาวชน เชน ยาเสพติด- ชุมชนสามัคคี, ครอบครัวอบอุน- พัฒนาการศึกษาในคนสูงอายุ, เพิ่มเบี้ยยังชีพคนชรา- สงเสริมวัฒนธรรมประเพณี- สงเสริมการปองกันสุขภาพ เชน โรคพยาธิ- ใหความรูเกี่ยวกับการบริโภคที่ปลอดภัย- อยากใหมีคอมพิวเตอรในโรงเรียน- ฯลฯ


63วิสัยทัศน“อยูดีกินดี ไมมีโรคภัย น้ําไฟไหลสะดวก”กลุมแมบาน (กลุมแมบานในอนาคต)ภาพฝน เชน- มีรองระบายน้ํารอบหมูบาน- มีอาชีพเสริม, มีศูนยฝกอาชีพ- พัฒนาสาธารณูปโภค เชน น้ําสําหรับการเกษตร, มีไฟฟาถึงที่นา, มีที่กรองน้ําในหมูบานถนนหนทางสะดวก- สุขภาพแข็งแรง, สนับสนุนการออกกําลังกาย- พัฒนาการศึกษาแกเด็กและเยาวชน- อยากไดผาหม, เสื ้อกันหนาว- อาหารที่ปลอดภัย, นมฟรีแกเด็กเล็ก- สิ่งแวดลอมดี- คอมพิวเตอรใหแกเด็กในโรงรียน- ศาลากลางบานมีหองน้ํา- ฯลฯวิสัยทัศน“อยูดีกินดี มีรายได สุขภาพแข็งแรง”กลุมผูสูงอายุ หญิง 1ภาพฝน เชน- คูน้ําขางถนนรอบบาน- ถนนหนทางสะดวกสบาย มีทางมาลาย- อยากใหมีไฟใหสวางทุกเสา- หางไกลยาเสพติด- มีอุตสาหกรรมมีรายไดและคนแกทําได- รถรับสงไป-กลับอนามัย- งบดานการประปา พัฒนาการประปาหมูบาน- เงินทุนหมูบาน หมูบานละลาน- มีตลาดรองรับการทอเสื่อขาย- ตูโทรศัพทสาธารณะเพิ่ม, สัญญาณโทรศัพท


64- ทําบัตรผูสูงอายุตั้งแต 50 ปขึ้นไป- เงินสวัสดิการคนพิการ- อยากใหมีปุยราคาถูก, ขาวราคาดี- ครอบครัวอบอุน อยูกันพรอมหนาทุกคน- ชุมชนสามัคคี- อยากใหโรงสียายออกนอกหมูบาน- มีการดูแลชวยเหลือคนยากคนจน- อยากใหมีครูสอนพิเศษเด็ก ๆ- ฯลฯวิสัยทัศน“อยูดีกินดี สุขภาพแข็งแรง คนเฒาคนแกมีลูกหลานดูแล บานเรือนสะอาด”กลุมผูสูงอายุ หญิง 2ภาพฝน เชน- สุขภาพแข็งแรง ไมเจ็บปวย มีหมอเพิ่มที่สถานีอนามัย- บานนาอยู สะอาด ไมมีฝุน- มีรถขยะมาเก็บ 3 ครั้ง/สัปดาห- ราคาขาวดี ผาขิดขึ้นราคา- พัฒนาดานการศึกษาแกเด็ก เชน อยากใหมีมหาวิทยาลัยอยูใกล ๆ บาน- อยากใหมีคลองระบายน้ําขางถนน- อยากใหมีตลาดสดขายทุกวันในหมูบาน- มีถังขยะประจําหมูบาน- มีรณรงคการออกกําลังกาย- คนชรามีเงินเดือน- ครอบครัวอยูกันพรอมหนาพรอมตา- มีทุนการศึกษาวิสัยทัศน“สุขภาพแข็งแรง บานนาอยู อูขาวอูน้ํา”1.3 ภาพฝนของชุมชนหมู 3 บานคําพระ


แทรก Mind Mapping65


66วิสัยทัศนรวมของบานคําพระ หมู 3 จากการระดมความคิดของชาวบานสุขภาพแข็งแรง บานนาอยู อูขาวอูน้ํา เลิศล้ําวิชา รักษาวัฒนธรรม1.4 ระบุตัวชี้วัดขององคประกอบในขั้นตอนนี้จะแปลงจากองคประกอบใหเปนประเด็นที่สามารถวัดได โดยจะตองพยายามสื่อใหผูมีสวนไดสวนเสียในชุมชนสามารถเขาใจกันงายๆ แทนที่จะใชคําวา ตัวชี้วัดที่เปนทางวิชาการยกตัวอยาง เชน มีวัฒนธรรม ชาวบานก็ยกคําวามีวัฒนธรรม คือ มีการอนุรักษประเพณีของหมูบานเชนนี้ เราก็สามารถหาขอมูลไดวาในหมูบานมีวัฒนธรรมหรือไม โดยหาขอมูลวามีการอนุรักษประเพณีของหมูบานหรือไมวิสัยทัศน ตัวชี้วัดสุขภาพแข็งแรง - ประชาชนทุกคนรับประทานอาหารที่สะอาด ปลอดภัยและมีประโยชนตอรางกาย- ประชาชนทุกคนออกกําลังกายอยางเหมาะสม และมีชมรมออกกําลังกายอยางยั่งยืน- ประชาชนไมเจ็บปวยดวยโรคที่สามารถปองกันได- ประชาชนไมเปนโรคไขเลือดออก- เด็กอายุ 0-12 ปมีน้ําหนักตามเกณฑบานนาอยู- ประชาชนมีดัชนีมวลกายระดับปกติ คือ 18.5 – 22.9- มีเจาหนาที่ประจําสถานีอนามัยตลอด 24 ชั่วโมงและมีแพทย ทันตแพทยประจําสถานีอนามัยทุกวัน- มีเครื่องมือแพทยที่ทันสมัยและมีวัคซีนตาง ๆ ครบถวน- ทุกคนไดรับการตรวจฟนปละ 2 ครั้ง- มีบริการรับสงผูปวยเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน- ประชาชนที่มีอายุตั้งแต 35 ปขึ้นไป ไดรับการตรวจมะเร็งปากมดลูกทุกคนปละ 1 ครั้ง- ครอบครัวอบอุน- มีกิจกรรมสําหรับผูสูงอายุ- น้ําสะอาด- มีการจัดการขยะมูลฝอย- ไมมีเสียงรบกวน- ไมมีกลิ่นรบกวน- บานทุกหลังคาเรือนสะอาด


67วิสัยทัศน ตัวชี้วัดบานนาอยู- มีตนไมใหรมเงาริมถนน 10 เมตรตอ 1 ตน- ศาลากลางบานไดรับการปรับปรุงใหดีขึ้น- มีรานคาสหกรณประจําหมูบาน- มีถนนที่สะดวกไปที่นา- มีความปลอดภัยในการขามถนน- มีตูโทรศัพทอยางเพียงพอในหมูบานอูขาวอูน้ํา- เบี้ยเลี้ยงสําหรับผูสูงอายุและคนพิการเพิ่มขึ้นเปน 500 บาท/เดือน- เบี้ยเลี้ยงสําหรับ อสม.- มีน้ําเพียงพอสําหรับการเกษตรกลุมอาชีพในหมูบานมีการพัฒนาใหยั่งยืน- กลุมอาชีพปศุสัตวไดรับการสงเสริมความรูเลิศล้ําวิชารักษาวัฒนธรรม- เกษตรกรไดรับการสงเสริมการปลูกพืชนอกฤดูทํานา- สงเสริมการขายสินคาหัตถกรรม ผลิตภัณฑจากผาขิด เชน กระเปาเสื่อกก- สงเสริมการขายผลิตภัณฑขาวกลองปลอดสารพิษ- จัดใหมีตลาดนัดชุมชน เพื่อสงเสริมผลผลิตในหมูบาน สัปดาหละ 4ครั้ง- ประชาชนในหมูบานเรียนจบการศึกษาภาคบังคับ (ม.3) 100% และมีโอกาสเรียนตอ- มีเครื่องคอมพิวเตอรและอุปกรณกีฬาครบถวน 80%- มีโรงเรียนกวดวิชาวันเสาร-อาทิตย ในหมูบานสําหรับเด็กมัธยม- จัดกลุมทอผาขิด ใหเปนศูนยการเรียนการสอนทอผาสําหรับผูที่สนใจ- มีจํานวนครูในโรงเรียนบานคําพระเพิ่มขึ้นจํานวน 2 คน- จํานวนประชาชนที่ไปวัดเพิ่มขึ้น- คนเขารวมกิจกรรมของหมูบาน- มีการจัดประเพณีพื้นบานในทุก ๆ ป1.5 การประเมินสถานการณชุมชนที่เปนอยูในปจจุบันจากรายการตัวชี้วัดใหกลุมชวยกันทั้งนักศึกษาและ Stakeholder ชวยกันพิจารณาวาตัวชี้วัดใดที่มีขอมูลแลว และตัวชี้วัดใดยังขาดขอมูล โดยนักศึกษามีหนาที่นําเสนอขอมูลที่ไดจากการศึกษาชุมชน โดยผานกระบวนการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารรวมกันกับกลุม สําหรับตัวชี้ใดยังขาดขอมูลก็แบงหนาที่ชวยกันหาขอมูลเพิ่มเติมจากนั้นก็นําขอมูลที่ไดมาวิเคราะหรวมกันอยางงาย ๆ อาจแจงนับก็ได


68วิสัยทัศน ตัวชี้วัด สถานการณปจจุบันสุขภาพแข็งแรง - ประชาชนทุกคนรับประทานอาหารที่สะอาดปลอดภัยและมีประโยชนตอรางกาย- ประชาชนยังคงกินอาหารสุก ๆ ดิบ ๆ เชนลาบ, กอย (รอยละ 72)- จากการเก็บตัวอยางอุจจาระพบไขพยาธิ10.67%, โรคอุจจาระรวง พบจํานวน 32 รายคิดเปน 6.336 ตอแสน ประชากร- ประชาชนไมลางมือกอนรับประทานอาหาร 72.1%- ประชาชนทุกคนออกกําลังกายอยางเหมาะสมและมีชมรมออกกําลังกายอยางยั่งยืน- ไมมีชมรมออกกําลังกาย- ไมมีผูนําในการออกกําลังกาย- ประชาชนไมเจ็บปวยดวยโรคที่สามารถปองกันได- ประชาชนเปนโรคเบาหวาน 10.16%ความดันโลหิตสูง 10.16%- ประชาชนไมเปนโรคไขเลือดออก - พบประชาชนเปนโรคไขเลือดออกจํานวน2 ราย คิดเปน 4000 ตอ แสนประชากร(เกณฑ 0.5 ตอ 1000 ประชากร)- มียุงชุมมากในหนาฤดูฝนแตไมพบในหนารอน- มีการฉีดยาฆายุงปละ 2-3 ครั้ง- จากการสํารวจพบวามีปญหายุงรอยละ88- เด็กอายุ 0-12 ปมีน้ําหนักตามเกณฑ - เด็ก 0-12 ป สวนใหญมีภาวะโภชนาการผิดปกติ โดย0-5 ป น้ําหนักต่ํากวาเกณฑ 18.42 %6-12 ป น้ําหนักต่ํากวาเกณฑ 12.28 %(เกณฑ Healthy Thailand น้ําหนักต่ํากวาเกณฑตองไมมากกวา 10%)- เด็กอายุ 5-10 ปไดรับนมฟรีจากโรงเรียนวันละ 1 กลอง- เด็กไดรับอาหารกลางวันจากที่โรงเรียนไมเพียงพอเนื่องจาก ที่โรงเรียนจะมีแตกับขาวเทานั้น เด็กจะตองนําขาวหรือขาวเหนียวมารับประทานเอง- ประชาชนมีดัชนีมวลกายระดับปกติ คือ 18.5 –22.9 kg/m2- ประชาชนมีดัชนีมวลกายเกิน 18.5-22.9kg/m2 คิดเปน 50.87%


69วิสัยทัศน ตัวชี้วัด สถานการณปจจุบันสุขภาพแข็งแรง - มีเจาหนาที่ประจําสถานีอนามัยตลอด 24 ชั่วโมงและมีแพทย ทันตแพทยประจําสถานีอนามัยทุกวัน- มีเจาหนาที่ประจําสถานีอนามัยถึงเวลา21.00 น. ไมมีแพทยและทันตแพทยประจําอยูที่สถานีอนามัย- มีเครื่องมือแพทยที่ทันสมัยและมีวัคซีนตาง ๆครบถวน- เครื่องมือแพทยยังไมทันสมัยและยังขาดวัคซีนในโรคที่จําเปน เชน โรคพิษสุนัขบาเปนตน- ทุกคนไดรับการตรวจฟนปละ 2 ครั้ง - ทุกคนไดรับการตรวจฟนปละ 1 ครั้ง- ประชาชน 80.9% มีอาการปวดฟน ฟนโยกฟนผุและเสียวฟน- ประชาชน 20.6% แปรงฟนตอนเชาเทานั้น- มีบริการรับสงผูปวยเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน - มีบริการรถฉุกเฉินรับ-สงผูปวยไปยังโรงพยาบาลหัวตะพาน- ประชาชนที่มีอายุตั้งแต 35 ปขึ้นไป ไดรับการตรวจมะเร็งปากมดลูกทุกคน ปละ 1 ครั้ง- ประชาชนที่มีอายุตั้งแต 35 ปขึ้นไปไดรับการตรวจมะเร็งปากมดลูก ปละ 1 ครั้งบานนาอยู- ครอบครัวอบอุน - สมาชิกในครอบครัวไมไดอยูรวมกันเนื่องจากสมาชิกวัยแรงงานไปทํางานในตางถิ่น- จากการวิเคราะหโครงสรางประมิดประชากรพบวาคนวัยทํางานที่อยูจริง ๆ มีนอยกวาขอมูลตามทะเบียนราษฎร- มีคูสามี-ภรรยาที่หยารางกันเนื่องจากสามีหรือภรรยานอกใจกัน- ผูปกครองเขมงวดกับเด็กมากเกินไปทําใหเด็กไมมีอิสระ- ประชาชนสูบบุหรี่ 40.4%- ดื่มสุรา 60.3%- ไมมีผูเสพยาเสพติดชนิดอื่น ๆ ในหมูบาน- มีกิจกรรมสําหรับผูสูงอายุ - ไมมีกิจกรรมกลุม ทําใหผูสูงอายุรูสึกเหงา


70วิสัยทัศน ตัวชี้วัด สถานการณปจจุบันบานนาอยู - น้ําสะอาด - น้ําที่ประชาชนใชอุปโภคใชน้ําประปาพบวามีคราบตะกอนอยูบาง- น้ําดื่ม ดื่มน้ําประปา- จากการสํารวจพบวาไมมีการปรับปรุงคุณภาพน้ําดื่ม 86.76%- กระบวนการผลิตน้ําประปาของหมู 3ไมไดมาตรฐานโดยขาดกระบวนการกรองและเติมคลอรีน- ยังไมมีเครื่องกรองน้ําประจําหมูบาน- มีการจัดการขยะมูลฝอย - ยังมีขยะตกคางตามถังขยะ เนื่องจากมีรถขยะมาเก็บเพียง 2 ครั้งตอสัปดาห- ไมมีการแยกขยะตามครัวเรือน- ถังขยะไมเพียงพอ- ไมมีเสียงรบกวน - มีเสียงดังบางจากโรงสีขาวในหมูบาน- สํารวจขอมูลปฐมภูมิพบวามีปญหาเสียงรบกวน 37.9%-ไมมีกลิ่นรบกวน - จากการสํารวจขอมูลปฐมภูมิพบวา มีปญหากลิ่นขี้หมูรบกวนจากฟารมหมูในหมูบานถึง 44.1%- บานทุกหลังคาเรือนสะอาด - บานเรือนมีฝุนละอองมาก- ถนนมีฝุนละอองมาก- มีหนูมากถึง 90% และแมลงวันมากถึง88.2%- จากการสํารวจขอมูลปฐมภูมิพบวา มีลักษณะบานเรือนไมสะอาด 40.4%- ไมมีทอระบายน้ําของทุกหลังคาเรือน- มีตนไมใหรมเงาริมถนน 10 เมตรตอ 1 ตน - ไมมีตนไมใหรมเงาริมถนน- ศาลากลางบานไดรับการปรับปรุงใหดีขึ้น - ศาลากลางบานมีสภาพเสื่อมโทรม และไมมีหองน้ํา- มีรานคาสหกรณประจําหมูบาน - ไมมีรานคาสหกรณประจําหมูบาน- มีถนนที่สะดวกไปที่นา - ถนนไปที่นาแคบ ต่ํา และเปนหลุมเปนบอ


71วิสัยทัศน ตัวชี้วัด สถานการณปจจุบันบานนาอยู - มีความปลอดภัยในการขามถนน - ไมมีทางมาลายบนถนน- ไมมีการกําหนดเขตสําหรับใหวัว ควายขามถนน- ไมมีเสาไฟฟาทุกซอย- ไมมีปายจราจรบนถนนสายหลัก- มีตูโทรศัพทอยางเพียงพอในหมูบาน มีตูโทรศัพทในหมูบาน 1 ตู และอยูหางไกลจากเขตชุมชน- เบี้ยเลี้ยงสําหรับผูสูงอายุและคนพิการเพิ่มขึ้นเปน500 บาท/เดือน- เบี้ยเลี้ยงสําหรับผูสูงอายุและคนพิการ 300บาท/เดือน- เบี้ยเลี้ยงสําหรับ อสม. - ไมมีเบี้ยเลี้ยงสําหรับ อสม.อูขาวอูน้ํา - มีน้ําเพียงพอสําหรับการเกษตร - ไมมีสถานที่เก็บกักน้ํา ทําใหขาดน้ําในการเกษตรในฤดูรอน- มีฝายน้ําลนในหวยปลาแดก 1 แหง ชํารุดไมสามารถใชงานไดตามปกติ- คลองหวยปลาแดกปจจุบันกวางเพียง 10เมตรกลุมอาชีพในหมูบานมีการพัฒนาใหยั่งยืน- กลุมอาชีพปศุสัตวไดรับการสงเสริมความรู- เกษตรกรไดรับการสงเสริมการปลูกพืชนอกฤดูทํานา- สงเสริมการขายสินคาหัตถกรรม ผลิตภัณฑจากผาขิด เชน กระเปา เสื่อกก- สงเสริมการขายผลิตภัณฑขาวกลองปลอดสารพิษ- จัดใหมีตลาดนัดชุมชน เพื่อสงเสริมผลผลิตในหมูบาน สัปดาหละ 4 ครั้ง- ประชาชนขาดความรูดานปศุสัตว- มีวัวสายพันธดี แตเปนฟารมของเอกชน- มีอยูแลว คือการปลูกถั่วลิสง และปลูกผัก- มีศูนยวิสาหกิจชุมชนเปนศูนยกลางในการขายผลิตภัณฑผาขิด- มีกลุมแมบานผลิตภัณฑขาวกลองปลอดสารพิษ แตไมมีตลาดรองรับ- มีตลาดนัดชุมชนสัปดาหละ 2ครั้ง คือชวงเย็นวันอังคารและเชาวันอาทิตย- ผลผลิตในชุมชนมีออกมาขายนอย


72วิสัยทัศน ตัวชี้วัด สถานการณปจจุบันเลิศล้ําวิชา - ประชาชนในหมูบานเรียนจบการศึกษาภาคบังคับ (ม.3) 100% และมีโอกาสเรียนตอ- ประชาชนจบการศึกษาภาคบังคับ (ม.3)100%- มากกวา 50% มีโอกาสศึกษาตอจากภาคบังคับ- มีเครื่องคอมพิวเตอรและอุปกรณกีฬาครบถวน80%- อุปกรณไมเพียงพอตอความตองการของนักเรียน- มีโรงเรียนกวดวิชาวันเสาร-อาทิตย ในหมูบานสําหรับเด็กมัธยม- ไมมีโรงเรียนกวดวิชาวันเสาร-อาทิตย ในหมูบานสําหรับเด็กมัธยมรักษาวัฒนธรรม- จัดกลุมทอผาขิด ใหเปนศูนยการเรียนการสอนทอผาสําหรับผูที่สนใจ- มีจํานวนครูในโรงเรียนบานคําพระเพิ่มขึ้นจํานวน 2 คน- มีประชาชนในหมูบาน เปนครูสอนการทอผาขิดใหกับกลุมแมบานตางจังหวัดปละ2 ครั้ง- ปจจุบันมีจํานวนครู 20 คน ตอนักเรียน379 คน- จํานวนประชาชนที่ไปวัดเพิ่มขึ้น - ในวันปกติจะมีตัวแทนของแตละคุม ผลัดเวียนกันไปวัด สวนมากมักเปนผูหญิงทําอาหารไปถวายพระ วันละประมาณ 10คน- คนเขารวมกิจกรรมของหมูบาน - คนเขารวมกิจกรรมมีสม่ําเสมอ มีเพียง 40-50 คน เชน ประชุมชาวบานประจําเดือน- มีการจัดประเพณีพื้นบานในทุก ๆ ป - มีบางประเพณีที่สูญหายไปแลว เชนประเพณีการทอดขาวเมา1.6 เปรียบเทียบสถานการณที่เปนจริงของชุมชนกับสภาพชุมชนที่ปราถนาเพื่อหาชองวางในขั้นตอนนี้ ตองพิจารณาวาตัวชี้วัดใดที่ภาพปจจุบันหางไกลจากภาพที่พึงปรารถนา และกลุมคิดวาควรไดรับการแกไข เรื่องนั้นก็จะเปนปญหาวิสัยทัศน ตัวชี้วัด สถานการณปจจุบัน ระบุปญหา- ประชาชนทุกคน- ประชาชนกินอาหารรับประทานอาหารที่สะอาดไมปลอดภัยปลอดภัยและมีประโยชนตอรางกายสุขภาพแข็งแรง- ประชาชนยังคงกินอาหารสุก ๆ ดิบ ๆ เชนลาบ, กอย (รอยละ 72)- จากการเก็บตัวอยางอุจจาระพบไขพยาธิ10.67%, โรคอุจจาระรวง พบจํานวน 32 รายคิดเปน 6.336 ตอแสน ประชากร- ประชาชนไมลางมือกอนรับประทานอาหาร 72.1%


73วิสัยทัศน ตัวชี้วัด สถานการณปจจุบัน ระบุปญหาสุขภาพแข็งแรง- ประชาชนทุกคนออกกําลังกายอยางเหมาะสม และมี- ไมมีชมรมออกกําลังกาย- ไมมีผูนําในการออกกําลังกาย- ไมมีการสงเสริมการออกกําลังกายชมรมออกกําลังกายอยางยั่งยืน- มีการรวมกลุมกันเลนเปตอง- ประชาชนไมเจ็บปวยดวยโรคที่สามารถปองกันได- ประชาชนเปนโรคเบาหวาน 10.16%ความดันโลหิตสูง 10.16%- ประชาชนขาดความรูในการปองกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง- ประชาชนไมเปนโรคไขเลือดออก- เด็กอายุ 0-12 ปมีน้ําหนักตามเกณฑ- ประชาชนอายุ 35 ปขึ้นไปมีดัชนีมวลกายระดับปกติ คือ18.5 – 22.9- มีเจาหนาที่ประจําสถานีอนามัยตลอด 24 ชั่วโมงและมีแพทย ทันตแพทยประจําสถานีอนามัยทุกวัน- พบประชาชนเปนโรคไขเลือดออกจํานวน2 ราย คิดเปน 4000 ตอ แสนประชากร(เกณฑ 0.5 ตอ 1000 ประชากร)- มียุงชุมมากในหนาฤดูฝนแตไมพบในหนารอน- มีการฉีดยาฆายุงปละ 2-3 ครั้ง- จากการสํารวจพบวามีปญหายุงรอยละ 88- เด็ก 0-12 ป สวนใหญมีภาวะโภชนาการผิดปกติ โดย0-5 ป น้ําหนักต่ํากวาเกณฑ 18.42 %6-12 ป น้ําหนักต่ํากวาเกณฑ 12.28 %(เกณฑ Healthy Thailand น้ําหนักต่ํากวาเกณฑตองไมมากกวา 10%)- เด็กอายุ 5-10 ปไดรับนมฟรีจากโรงเรียนวันละ 1 กลอง- เด็กไดรับอาหารกลางวันจากที่โรงเรียนไมเพียงพอเนื่องจาก ที่โรงเรียนจะมีแตกับขาวเทานั้น เด็กจะตองนําขาวหรือขาวเหนียวมารับประทานเอง- ประชาชนอายุ 35 ปขึ้นไปมีดัชนีมวลกายเกิน 18.5-22.9 คิดเปน 50.87%- มีเจาหนาที่ประจําสถานีอนามัยถึงเวลา21.00 น. ไมมีแพทยและทันตแพทยประจําอยูที่สถานีอนามัย- มีแหลงเพาะพันธุยุงมาก- เด็กมีภาวะโภชนาการผิดปรกติ- ประชาชนเปนโรคอวนเสี่ยงตอการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง-


74วิสัยทัศน ตัวชี้วัด สถานการณปจจุบัน ระบุปญหา- มีเครื่องมือแพทยที่ทันสมัย-และมีวัคซีนตาง ๆ ครบถวนสุขภาพแข็งแรง- เครื่องมือแพทยยังไมทันสมัยและยังขาดวัคซีนในโรคที่จําเปน เชน โรคพิษสุนัขบาเปนตน- ทุกคนไดรับการตรวจฟนปละ 2 ครั้ง- มีบริการรับสงผูปวยเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน- ประชาชนที่มีอายุตั้งแต 35ปขึ้นไป ไดรับการตรวจมะเร็งปากมดลูกทุกคน ปละ 1 ครั้ง- ทุกคนไดรับการตรวจฟนปละ 1 ครั้ง- ประชาชน 80.9% มีอาการปวดฟน ฟนโยกฟนผุและเสียวฟน- ประชาชน 20.6% แปรงฟนตอนเชาเทานั้น- มีบริการรถฉุกเฉินรับ-สงผูปวยไปยังโรงพยาบาลหัวตะพาน- ประชาชนที่มีอายุตั้งแต 35 ปขึ้นไปไดรับการตรวจมะเร็งปากมดลูก ปละ 1 ครั้ง- ขาดการดูแลเอาใจใสในสุขภาพฟน--บานนาอยู- ครอบครัวอบอุน - สมาชิกในครอบครัวไมไดอยูรวมกัน - ประชาชนดื่มสุราและเนื่องจากสมาชิกวัยแรงงานไปทํางานในตาง สูบบุหรี่มากถิ่น- จากการวิเคราะหโครงสรางประมิดประชากรพบวาคนวัยทํางานที่อยูจริง ๆ มีนอยกวาขอมูลตามทะเบียนราษฎร- ผูปกครองเขมงวดกับเด็กมากเกินไปทําใหเด็กไมมีอิสระ- ประชาชนสูบบุหรี่ 40.4%, ดื่มสุรา 60.3%- ไมมีผูเสพยาเสพติดชนิดอื่น ๆ ในหมูบาน- มีกิจกรรมสําหรับผูสูงอายุ - ไมมีกิจกรรมกลุม ทําใหผูสูงอายุรูสึกเหงา - ไมมีกิจกรรมสําหรับผูสูงอายุ- น้ําสะอาด - น้ําที่ประชาชนใชอุปโภคใชน้ําประปา - การผลิตน้ําประปาพบวามีคราบตะกอนอยูบางไมไดคุณภาพ- น้ําดื่ม ดื่มน้ําประปา- จากการสํารวจพบวาไมมีการปรับปรุงคุณภาพน้ําดื่ม 86.76%- กระบวนการผลิตน้ําประปาของหมู 3 ขาดกระบวนการกรองและเติมคลอรีน- ยังไมมีเครื่องกรองน้ําประจําหมูบาน


75วิสัยทัศน ตัวชี้วัด สถานการณปจจุบัน ระบุปญหาบานนาอยู - มีการจัดการขยะมูลฝอย - ยังมีขยะตกคางตามถังขยะ เนื่องจากมีรถขยะมาเก็บเพียง 2 ครั้งตอสัปดาห- ไมมีการแยกขยะตามครัวเรือน- ถังขยะไมเพียงพอ-ขยะตกคางในถังขยะรวมของครัวเรือน- ไมมีเสียงรบกวน - มีเสียงดังบางจากโรงสีขาวในหมูบาน- สํารวจขอมูลปฐมภูมิพบวามีปญหาเสียงรบกวน 37.9%- ไมมีกลิ่นรบกวน - จากการสํารวจขอมูลปฐมภูมิพบวา มีปญหากลิ่นขี้หมูรบกวนจากฟารมหมูในหมูบานถึง 44.1%- มีกลิ่นขี้หมูรบกวน-- บานทุกหลังคาเรือนสะอาด- มีตนไมใหรมเงาริมถนน 10เมตรตอ 1 ตน- ศาลากลางบานไดรับการปรับปรุงใหดีขึ้น- มีรานคาสหกรณประจําหมูบาน- บานเรือนมีฝุนละอองมาก- ถนนมีฝุนละอองมาก- มีหนูมากถึง 90% และแมลงวันมากถึง88.2%- จากการสํารวจขอมูลปฐมภูมิพบวา มีลักษณะบานเรือนไมสะอาด 40.4%- ไมมีทอระบายน้ําของทุกหลังคาเรือน- มีหนูและแมลงวันมาก- ไมมีตนไมใหรมเงาริมถนน -- ศาลากลางบานมีสภาพเสื่อมโทรม และไม - ศาลากลางบานไมมีมีหองน้ําหองน้ํา- ไมมีรานคาสหกรณประจําหมูบาน -- มีถนนที่สะดวกไปที่นา - ถนนไปที่นาแคบ ต่ํา และเปนหลุมเปนบอ - ถนนไปนาสถาพไมดี- มีความปลอดภัยในการขามถนน- ไมมีทางมาลายบนถนน- ไมมีการกําหนดเขตสําหรับใหวัว ควายขามถนน- ไมมีเสาไฟฟาทุกซอย- ไมมีปายจราจรบนถนนสายหลัก- ไมมีทางขามถนนสําหรับวัว-ควาย- มีตูโทรศัพทอยางเพียงพอในหมูบานมีตูโทรศัพทในหมูบาน 1 ตู และอยูหางไกลจากเขตชุมชน- จํานวนตูโทรศัพทสาธารณะไมเพียงพอ


76วิสัยทัศน ตัวชี้วัด สถานการณปจจุบัน ระบุปญหาบานนาอยู - เบี้ยเลี้ยงสําหรับผูสูงอายุและคนพิการเพิ่มขึ้นเปน 500บาท/เดือน- เบี้ยเลี้ยงสําหรับผูสูงอายุและคนพิการ 300บาท/เดือน-อูขาวอูน้ํา- เบี้ยเลี้ยงสําหรับ อสม. - ไมมีเบี้ยเลี้ยงสําหรับ อสม. -- มีน้ําเพียงพอสําหรับการเกษตร- ไมมีสถานที่เก็บกักน้ํา ทําใหขาดน้ําในการเกษตรในฤดูรอน- มีฝายน้ําลนในหวยปลาแดก 1 แหง ชํารุดไมสามารถใชงานไดตามปกติ- คลองหวยปลาแดกปจจุบันกวางเพียง 10เมตร- มีน้ําไมเพียงพอสําหรับทําการเกษตรกลุมอาชีพในหมูบานมีการพัฒนาใหยั่งยืน- กลุมอาชีพปศุสัตวไดรับการสงเสริมความรู- เกษตรกรไดรับการสงเสริมการปลูกพืชนอกฤดูทํานา- สงเสริมการขายสินคาหัตถกรรม ผลิตภัณฑจากผาขิด เชนกระเปา เสื่อกก- สงเสริมการขายผลิตภัณฑขาวกลองปลอดสารพิษ- จัดใหมีตลาดนัดชุมชน เพื่อสงเสริมผลผลิตในหมูบานสัปดาหละ 4 ครั้ง- ประชาชนขาดความรูดานปศุสัตว- มีวัวสายพันธดี แตเปนฟารมของเอกชน- มีอยูแลว คือการปลูกถั่วลิสง และปลูกผัก- มีศูนยวิสาหกิจชุมชนเปนศูนยกลางในการขายผลิตภัณฑผาขิด- มีกลุมแมบานผลิตภัณฑขาวกลองปลอดสารพิษ แตไมมีตลาดรองรับ- มีตลาดนัดชุมชนสัปดาหละ 2 ครั้งคือชวงเย็นวันอังคารและเชาวันอาทิตย- ผลผลิตในชุมชนมีออกมาขายนอย- ตลาดรองรับผลิตภัณฑผาขิดไมเพียงพอ


77วิสัยทัศน ตัวชี้วัด สถานการณปจจุบัน ระบุปญหาเลิศล้ําวิชา - ประชาชนในหมูบานเรียนจบการศึกษาภาคบังคับ (ม.3)100% และมีโอกาสเรียนตอ- ประชาชนจบการศึกษาภาคบังคับ (ม.3)100%- มากกวา 50% มีโอกาสศึกษาตอจากภาคบังคับ-- มีเครื่องคอมพิวเตอรและอุปกรณกีฬาครบถวน 80%- มีโรงเรียนกวดวิชาวันเสาร-อาทิตย ในหมูบานสําหรับเด็กมัธยม- อุปกรณไมเพียงพอตอความตองการของนักเรียน- ไมมีโรงเรียนกวดวิชาวันเสาร-อาทิตย ในหมูบานสําหรับเด็กมัธยม-- เด็กนักเรียนขาดโอกาสในการเรียนเสริมความรูนอกเวลาเรียนรักษาวัฒนธรรม- จัดกลุมทอผาขิด ใหเปนศูนยการเรียนการสอนทอผาสําหรับผูที่สนใจ- มีจํานวนครูในโรงเรียนบานคําพระเพิ่มขึ้นจํานวน 2คน- จํานวนประชาชนที่ไปวัดเพิ่มขึ้น- มีประชาชนในหมูบาน เปนครูสอนการทอผาขิดใหกับกลุมแมบานตางจังหวัดปละ 2ครั้ง- ปจจุบันมีจํานวนครู 20 คน ตอนักเรียน 379คน- ในวันปกติจะมีตัวแทนของแตละคุม ผลัดเวียนกันไปวัด สวนมากมักเปนผูหญิงทําอาหารไปถวายพระ วันละประมาณ 10คน---- คนเขารวมกิจกรรมของหมูบาน- มีการจัดประเพณีพื้นบานในทุก ๆ ป- คนเขารวมกิจกรรมมีสม่ําเสมอ มีเพียง 40-50 คน เชน ประชุมชาวบานประจําเดือน- มีบางประเพณีที่สูญหายไปแลว เชนประเพณีการทอดขาวเมา- ประเพณีบางอยางสูญหายไป-


78เมื่อเปรียบเทียบสถานการณที่เปนจริงของชุมชนบานคําพระกับสภาพชุมชนที่ปราถนาเพื่อหาชองวาง พบวาไดปญหาออกมาทั้งหมด 21 ปญหาดังนี้ปญหาคะแนน1. ไมมีทางขามถนนสําหรับวัว-ควาย 112. ประชาชนเปนโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง 103. ถนนไปนาสภาพไมดี 104. น้ําไมเพียงพอสําหรับการทําเกษตร 105. มีกลิ่นขี้หมูรบกวน 96. การผลิตน้ําประปาไมไดคุณภาพ 77. มีหนูและแมลงวันมาก 68. ประชาชนกินอาหารไมปลอดภัย 69. มีแหลงเพาะพันธุยุงมาก 610. ไมมีการสงเสริมการออกกําลังกาย 511. ขยะตกคางในถังขยะรวมของครัวเรือน 412. ตลาดรองรับผลิตภัณฑผาขิดไมเพียงพอ 313. มีภาวะโภชนาการเกินเสี่ยงตอการเปนโรคอวน 314. ประเพณีบางอยางสูญหายไป 315. ภาวะทุพโภชนาการในเด็กแรกเกิด ถึง 12 ป 216. ศาลากลางบานไมมีหองน้ํา 217. ขาดการดูแลเอาใจใสในสุขภาพฟน 118. ประชาชนดื่มสุราและสูบบุหรี่มาก 119. ไมมีกิจกรรมสําหรับผูสูงอายุ 120. จํานวนตูโทรศัพทสาธารณะไมเพียงพอ 121. เด็กนักเรียนขาดโอกาสในการเรียนเสริมความรูนอกเวลาเรียน 1เมื่อไดปญหาทั้งหมด ก็นําปญหาที่ไดมาวิเคราะหปญหาเชิงระบบ Community Syndromeเมื่อหาความสัมพันธของปญหาซึ่งปญหาหลายอยางที่ระบุออกมาสามารถที่จะรวมเปนกลุมปญหาเดียวกันไดและนํามาจัดลําดับสําคัญของปญหาที่ตองการจะแกไขเรงดวนตอไป


79ขาดความรูในการปองกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงขาดการออกกําลังกายโรคอวนในผูใหญประชาชนดื่มสุราโรคเบาหวาน10.61%โรคความดันโลหิตสูงโรคพยาธิประชาชนติดบุหรี่มีกลิ่นรบกวนมีหนูและแมลงวันไขเลือดออกพฤติกรรมการบริโภคไมเหมาะสมขาดความรูในการเลือกบริโภคน้ําดื่มน้ําใชไมสะอาดขยะตกคางมีแหลงเพาะพันธุยุงภาวะทุพโคชนาการในเด็ก 0-5 ปและ 6 -12 ปสุขาภิบาลสิ่งแวดลอมไมดีโรคอุจจาระรวงโรคฟนผุในเด็กรายไดไมเพียงพอทําใหมีหนี้สินปญหาการประกอบอาชีพของประชาชนถนนไปนาสภาพไมดีไมมีการกําหนดทางขามสําหรับ วัว ควายน้ําไมเพียงพอสําหรับการเกษตรตลาดรองรับผลิตภัณฑไมเพียงพอ


801.7 วิเคราะหสถานการณชุมชนเชิงระบบจากปญหาที่ไดทั้งหมด เมื่อนํามาวิเคราะหชุมชนเชิงระบบ (Community Syndrome) นั้นก็เพื่อใหเห็นความสัมพันธของปญหาและมีแนวคิดในการแกปญหาแบบองครวม ปญหาที่ไดจากการแบงกลุมมีดังนี้ คือ1. ประชาชนเปนโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง2. พฤติกรรมการบริโภคอาหารไมถูกสุขลักษณะ3. สุขาภิบาลสิ่งแวดลอม- มีหนูและแมลงวันมาก- มีแหลงเพาะพันธุยุง- มีขยะตกคางในถังขยะรวมของครัวเรือน- มีกลิ่นขี้หมูรบกวน4. ปญหาเกี่ยวกับการประกอบอาชีพ- น้ําไมเพียงพอตอการเกษตร ทําใหผลผลิตตกต่ํา- ไมมีทางขามสําหรับวัวควาย ทําใหวัวควายถูกรถชน- ตลาดรองรับผลิตภัณฑผาขิดไมเพียงพอ- ถนนไปนาสภาพไมดี5. ประชาชนดื่มสุราและบุหรี่มาก6. ขาดการดูแลเอาใจใสสุขภาพฟน7. ศาลากลางบานไมมีหองน้ํา8. ไมมีกิจกรรมสําหรับผูสูงอายุ9. จํานวนตูโทรศัพทสาธารณะไมเพียงพอ10. ภาวะทุพโภชนาการในเด็กแรกเกิด ถึง 12 ป1.8 การลําดับความสําคัญกอนหลังของปญหาหลังจากที่เราไดปญหาออกมาแลว 10 ปญหา ขั้นตอนตอไปจะเปนการจัดลําดับความสําคัญของปญหา โดยวิธีการที่ใชในการลําดับความสําคัญกอนหลังของปญหานั้นใชเกณฑที่ไดจากการประชุมกลุมรวมกับกลุมผูมีสวนไดสวนเสีย โดยมีวิธีการดังนี้คือ- แบงกลุมยอยออกเปน 5 กลุม กลุมละ 4-5 คน- ใหแตละกลุมมีนักศึกษาประจํากลุมละ 2 คน โดยใหผูมีสวนไดสวนเสียในแตละกลุม ลงคะแนนปญหาเพื่อจัดลําดับปญหา และจะมีนักศึกษาคอยรวบรวมคะแนนในแตละกลุม โดยในปญหาแตละขอแบงการลงคะแนนออกเปน 5 หัวขอ คือ ขนาดของปญหา, ความรุนแรงของปญหา, ความตะหนักของชาวบาน, ความยากงายในการแกปญหา, ความเปนไปไดในการแกปญหา โดยสามารถลงคะแนนไดตั้งแต 0-5 ในแตละหัวขอของปญหา


81- หลังจากนั้นนําคะแนนที่ไดในแตละหัวขอมารวมกัน ไดผลการจัดลําดับความสําคัญของปญหาดังนี้ปญหา1.ประชาชนเปนโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง2.พฤติกรรมการบริโภคอาหารไมถูกสุขลักษณะ3. สุขาภิบาลสิ่งแวดลอม- มีหนูและแมลงวันมาก- มีแหลงเพาะพันธุยุงมาก- มีขยะตกคาง- มีกลิ่นขี้หมูรบกวน4. การประกอบอาชีพของประชาชน- น้ําไมเพียงพอตอการเกษตร- ไมมีปายกําหนดเขตขามถนนสําหรับวัว-ควาย- ตลาดรองรับผลิตภัณฑผาขิดไมเพียงพอ- ถนนไปนาสภาพไมดีความสําคัญของปญหาขนาด ความรุนแรง ความตระหนัก ความยากงาย ความเปนไปได รวม86 105 95 83 85 45499 69 95 68 87 41882 107 95 68 87 43993 96 98 71 63 4215.ประชาชนดื่มสุรา สูบบุหรี่ 60 78 79 83 80 3806.ขาดการดูแลเอาใจใสสุขภาพ 79 80 72 64 57 352ฟน7.ศาลากลางบานไมมีหองน้ํา 102 86 81 37 63 3698.ไมมีกิจกรรมสําหรับผูสูงอายุ 76 76 53 65 59 3399.จํานวนตูโทรศัพทสาธารณะ 78 72 84 63 63 360ไมเพียงพอ10. ภาวะทุพโภชนาการในเด็กแรกเกิด ถึง 12 ป80 87 82 68 54 371ลําดับ 1 ประชาชนเปนโรคเบาหวาน ไดคะแนน 454และความดันโลหิตสูงลําดับ 2 สุขาภิบาลสิ่งแวดลอมไมดี ไดคะแนน 439ลําดับ 3 ปญหาเกี่ยวกับการประกอบอาชีพ ไดคะแนน 421


82ลําดับ 4 พฤติกรรมการบริโภคอาหาร ไดคะแนน 418ไมเหมาะสมลําดับ 5 ประชาชนดื่มสุรา สูบบุหรี่ ไดคะแนน 380ลําดับ 6 ภาวะทุพโภชนาการในเด็กแรกเกิด ไดคะแนน 371ถึง 12 ปลําดับ 7 ศาลากลางบานไมมีหองน้ํา ไดคะแนน 369ลําดับ 8 จํานวนตูโทรศัพทสาธารณะไมเพียงพอ ไดคะแนน 360ลําดับ 9 ขาดการดูแลเอาใจใสสุขภาพฟน ไดคะแนน 352ลําดับ 10 ไมมีกิจกรรมสําหรับผูสูงอายุ ไดคะแนน 339เนื่องจากการจัดทําแผนในการแกปญหามุงเนนใหประชาชนสามารถแกปญหา กระทําไดดวยตัวเอง หรือมีสวนรวมใหมากที่สุดโดยอาศัยทรัพยากรที่มีอยูในทองถิ่น และกําหนดเปนแผนระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาวซึ่งแผนที่จะทําไดกอนและประชากรสามารถทําไดเอง คือ ประชาชนเปนโรคเบาหวานและความดันโลหิดสูงสุขาภิบาลสิ่งแวดลอม และพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไมถูกสุขลักษณะ เพื่อที่จะดําเนินการแกไขปญหากอน


82ไมมีเวลาในฤดูทํานาไมมีผูนําออกกําลังกายไมมีกิจกรรมผูสูงอายุไมออกกําลังกาย63.3%ขาดความรูในการปองกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงกินขาวเหนียวปริมาณมาก83.7%อาหารทอด 98%โรคอวนกินหวาน87.2%เบาหวานดื่มสุรา60.29%ความดันโลหิตสูงสูบบุหรี่ 40.44%อายุมากกินมัน 79.6%ขาดความรูเรื่องโภชนาการกินเค็มกินไขทุกวัน31.9%กินเครื่องในสัตวบอย36.7%หมักดอง91.8%Web of causation ของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง บานคําพระ หมู 3


83ไมปรับปรุงคุณภาพน้ํากอนดื่มบานไมสะอาดโรคอุจจาระรวงโรคไขเลือดออกมีแมลงวันมีแหลงเพาะพันธุยุงมีหนูสุขาภิบาลสิ่งแวดลอมไมดีมีขยะตกคางมีฝุนมากมีกลิ่นขี้หมูรบกวนมีขี้วัวบนถนนมากไมมีทางระบายน้ําWeb of causation ของการสุขาภิบาลสิ่งแวดลอม บานคําพระ หมู 3


84บทที่ 4แผนแมบทและแผนงาน/โครงการแกไขปญหาการศึกษาพัฒนาอนามัยชุมชนเบ็ดเสร็จ ณ บานคําพระ หมู 3 ต. คําพระ อ. หัวตะพาน จ. อํานาจเจริญในครั้งนี้ไดใชหลักของกระบวนการเรียนรูแบบมีสวนรวมเพื่อการพัฒนาสาธารณสุข (ParticipatoryLearning Development in Health: PLD) ซึ่งมีขั้นตอนการศึกษาหลักๆ ดังนี้1. การศึกษาชุมชน2. การระดมความคิดเพื่อระบุปญหาสาธารณสุขและการลําดับความสําคัญของปญหา3. การจัดทําแผนและการประชาพิจารณซึ่งแตละขั้นตอนดังกลาวขางตนมีรายละเอียดของวิธีการศึกษาดังนี้1. การศึกษาชุมชนการศึกษาชุมชนมีวัตถุประสงค เพื่อสรางความคุนเคยกับชุมชน เรียนรูวิถึชุมชนเก็บรวบรวมขอมูลของชุมชนทางดานสุขภาพทั้งที่เปนขอมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิ และการจัดบริการพื้นฐานทางสุขภาพ โดยมีรายละเอียดตาง ๆ ดังนี้1.1 การสรางความคุนเคยในชุมชนการสรางความคุนเคยในชุมชนทําในวันแรกที่มาถึง โดยเริ่มจากการเขาไปแนะนําตัวทุกคนในทีมกับเจาของบานที่ไปพักอาศัยดวย หลังจากนั้นไปพบผูใหญบาน ของหมู 3 บานคําพระ เพื่อแนะนําตัว บอกวัตถุประสงคที่มาฝกภาคสนาม รวมทั้งขอความรวมมือไวลวงหนา โดยในวันเดียวกันมีการเดินพูดคุยทักทายกับชาวบาน เพื่อเปนการสรางความคุนเคยอีกทางหนึ่งดวย1.2 การเรียนรูวิถีชุมชนการเรียนรูวิถีชีวิตของชุมชนนี้จะทําการศึกษาดวยวิธีการสัมภาษณผูใหญบานและชาวบาน การสังเกตุ และการทบทวนเอกสารตางๆ โดยจะทําการรวบรวมขอมูลตางๆ ดวยการใหคนในชุมชนมีสวนรวมซึ่งจะเก็บขอมูลเกี่ยวกับสภาพโดยทั่วไปของชุมชนในดานสภาพความเปนอยู ขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมการประกอบอาชีพ การดําเนินชีวิตประจําวัน เทศกาลประเพณี สิ่งแวดลอม การรวมกลุมตางๆ โครงสรางของชุมชน ผูมีสวนไดสวนเสียในชุมชน และทรัพยากรตางๆที่มีในชุมชนทั้งในดานทรัพยากรบุคคลทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรสิ่งของ สถานที่สําคัญ และสาธารณูปโภค ซึ่งในขั้นตอนนี้จะรวมถึงการสํารวจและจัดทําแผนที่ของชุมชน1.3 การระบุสถานการณทั่วไปทางดานสาธารณสุขและภาวะที่เปนเครื่องชี้ความเสี่ยงการระบุสถานการณทั่วไปทางดานสาธารณสุขสามารถกระทําไดหลายวิธี โดยมีวิธีการตาง ๆ ดังนี้1.3.1 การรวบรวมขอมูลทางทุติยภูมิ


85- ขอมูล จปฐ. จากสถานีอนามัยบานคําพระ- ขอมูลปญหาดานสาธารณสุขจากสถานีอนามัยบานคําพระและอบต. คําพระ1.3.2 การสํารวจชุมชนการสํารวจชุมชนนี้ ทําโดยการใชแบบสอบถามเฉพาะที่สรางขึ้น โดยสํารวจประชากร หมู3 บานคําพระ ต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญ ทุกหลังคาเรือน โดยแบบสอบถามประกอบดวย- ขอมูลพื้นฐานของครอบครัว ไดแก บานเลขที่ จํานวนสมาชิกในครอบครัว- ขอมูลพื้นฐานของบุคคล ไดแก ชื่อ-สกุล อายุ เพศ ความสัมพันธในครอบครัวการศึกษา อาชีพ รายไดตอเดือน (บาท) สถานภาพสมรส หลักประกันสุขภาพ โรคประจําตัว น้ําหนัก และสวนสูง- ปญหาสาธารณสุขของครอบครัว ไดแก โรคตาง ๆ ในครอบครัว เชน โรคเอดสความดันโลหิตสูง ขาดสารอาหาร อวน มะเร็ง เบาหวาน ไขเลือดออก เลปโตสไปโรซิส อุจจาระรวง เปนตน- ขอมูลอนามัยของครอบครัว ไดแก การทานอาหารสุก ๆ ดิบ ๆ, การดื่มสุรา การสูบบุหรี่ และการสวมหมวกนิรภัยและคาดเข็มขัดนิรภัย- ขอมูลเกี่ยวกับทันตสาธารณสุข- ขอมูลเกี่ยวกับหมวดสุขาภิบาล ไดแก ลักษณะบาน น้ําดื่ม/น้ําใช การปรับปรุงคุณภาพน้ํา การกําจัดขยะมูลฝอย การกําจัดสิ่งปฏิกูล มลภาวะตาง ๆ เปนตน- หมวดโภชนาการ ไดแก สถานที่ซื้ออาหาร การเก็บอาหาร การลางมือกอนและหลังรับประทานอาหาร การรับประทานอาหาร เปนตนการวิเคราะหขอมูล ใชการวิเคราะหจํานวนและรอยละ โดยใชหลักระบาดวิทยาเชิงพรรณนาซึ่งจะอธิบายตามลักษณะของบุคคลและสถานที่ และใชโปรแกรมคอมพิวเตอรสําเร็จรูปเปนเครื่องมือในการวิเคราะห1.3.3 จัดบริการขั้นพื้นฐาน เพื่อตรวจคัดกรองเฉพาะกลุมซึ่งมีรายละเอียดดังนี้การตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงกลุมเปาหมาย ประชาชนผูที่มีอายุมากกวา 35 ปขึ้นไปวิธีการ- มีการวัดความดันโลหิต โดยใชเครื่องวัดความดันโลหิต โดยใชเกณฑ Systolic bloodpressure มากกวา 140 mmHg, Diastolic blood pressure มากกวา 90 mmHg โดยถาพบผูที่มีความดันเกินเกณฑที่กําหนดไว จะใหนั่งพัก 10 นาทีกอนแลวจึงทําการวัดซ้ํา- มีตรวจคัดกรองเบาหวาน โดยใช Urine strip เพื่อหาน้ําตาลในปสสาวะ- มีการตรวจรางกายเบื้องตน ใหคําแนะนําเกี่ยวกับสุขภาพทั่ว ๆ ไป รวมถึงใหคําปรึกษาในเรื่องโรคตาง ๆ


86การวิเคราะหขอมูล ใชการวิเคราะหจํานวนและรอยละ โดยใชหลักระบาดวิทยาเชิงพรรณนาซึ่งจะอธิบายตามลักษณะของบุคคลและสถานที่การตรวจคัดกรองภาวะโภชนาการในเด็กอายุ 0-5 ปกลุมเปาหมาย เด็กอายุ 0-5 ปวิธีการ- ทําการคํานวณอายุ ชั่งน้ําหนัก และวัดสวนสูงเด็กทุกคนในหมู 3 บานคําพระ ที่มีอายุ 0-5 ป- นําคาน้ําหนักและสวนสูงที่ไดมาวิเคราะหเทียบกับแผนภูมิการเจริญเติบโต (Growth Chart)เพื่อหาเด็กที่มีการเจริญเติบโตชากวาปกติการวิเคราะหขอมูล ใชการวิเคราะหจํานวนและรอยละ โดยใชหลักระบาดวิทยาเชิงพรรณนาซึ่งจะอธิบายตามลักษณะของบุคคลและสถานที่ โดยเทียบกับแผนภูมิการเจริญเติบโตการตรวจคัดกรองภาวะโภชนาการในประชาชนที่มีอายุ 25 ป ขึ้นไปทําการชั่งน้ําหนักและวัดสวนสูง เพื่อนําขอมูลที่ไดมาคํานวณหาคาดัชนีมวลกาย (Body mass index)ในผูที่มีอายุ 25 ป ขึ้นไป โดยมีการวิเคราะหดัชนีมวลกายเทียบกับเกณฑมาตรฐาน เพื่อดูภาวะโภชนาการของประชาชนหมู 3 บานคําพระ ซึ่งดูไดทั้งน้ําหนักต่ํากวาเกณฑและสูงกวาเกณฑหรือที่เรียกวา “อวน”การตรวจอุจจาระเพื่อหาไขพยาธิจากการสอบสัมภาษณเพื่อดูสถานการณของพฤติกรรมเสี่ยงพบวา สวนใหญจะเปนผูชายวัยกลางคนขึ้นไปซึ่งไดแกพอบานที่มีพฤติกรรมเสี่ยงรองลงมาก็คือแมบาน ดังนั้นกลุมเปาหมายเบื้องตนจึงเปนพอบานวิธีการตรวจอุจจาระเมื่อไดมีการแจกอุปกรณที่จะเก็บตัวอยางอุจจาระแกคนในชุมชนแลว และไดเก็บรวบรวมมา จึงไดเริ่มทําการตรวจหาตัวพยาธิ หรือไขพยาธิในตัวอยางอุจจาระ วิธีการตรวจมีดังนี้1. ทําการลงทะเบียนตัวอยางอุจจาระ2. ทําการเขียนเบอรอันดับทั้งบนถุงเก็บตัวอยางและบนสไลดแกว3. ทําการหยด Iodine ลงไปบนสไลด 2 หยด4. ปายตัวอยางอุจจาระปริมาณ 1 หัวไมขีด แลวไปคนใน iodine จนไดความเขมขนที่เหมาะสม5. เมื่อไดความเขมขนของตัวอยางอุจจาระที่พอเหมาะก็ทําการปดดวย cover glassนําไปตรวจดูพยาธิหรือไขพยาธิดวยกลองจุลทรรศนขนาดกําลังขยาย 100 เทา (เลนสตา 10 เทา เลนสวัตถุ 10เทา) แลวเปลี่ยนเปนกําลังขยาย 400 เทา เมื่อตองการดูรายละเอียดของตัวพยาธิหรือไขพยาธิ


872. การระดมความคิดเพื่อระบุปญหาสาธารณสุขและลําดับความสําคัญของปญหาไดกลาวขั้นตอนมาแลวในบทที่ 33. การจัดทําแผนและการทําประชาพิจารณแผนวัตถุประสงค- กําหนดแนวทางการแกไขปญหาโดยการใชผลการวิเคราะหปญหา- จัดหมวดหมูของการแกไขปญหาที่สามารถดําเนินการไดโดยชุมชนรวมกับนักศึกษาหรือหนวยงานที่เกี่ยวของและโดยหนวยงานภาครัฐ- จัดทําแผนงานการแกไขปญหารวมกับชุมชนและนําเสนอตอที่ประชุมหมูบานเพื่อการปรับแก- นําเสนอแผนตอองคการบริหารสวนตําบลวิธีการมีการนําขออภิปรายตาง ๆ จากการวิเคราะหสาเหตุของปญหา ไปสูการเขียนแผนแบบงาย ๆ ดังนี้1. แบงสมาชิกออกเปนกลุมยอยตามกลุมของปญหา แลวใหสมาชิกแตละคนในกลุมยอยเขียนแนวทางกิจกรรม เพื่อเสนอใหกลุมยอยพิจารณา2. แตละคนนําเสนอแนวทาง โดยชี้แจงเหตุผลความจําเปนประโยชน3. รวบรวมขอเสนอของแตละคนจัดเปนหมวดหมู โดยตองเปนแนวทางที่กลุมเห็นพองตองกันวาเปนขอเสนอของกลุม4. ตัวแทนกลุมนําเสนอแนวทางกิจกรรมตอสมาชิกที่เขาประชุม เพื่อใหสมาชิกรวมกันซักถามใหขอคิดเพิ่มเติม5. สมาชิกกลุมชวยกันรวมกิจกรรมที่เหมือนกันไวดวยกัน และจัดหมวดหมูของกิจกรรมเปนประเภทตาง ๆ ดังนี้5.1 กิจกรรมที่สมาชิกทําเองได5.2 กิจกรรมที่จะรวมมือกับหนวยงานหรือองคกรในทองถิ่น5.3 กิจกรรมที่ขอความรวมมือจากองคกรในทองถิ่น


88ตารางแสดง รายละเอียดของโครงการแผนงาน/โครงการ กิจกรรม วัตถุประสงค- จัดเสวนาผูที่เปนโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง- คนหาผูนํากลุมทางธรรมชาติเพื่อเปนตัวแทนของผูที่เปนโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิดสูงพรอมกับจัดตั้งกลุม “ออน-หวาน-มัน-เค็ม”-อยูอยางไรปลอดภัยจากเบาหวานและความดันโลหิตสูง- โครงการจัดตั้งชมรม “ออน-หวาน-มัน-เค็ม”- ออกกําลังกายสบายชีวี เพื่อสุขภาพดีของทุกคน1. การประชาสัมพันธการออกกําลังกาย- เสียงตามสาย- ปายประกาศ2. เปนผูนําเตนแอโรบิกใหกับประชาชนในสัปดาหแรก3. หาตัวแทนของประชาชนมาเปนคนนําเตนแอโรบิกในครั้งตอไป- ฟนฟูการเตนแอโรบิกขึ้นมาใหมที่องคการบริหารสวนตําบล- เพื่อใหประชาชนที่ปวยเปนโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงและประชาชนกลุมเสี่ยงมีความรูและความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับอาหารและการฏิบัติตัวอยางถูกวิธี- เพื่อใหเกิดการรวมกลุมแลกเปลี่ยนความรูวิธีการปฏิบัติตน- เพื่อใหผูปวยและกลุมเสี่ยงเกิดการเรียนรูและสามารถดูแลซึ่งกันและกันได1. เพื่อใหเกิดการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารระหวางสมาชิกในกลุม2.เพื่อใหเกิดการดูแลซึ่งกันและกันระหวางสมาชิกในกลุม3.เพื่อสรางกิจกรรมใหเกิดขึ้นในกลุมผูสูงอายุ- เพื่อสรางกระแสใหประชาชนเกิดความตระหนักในเรื่องการออกกําลังกาย- เพื่อใหประชาชนไดรับรูประโยชนของการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ- เพื่อใหประชาชนไดออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอ- อาหารสะอาดดีมีประโยชน - แขงขันการตําสมตําเพื่อสุขภาพ- ใหความรูทางดานโภชนาการ และอาหารปลอดภัย- เพื่อสรางกระแสใหประชาชนเกิดความตระหนักเรื่องอาหารที่สะอาดและปลอดภัย- เพื่อใหประชาชนมีความรูเรื่องอาหารปลอดภัยและสามารถนําไปปฏิบัติไดถูกวิธี- บานเฮานาอยู หมูบานนามอง- จัดการแขงขันการประกวดบานนาอยูและประกาศรายชื่อผูชนะเลิศผานทางสถานีวิทยุ สวท.อํานาจเจริญ- แนะนําใหความรูและแนวทางการแกไขกับผูประกอบการเลี้ยงสุกรในเรื่องการสุขาภิบาลฟารมเลี้ยงสัตว- เพื่อการกระตุนใหประชาชนไดจัดที่อยูอาศัยใกถูกหลักสุขลักษณะ- เพื่อสุขภาพจิตที่ดีของผูอยูอาศัย- เพื่อปองกันกลิ่นที่รบกวนในหมูบานใหลดลง


89แผนงาน/โครงการ กิจกรรม วัตถุประสงค- ประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของเชน อบต. เพื่อซอมแซมประตูน้ํา ฝายน้ําลนหวยปลาแดกที่ชํารุดใหใชงานไดเปนปรกติ-ปรับปรุงฝายน้ําลนหวยปลาแดก- เพื่อใหสามารถกักเก็บน้ําไวใชในการเกษตรไดอยางเพียงพอ-ขอเขตปลอดภัยใหวัว- ควายขามถนน-ใหตัวแทนประชาชนผูเลี้ยงวัว-ควายจํานวน 10 คน ไปยื่นขอเสนอแก นายกอบต. ประสานงานกับอบต. เพื่อดําเนินการตอไป- เพื่อใหมีการกําหนดเขตการขามถนนสําหรับวัว-ควายในเขต หมู3 บานคําพระ- เพื่อลดอันตรายจากการเกิดอุบัติเหตุรถชน วัว-ควาย2. แผนงานโครงการตาง ๆ1. แผนงานแมบทการปองกันและแกไขโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง- โครงการ “อยูอยางไรปลอดภัย จากเบาหวานและความดันโลหิตสูง”- โครงการจัดตั้งชมรม “ออน-หวาน-มัน-เค็ม”- โครงการออกกําลังกายสบายชีวี เพื่อสุขภาพดีของทุกคน2. แผนงานแมบทการแกไขปญหาสุขาภิบาล ที่อยูอาศัย- โครงการ “บานเฮานาอยู หมูบานนามอง”3. แผนงานแมบทการแกปญหาพฤติกรรมการบริโภคที่ไมเหมาะสม- โครงการ “อาหารสะอาดดีมีประโยชน”4. แผนงานแมบทการแกปญหาดานสังคมและเศรษฐกิจ- โครงการขอเขตปลอดภัยใหวัวควายขามถนน- โครงการปรับปรุงฝายน้ําลน หวยปลาแดก


90แผนงานแมบทการปองกันและแกไขโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงสาระสําคัญโดยสรุป ดัชนีชี้วัดความสําเร็จ แหลงที่มาของขอมูลGOALไมมีผูที่เปนโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหมPURPOSE1. ผูที่อยูในกลุมเสี่ยงมีความรูในเรื่องเบาหวานและความดันโลหิตสูง และสามารถปฏิบัติตนเพื่อปองกันไมใหเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได- ความชุกของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในกลุมเสี่ยงที่มีอายุ 35 ปขึ้นไปและมีBMI > 25 ขึ้นไปไมเกินรอยละ 5 ภายในป 2550- กลุมเสี่ยงมีความรูเรื่องเบาหวานและความดันโลหิตสูงและสามารถปฏิบัติตนเพื่อปองกันไมใหเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได อยางนอยรอยละ 80 ของประชากรที่อยูในกลุมเสี่ยงทั้งหมดภายในเดือน เมษายน 2550- รายงานการคัดกรองกลุมเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของสถานีอนามัยคําพระ- ทะเบียนผูปวยโรคเรื้อรัง ของโรงพยาบาลหัวตะพาน- การทํา BMI Surveyโดยเจาหนาที่อนามัย2.เพื่อใหเกิดการดูแลซึ่งกันและกันระหวางสมาชิกในกลุมและเพื่อสรางกิจกรรมใหเกิดขึ้นในกลุมผูสูงอายุ3. เพื่อสรางใหประชาชนเกิดความรูและความตระหนักในเรื่องการออกกําลังกาย มีการออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอ- ผูปวยดวยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรูเรื่องสุขภาพไมนอยกวารอยละ 80 ภายในเดือนมีนาคม 2549- ผูปวยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงสามารถดูแลตนเองและผูอื่นไดอยางนอยรอยละ 80 ภายในเดือน มีนาคม- รอยละ 70 ของประชาชนมีการออกกําลังกายอยางสม่ําเสมออยางนอยครั้งละ 30 นาที 3 ครั้งตอสัปดาห อยางตอเนื่อง- รายงานการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงจากสถานีอนามัย- รายงานการบันทึกกิจกรรม


91สาระสําคัญโดยสรุป ดัชนีชี้วัดความสําเร็จ แหลงที่มาของขอมูลOUTPUT .1.1 ผูที่อยูในกลุมเสี่ยงมี - รอยละ 80 ของผูที่อยูในกลุมเสี่ยง 1.รายงานการคัดกรองความรูในเรื่องเบาหวานและ สามารถ สามารถปฏิบัติตนเพื่อ โรคเบาหวานจากสถานีความดันโลหิตสูง และ ปองกันไมใหเกิดโรคเบาหวานและ อนามัยสามารถปฏิบัติตนเพื่อปองกันไมใหเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได ถูกตองความดันโลหิตสูงไดอยางถูกตองภายในเดือน เมษายน 25502.รายงานเวชระเบียนจากโรงพยาบาลหัวตะพาน2.1 เพื่อใหเกิดการดูแลซึ่งกันและกันระหวางสมาชิกในกลุมและเพื่อสรางกิจกรรมใหเกิดขึ้นในกลุมผูสูงอายุ3.1 ประชาชนมีความรูและตระหนักถึงการออกกําลังกายและมีรางกายที่แข็งแรง- มีการจัดตั้งชมรมของผูปวยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 1ชมรมภายในเดือน มีนาคม 2549- สมาชิกมีการทํากิจกรรมรวมกันสัปดาหละ 1 ครั้ง- รอยละ 70 ประชาชนเขารวมการออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอ และเลือกวิธีการออกกําลังกายใหไดเหมาะสมกับวัย- รอยละ 80 ของประชาชนที่มีอายุ35 ปขี้นไปมีอัตราปวยดวยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงลดลง ภายในป 2549- ประชาชนในหมู 3 ต.คําพระสามารถเปนผูนําในการนําออกกําลังกาย โดยการเตนแอโรบิกไดอยางนอย 2 คนภายในเดือนมีนาคม2549รายงานบันทึกกิจกรรมของชมรม-รายงานการบันทึกกิจกรรม


92สาระสําคัญโดยสรุป ดัชนีชี้วัดความสําเร็จ แหลงที่มาของขอมูลINPUT1.1.1 การใหความรูเกี่ยวกับรายงานบันทึกกิจกรรมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง2.1.1 การจัดตั้งชมรม “ออน-หวาน-มัน-เค็ม”3.1.1 จัดใหมีแกนนําการออกกําลังกายโดยการเตนแอโรบิก- กลุมเสี่ยงตอโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเขารวมกิจกรรมรอยละ 80 ของประชากรกลุมเสี่ยงทั้งหมด- มีผูเขารวมโครงการมากกวารอยละ80- มีผูที่สามารถเปนแกนนําในการออกกําลังกายไดรอยละ 10รายงานของชมรมรายงานการบันทึกกิจกรรม


93แผนงานแม “โครงการบานเฮานาอยู นามอง”สาระสําคัญโดยสรุป ดัชนีชี้วัดความสําเร็จ แหลงที่มาของขอมูลGOAL- บานเรือนทุกหลังคาเรือนมีความสะอาดและถูกสุขลักษณะPURPOSE- เพื่อใหประชาชนมีความรูในเรื่องการจัดการสุขาภิบาลที่อยูอาศัยและสามารถนําไปปฏิบัติได- บานเรือนปราศจากฝุนละอองเศษขยะมูลฝอยและถูกสุขลักษณะ รอยละ 80- แหลงเพาะพันธสัตวนําโรคลดลงรอยละ 80- ปราศจากสิ่งรบกวนจากภายนอก- บานเรือนของประชาชนมีความสะอาดและถูกสุขลักษณะผานเกณฑรอยละ 80- การทําแบบสอบถาม- จากการสํารวจพื้นที่- แบบประเมินผลOUTPUT 2.-ประชานมีความรูในเรื่องการจัดการที่พักอาศัย-ประชาชนเกิดความตื่นตัวและความตระหนั กในเรื่ องสุขาภิบาลที่พักอาศัย- บานผูเขาแขงขันไดคะแนนจากการประกวดมากกวา รอยละ 80 ทุกหลังคาเรือน- แบบประเมินผลINPUT1.ใหความรูในเรื่องการสุขาภิบาลที่พักอาศัยอยางถูกวิธี- แผนพับ- รณรงคใหความรู2.จัดประกวดบานนาอยู- ประชาชนมีความรูในเรื่องสุขาภิบาลที่พักอาศัย รอยละ 80-มีบานเรือนเขารวมการประกวดบานเฮานาอยู หมูบานนามองมากกวา รอยละ 10 ของหลังคาเรือนทั้งหมด- รายงานบันทึกกิจกรรม- จากรายงานบันทึกกิจกรรม


94สาระสําคัญโดยสรุป ดัชนีชี้วัดความสําเร็จ แหลงที่มาของขอมูล3.จัดรณรงคทําความสะอาดครั้งใหญของหมูบาน- มีประชาชนเขารวมกิจกรรมการรณรงคการทําความสะอาดหมูบานมากกวารอยละ 70 ของหลังคาเรือน- จากเกณฑการประเมินผล


95แผนงานแมบท โครงการ ”อาหารสะอาดดี มีประโยชน”สาระสําคัญโดยสรุป ดัชนีชี้วัดความสําเร็จ แหลงที่มาของขอมูลGOAL- ลดพฤติกรรมเสี่ยงตอการเกิดโรคเกี่ยวกับการรับประทานอาหารไมเหมาะสม- รอยละ 80 ของประชาชนปราศจากโรคที่เกิดจากการรับประทานอาหารเชน โรคพยาธิ โรคอุจจาระรวง เปนตน- รายงานจากทะเบียนครอบครัวของ สถานีอนามัยPURPOSE- เพื่อสรางกระแสให - รอยละ 70 ของประชาชน มีความรู - แบบทดสอบความรูประชาชนเกิดความตระหนักในเรื่องอาหารสะอาดปลอดภัยในเรื่องอาหารปลอดภัยและโภชนาการและคุณคาทางโภชนาการ- เพื่อใหประชาชนมีความรูเรื่องอาหารปลอดภัย และคุณคาทางโภชนาการ และสามารถนําไปปฏิบัติไดถูกตองOUTPUT 3.- ประชาชนเกิดความตระหนักในเรื่องอาหารสะอาดปลอดภัยและคุณคาทางโภชนาการ- ประชาชนมีความรูเรื่องอาหารปลอดภัย และคุณคาทางโภชนาการ และสามารถนําไปปฏิบัติไดถูกวิธี- ประชาชนสามารถอธิบายถึงสุขอนามัยในการบริโภคได- ประชาชนรับประทานอาหารที่สะอาดปลอดภัยและถูกหลักโภชนาการ- จากผลคะแนนที่คณะกรรมการไดตัดสินและใบลงทะเบียนผูเขารวมงานINPUT1.จัดกระบวนการการใหความรูในเรื่องสุขอนามัยในการบริโภค อาหารสะอาดปลอดภัย ความรูดานโภชนาการ2 .จัดการแขงขัน- รอยละ 80 ของผูเขารวมแขงขันไดคะแนนไมต่ํากวา 80 คะแนน- มีผูเขารวมแขงขันและผูรวมงานไมต่ํากวา 100 คน- จากรายงานกิจกรรมใบลงทะเบียนผูเขารวมงาน


สาระสําคัญโดยสรุป ดัชนีชี้วัดความสําเร็จ แหลงที่มาของขอมูลการตําสมตําสุขภาพ ผูแขงขันคือประชาชน หมู 3 โดยแบงเปน 8 คุมๆละ1ทีม96


97โครงการ “อยูอยางไร ปลอดภัยจากเบาหวานและความดันโลหิตสูง”1. ชื่อโครงการ “อยูอยางไร ปลอดภัยจากเบาหวานและความดันโลหิตสูง”2. ผูรับผิดชอบโครงการ1.นักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล ทีม 22. คณะกรรมการหมูบาน หมู 3 บานคําพระ3. อสม.หมู 34. ผูใหญบานคําพระหมู 35. เจาหนาที่จากสถานีอนามัยคําพระ3.หลักการและเหตุผลในปจจุบันปญหาโรคเรื้อรังเปนปญหาที่สําคัญในบานคําพระ หมู 3 โดยเฉพาะโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในหมูบานคําพระหมู 3 เอง จากการสํารวจโดยใชแบบสอบถามพบวา มีผูปวยดวยโรคเบาหวานรอยละ 10.61 โรคความดันโลหิตสูงรอยละ 10.61 ซึ่งตามเกณฑของเมืองไทยแข็งแรงนั้น ตองไมเกินรอยละ4 และมีแนวโนมวาจะมีผูปวยเพิ่มขึ้นอีก และจากพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไมเหมาะสมเชน รับประทานอาหารมันรอยละ79.6 รับประทานอาหารหวานรอยละ 87.2 รับประทานอาหารหมักดองรอยละ 91.8 รับประทานอาหารทอดรอยละ 98 ดื่มสุรารอยละ 60.29 สูบบุหรี่รอยละ 40.44 จึงถือเปนปญหาที่สําคัญที่เกิดขึ้นภายในหมู 3 บานคําพระผูปวยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงนั้นไมไดทรมานจากตัวโรคเทานั้น มีหลายรายที่ตองเผชิญกับโรคแทรกซอนที่เกิดขึ้นพรอมกับโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เชนโรคไต บางรายสูญเสียอวัยวะ บางรายรายแรงถึงขั้นเสียชีวิต กอใหเกิดความสูญเสียทั้งทางดานเศรษฐกิจและสังคมที่ตองสูญเสียทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพไปการมีความรูในเรื่องโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเปนสิ่งสําคัญที่จะชวยใหการปฏิบัติตัวของทั้งผูที่เปนโรคและผูที่อยูในกลุมเสี่ยง หรือแมแตสมาชิกในครอบครัวของผูปวยหรือผูที่อยูในกลุมเสี่ยงเองเปนไปอยางถูกตอง ผูปวยสามารถใชชีวิตไดอยางปกติสุข ไมเกิดโรคแทรกซอน ผูที่อยูในกลุมเสี่ยงก็สามารถปองกันตนเองใหหางไกลจากโรคได รวมทั้งสมาชิกในครอบครัวของคนทั้งสองกลุมก็สามารถปฏิบัติตนตอบุคคลในครอบครัวที่เปนผูปวยหรืออยูในกลุมเสี่ยงไดอยางถูกตอง


984.วัตถุประสงค1. ผูปวยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรูในเรื่องโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงสามารถปฏิบัติตัวอยางถูกตองใหมีสุขภาพที่ดีไมเกิดโรคแทรกซอน2. ผูที่อยูในกลุมเสี่ยงมีความรูในเรื่องการปองกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตระหนักถึงอันตรายของโรค นําไปสูการปฏิบัติตนไดอยางถูกตองใหหางไกลโรคโดย2.1 ประชาชนกลุมเสียงมีความรูในการเลือกบริโภคอาหารที่ถูกตองเหมาะสม2.2 ประชาชนกลุมเสี่ยงมีความรูและเลือกออกกําลังกายไดเหมาะสมกับวัย5.กลุมเปาหมายผูปวยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ใน หมู 3 บานคําพระ และผูที่อยูในกลุมเสี่ยงคือผูมีอายุ35 ปขึ้นไปและมีคา BMI > 256.วิธีการดําเนินการ1. จัดเสวนาในกลุมเสี่ยงดวยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเรื่องอยูอยางไรปลอดภัยจากเบาหวานและความดันโลหิตสูง2. เชิญผูที่มีความรูในเรื่องเบาหวานและความดันโลหิตสูงมาเปนวิทยากรในการเสวนา และเชิญผูปวยดวยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่มีโรคแทรกซอนมาเปนวิทยากรรวม3. เชิญผูปวยที่เปนโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงและมีโรคแทรกซอนมาเปนวิทยากรรวม ในการจัดเสวนากลุมเสี่ยง4. เลนเกมสตอบปญหาเกี่ยวกับโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงขั้นตอนการดําเนินการ1. ประชาสัมพันธแจงขาวการจัดการเสวนา ผานทาง เสียงตามสาย ปายประชาสัมพันธ2. ประสานงานกับผูใหญบานเพื่อจัดสถานที่ในการทํากิจกรรม3. จัดทําแผนพับการใหความรูเรื่องเบาหวานและความดันโลหิตสูง พรอมทั้งการปฏิบัติตนที่ถูกตองสําหรับแจกใหกับผูที่เขารวมเสวนา4. จัดทําบอรดสําหรับใหความรูในเรื่องเบาหวานและความดันโลหิตสูงตั้งไวในสถานที่จัดกิจกรรมโดยประสานขอสื่อจากสถานีอนามัยคําพระหรือโรงพยาบาลหัวตะพาน5. ทดสอบความรูผูที่เขารวมกิจกรรมโดยทําแบบทดสอบความรูเรื่องโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงทั้งกอนและหลังการเสวนา7. ระยะเวลา วันที่ 21 กุมภาพันธ ถึง 7 มีนาคม 2549


998. ผลที่คาดวาจะไดรับ1. กลุมเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงมีความรูความเขาใจในเรื่องโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงและตระหนักถึงอันตรายของโรค2. กลุมเสี่ยงโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงสามารถดูแลสุขภาพตนเองใหไมปวนเปนโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได9. การประเมินผล1. ผูปวยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไดคะแนนจากแบบทดสอบไมนอยกวา รอยละ 802. ผูมีอายุ 35 ปขึ้นไปหรือกลุมเสี่ยงไดคะแนนจากแบบทดสอบไมนอยกวา รอยละ 8010. เครื่องมือที่ใชในการประเมิน1. แบบทดสอบเรื่องเบาหวานและความดันโลหิตสูง11. งบประมาณ ไดรับการสนับสนุนจากคณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดลคาอุปกรณสื่อในการประชาสัมพันธ 300 บาทของรางวัลสําหรับกิจกรรม500 บาทรวม800 บาท


100โครงการ “อยูอยางไร ปลอดภัยจากเบาหวานและความดันโลหิตสูง”เปาประสงคGOALจุดมุงหมายPURPOSEผลที่เกิดจากการทํากิจกรรมOUTPUTสาระสําคัญโดยสรุป ดัชนีวัดความสําเร็จ การตรวจสอบความสําเร็จไมมีผูที่เปนโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม1.ผูที่อยูในกลุมเสี่ยงมีความรูในเรื่องเบาหวานและความดันโลหิตสูงและสามารถปฏิบัติตนเพื่อป องกั นไม ให เกิ ดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได1. ผู ที่ อยู ในกลุ มเสี่ ยงสามารถ สามารถปฏิบัติตนเพื่อปองกันไมใหเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงไดอยางถูกตอง1. ความชุกของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในกลุมเสี่ยงที่มีอายุ 35 ปขึ้นไปและมีBMI > 25 ขึ้นไปไมเกินรอยละ5 ภายในป 25501.กลุมเสี่ยงมีความรูเรื่องเบาหวานและความดันโลหิตสูงและสามารถปฏิบัติตนเพื่อปองกันไมใหเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได อยางนอยรอยละ 80 ของประชากรที่อยูในกลุมเสี่ยงทั้งหมดภายในเดือน เมษายน 25501. รอยละ 80 ของผูที่อยูในกลุมเสี่ยงสามารถ สามารถปฏิบัติตนเพื่ อป องกั นไม ให เกิ ดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงไดอยางถูกตอง ภายในเดือน เมษายน 25501.รายงานการคัดกรองกลุมเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของสถานีอนามัยคําพระ2.ทะเบียนผูปวยโรคเรื้อรัง ของโรงพยาบาลหัวตะพานแบบทดสอบความรูเรื่องเบาหวานและความดันโลหิตสูง1.รายงานการคัดกรองโรคเบาหวานจากสถานีอนามัย2.รายงานเวชระเบียนจากโรงพยาบาลหัวตะพานเงื่อนไขบงชี้ความสําเร็จ1.สภาวะทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศอยูในระดับและแนวโนมเชนเดียวกับป 2547-25482.ผลการดําเนินงานของกระทรวงสาธารณสุขและสวนราชการที่เกี่ยวของอยูในระดับไมนอยกวา ป2548-บุคคลเปาหมายไดรับการตรวจเลือดไมต่ํากวารอยละ 90-ไมมีการเปลี่ยนแปลงนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข


101สาระสําคัญโดยสรุป ดัชนีวัดความสําเร็จ การตรวจสอบความสําเร็จเงื่อนไขบงชี้ความสําเร็จกิจกรรมและปจจัยนําเขาINPUT1. จัดเสวนาในกลุมเสี่ยงดวยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเรื่องอยูอยางไรปลอดภัยจากเบาหวานและความดันโลหิตสูง2. เชิญผูที่มีความรูในเรื่องเบาหวานและความดันโลหิตสูงมาเปนวิทยากรในการเสวนา3. เชิญผูปวยที่เปนโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงและมีโรคแทรกซอนมาเปนวิทยากรรวมในการจัดเสวนากลุมเสี่ยง4. เลนเกมสตอบปญหาเกี่ยวกับโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง1.กลุมเสี่ยงตอโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเขารวมกิ จกรรมร อยละ 80 ของประชากรกลุมเสี่ยงทั้งหมด-รายงานการบันทึกกิจกรรม


102แผนผังควบคุมกํากับงานโครงการ อยูอยางไรปลอดภัยจากเบาหวานและความดันโลหิตสูงภายใต แผนงานการปองกันและแกไขโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงบานคําพระ หมู 3 ต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญผูรับผิดชอบโครงการ นักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร ม.มหิดล และตัวแทนชาวบานหมูที่ 3 บานคําพระกิจกรรมขั้นเตรียมการ- ประชาสัมพันธแจงขาวการจัดการเสวนา ผานทางเสียงตามสาย ปายประชาสัมพันธ- ประสานงานกับผูใหญบานเพื่อจัดสถานที่ในการทํากิจกรรม- จัดทําบอรดสําหรับใหความรูในเรื่องเบาหวานและความดันโลหิตสูงตั้งไวในสถานที่จัดกิจกรรมโดยประสานขอสื่อจากสถานีอนามัยคําพระหรือโรงพยาบาลหัวตะพานกุมภาพันธมีนาคม21 22 23 24 25 26 27 28 1 2 3 4 5 6 7- จัดทําแผนพับการใหความรูเรื่องเบาหวานและความดันโลหิตสูง


103ขั้นดําเนินการกิจกรรม- จัดเสวนาในกลุมเสี่ยงดวยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเรื่องอยูอยางไรปลอดภัยจากเบาหวานและความดันโลหิตสูง- เชิญผูที่มีความรูในเรื่องเบาหวานและความดันโลหิตสูงมาเปนวิทยากรในการเสวนา และเชิญผูปวยดวยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่มีโรคแทรกซอนมาเปนวิทยากรรวม- เชิญผูปวยที่เปนโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงและมีโรคแทรกซอนมาเปนวิทยากรรวมในการจัดเสวนากลุมเสี่ยง- เลนเกมสตอบปญหาเกี่ยวกับโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง- ทดสอบความรูผูที่เขารวมกิจกรรมโดยทําแบบทดสอบความรูเรื่องโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงทั้งกอนและหลังการเสวนาขั้นประเมินผลกุมภาพันธมีนาคม21 22 23 24 25 26 27 28 1 2 3 4 5 6 7


104กิจกรรม- ประเมินกิจกรรมระหวางดําเนินการ- ประเมินผลภายหลังเสร็จสิ้นโครงการ- แจงผลการดําเนินโครงการแกชุมชนกุมภาพันธมีนาคม21 22 23 24 25 26 27 28 1 2 3 4 5 6 7


105โครงการจัดตั้งชมรม “ออน-หวาน-มัน-เค็ม”หมู 3 ตําบลคําพระ อําเภอหัวตะพาน จังหวัดอํานาจเจริญ1. ชื่อโครงการ โครงการกลุมออน-หวาน มัน เค็ม2. ผูรับผิดชอบโครงการ1. นักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล2. เจาหนาที่สถานีอนามัย ตําบลคําพระ3. อาสาสมัครสาธารณสุขหมูบาน4. คณะกรรมการหมูบาน3. หลักการและเหตุผลปญหาโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเปนปญหาสําคัญของประเทศซึ่งเปนโรคเรื้อรังที่รักษาไมหายขาด บางครั้งลุกลามเปนอันตรายรุนแรงถึงแกชีวิตได เพราะโรคเบาหวานมีความสัมพันธอยางมากกับการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด และยังพบวาเปนสาเหตุหลักของการตายจากโรคเบาหวาน จากการศึกษาพบปจจัยเสี่ยงระดับบุคคลของโรคเบาหวานชนิดไมพึ่งอินซูลิน คือ 1.ปจจัยเสี่ยงที่ปรับเปลี่ยนไมได ไดแกอายุ เผาพันธุ ประวัติครอบครัว ซึ่งญาติสายตรงของผูปวยเบาหวานมีโอกาสรอยละ 40 ตลอดชีวิตที่จะพัฒนาเปนเบาหวาน 2.ปจจัยที่เกี่ยวของกับวิถีชีวิตและมักมากับความทันสมัยไดแก ภาวะอวน การขาดกิจกรรมทางกาย ภาวะเครียด (สวนพฤติกรรมและสังคมศาสตร กระทรวงสาธารณสุข. 2546: 2) แตการใหการสนับสนุนการเปลี่ยนพฤติกรรมและวิถีชีวิตที่มุงลดน้ําหนักในคนอวนลงรอยละ 7 โดยการบริโภคอาหารไขมันต่ํา เพิ่มกิจกรรมทางกายอยางนอย 30 นาทีตอวันใหมากที่สุดตอสัปดาหโดยรวมเวลาที่มีกิจกรรมตอสัปดาหเทากับ150 นาที จะปองกันการเกิดภาวะเบาหวานประเภทที่ 2 ไดถึงรอยละ 30-50 (สวนพฤติกรรมและสังคมศาสตร กระทรวงสาธารณสุข. 2546: 4)จากขอมูลการสํารวจในหมูบานคําพระ ทั้งหมด136 หลังคาเรือน พบวามีผูปวยที่เปนโรคเบาหวานรอยละ 10.61 และความดันโลหิตสูงรอยละ 10.61 และจากการตรวจคัดกรองเบาหวาน ทั้งหมด 71 คนมีผูที่ตรวจพบภาวะน้ําตาลในปสสาวะสูงกวาปกติจํานวน 4 คน คิดเปนรอยละ 5.63 และจากการตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูง พบวามีภาวะความดันโลหิตสูง 12 รายจากทั้งหมด 71 คนคิดเปนรอยละ 16.9 ซึ่งผูปวยในหมูบานหลายคนที่ไมทราบวามีคนในหมูบานคนใดที่ปวยเปนโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ทําใหไมมีการดูแลใสใจในสุขภาพของตนเอง การดูแลปฎิบัติตัวที่ถูกตอง และผูปวยแตละคนไมมีการรวมกลุมกันเพื่อแลกเปลี่ยนความรูทําใหขาดการกระตุนเตือนในการปฏิบัติตัวอยางถูกตอง


106ดังนั้นหากมีการตั้งกลุมผูปวยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงขึ้นมา จะกอใหเกิดประโยชนหลายประการ นอกจากจะไดปฏิสัมพันธในกลุมแลว ยังมีสวนชวยในการดูแลการปฏิบัติตัวใหถูกวิธีซึ่งกันและกัน และสามารถปองกันโรคแทรกซอนที่เกิดจากโรคเบาหวานได4. วัตถุประสงค1.เพื่อใหผูปวยมีความรูในการปฏิบัติตนเพื่อปองกันโรคแทรกซอนจากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงไดอยางถูกตอง2. เพื่อใหเกิดการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารระหวางสมาชิกในกลุม3.เพื่อใหเกิดการดูแลซึ่งกันและกันระหวางสมาชิกในกลุม4.เพื่อสรางกิจกรรมใหเกิดขึ้นในกลุมผูสูงอายุ5. เปาหมาย สมาชิกในชมรมมีกิจกรรมสงเสริมสุขภาพเพื่อปองกันโรคแทรกซอนจากโรคเบาหวานและความ ดันโลหิตสูง6. กลุมเปาหมาย กลุมผูปวยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในหมู 3 บานคําพระ7. วิธีดําเนินการ1. ใหความรูเกี่ยวกับโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงแกผูปวยเบาหวานและความดันโลหิตสูงและสมาชิกภายในครอบครัว2. สรางพลังอํานาจในกลุมผูปวยฯเพื่อใหเกิดการรวมกลุมกันและจัดตั้งเปนชมรม3. หาตัวแทนกลุมของผูปวยที่เปนโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เพื่อใหมีแกนนําในการทํากิจกรรมกลุมและเปนผูประสานงานภายในกลุม4. ชักชวนใหบุคคลในครอบครัวของผูปวยเขามามีสวนรวมในกิจกรรมของกลุ มโดย4.1 รวมรับฟงความรูเรื่องอาหารสําหรับเบาหวานและความดันโลหิตสูง5. ใหสมาชิกในชมรมกําหนดกิจกรรมเพื่อสงเสริมสุขภาพรวมกันโดยจูงใจใหมีกิจกรรมเกี่ยวกับการออกกําลังกายและการบริโภคอาหารที่เหมาะสมกับโรค6. ติดตามการดําเนินกิจกรรมของชมรมหลังจากจัดตั้งแลว 1 สัปดาหขั้นตอนการดําเนินการ1.ประชาสัมพันธการจัดตั้งกลุมออน-หวาน มัน เค็ม ขึ้นในหมูบาน พรอมทั้งประโยชนของการมีกลุมออน-หวาน มัน เค็ม เกิดขึ้น ผานทาง เสียงตามสายในชุมชน หมู 3 บานคําพระ2.แจกแผนพับประชาสัมพันธโครงการใหกับผูปวยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง3.จัดการประชุมกลุมผูที่เปนโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โดยมีกิจกรรมดังนี้คือ


107- มีการใหผูเขารวมกิจกรรมลงทะเบียนแลวติดสัญลักษณใหกับผูที่มารวมงาน- การบรรยายใหเห็นประโยชนที่ไดรับของการรวมกลุมผูปวยเปนโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง-ใหผูที่เขารวมกิจกรรมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดตั้งกลุมถึงกิจกรรมที่ตองการทําและคัดเลือกกิจกรรมที่สมาชิกเห็นชอบ- หาตัวแทนกลุมของผูปวยที่เปนโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เพื่อใหมีแกนนําในการทํากิจกรรมกลุมและเปนผูประสานงานภายในกลุม- ชักชวนใหบุคคลในครอบครัวของผูปวยเขามามีสวนรวมในกิจกรรมของกลุมโดย- รวมรับฟงความรูเรื่องอาหารสําหรับเบาหวานและความดันโลหิตสูง- มีการทดสอบความรูโดยใชแบบทดสอบกอนการใหความรูและหลังจากใหความรูแลว8. ระยะเวลา วันที่ 21 กุมภาพันธ – 7 มีนาคม 25499. สถานที่ศาลากลางบาน หมู 3 บานคําพระ10. ผลที่คาดวาจะไดรับ1. เกิดการรวมกลุมของผูปวยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง2. ประชาชนไดแลกเปลี่ยนความรูซึ่งกันและกัน และปฏิบัติตัวอยางถูกวิธี11. การประเมินผลจากจํานวนสมาชิกที่เขารวมกลุมออน-หวาน มัน เค็ม12. งบประมาณไดรับการสนับสนุนจากคณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดลคาใชจายในการทํากิจกรรม-อุปกรณในการทํากิจกรรม1,000 บาทรวม1,000 บาท


108ผลการดําเนินงานโครงการ “ชมรมออน-หวาน-มัน-เค็ม”โครงการ“ชมรม-ออน-หวาน-มัน-เค็ม” จัดทําขึ้นเพื่อใหผูที่เปนโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีการรวมตัวกัน เพื่อใหเกิดการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร ระหวางสมาชิกในกลุม เพื่อใหเกิดการดูแลซึ่งกันและกันระหวางสมาชิกในกลุม เพื่อใหสมาชิกในกลุมทํากิจกรรมรวมกัน มีการพบปะสังสรรคกันอยางสม่ําเสมอและ ผูปวยสามารถที่จะมีชีวิตไดอยางปรกติสุขไมมีโรคแทรกซอนการประเมินผลกิจกรรม1. จากจํานวนผูเขารวมการเสวนา จะตองมีผูเขารวมเสวนาอยางนอยรอยละ 80 ของจํานวนผูปวยเบาหวาน-ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนผูเรื้อรังที่สถานีอนามัยคําพระ2. จากผลคะแนน Pre-test และ Post-test จะตองไดคะแนน Post-test ไมนอยกวารอยละ 80 จากคะแนนเต็มของแบบทดสอบ3. สมาชิกมีการทํากิจกรรมรวมกันสัปดาหละ 1 ครั้งจํานวนผูเขารวมการเสวนาจัดการเสวนาในวันที่ 27 กุมภาพันธ 2549มีผูมาเสวนา ทั้งหมด 22 คน จากจํานวนผูปวยทั้งหมดของหมู 3 บานคําพระ 27คน (จากการขึ้นทะเบียนผูปวยโรคเรื้อรังที่สถานีอนามัยคําพระ ) คิดเปนรอยละ 81.48และมีการจัดตั้งชมรม-ออน-หวาน-มัน-เค็ม โดยมีผูลงชื่อเปนสมาชิกทั้งหมด 22 คน ไดแก1. นางเตือนใจ สุพล (ประธานกลุม)2. นางสุนทอง รักธรรม (รองประธานกลุม)3. นางสวน จารุจิตร (รองประธานกลุม)4. นางทองอินทร รักธรรม5. นางสมบูรณ ขันธุปทม6. นางบับ จารุจิตร7. นางเคน ภูมิศรี8. นางบุญชู ศรีโท9. นางสําราญ สัมพันธ10. นางบัวศรี ธยาธรรม11. นางคํานาง จารุจิตร


10912. นางสมบูรณ รัตนสุวรรณ13. นางวงวารี ออทอง14.นางคุย พระสุนิน15. นางพรม กุลเกษ16. นางสมศรี รักธรรม17.นางทองสา พระสุนิน18. นางสมถวิล สุพล19. นางทา พระสุนิน20. นางตอย ทางไธสงค21. นางเหรียญ วามะลุน22.นางสา ไชยมาตรและในการเสวนามีการใหทําแบบทดสอบกอนและหลังการเสวนา ผลออกมาเปนดังนี้คือการทําแบบทดสอบ กอนการเสวนาและหลังการเสวนา1. ผูที่เปนความดันโลหิตสูงสามารถรับประทานผักดองไดปริมาณมากๆเพราะมีรสเปรี้ยวกอน ตอบถูก รอยละ 76.92 ตอบผิด รอยละ 23.08หลัง ตอบถูก รอยละ 86.67 ตอบผิด รอยละ 13.332. ผูที่เปนความดันโลหิตสูงสามารถดื่มเบียรแทนเหลาไดกอน ตอบถูก รอยละ 15.38 ตอบผิด รอยละ 84.62หลัง ตอบถูก รอยละ 86.67 ตอบผิด รอยละ 13.333. ผูที่เปนความดันโลหิตสูงไมควรกินผงชูรส และอาหารเค็มจัดกอน ตอบถูก รอยละ 46.15 ตอบผิด รอยละ 53.85หลัง ตอบถูก รอยละ 100 ตอบผิด รอยละ 04. ผูที่มีความดันโลหิตสูงควรนอนนอยๆเพื่อความดันจะไดต่ําลงกอน ตอบถูก รอยละ 30.77 ตอบผิด รอยละ 69.23หลัง ตอบถูก รอยละ 80 ตอบผิด รอยละ 20


1105. ผูที่เปนความดันโลหิตสูงไมควรเครียดบอยๆเพราะจะทําใหความดันโลหิตสูงขึ้นกอน ตอบถูก รอยละ 76.92 ตอบผิด รอยละ 23.08หลัง ตอบถูก รอยละ 100 ตอบผิด รอยละ 06. ผูที่เปนความดันโลหิตสูงและเบาหวานควรกินของนึ่งตม มากกวาของทอดกอน ตอบถูก รอยละ 100 ตอบผิด รอยละ 0หลัง ตอบถูก รอยละ 100 ตอบผิด รอยละ 07. ผูที่เปนความดันโลหิตสูง เมื่อความดันปรกติก็ไมจําเปนตองพบแพทยอีกกอน ตอบถูก รอยละ 30.77 ตอบผิด รอยละ 69.23หลัง ตอบถูก รอยละ 66.67 ตอบผิด รอยละ 33.338. ผูที่เปนความดันโลหิตสูงไมควรรับประทานยาคุมกําเนิดกอน ตอบถูก รอยละ 69.23 ตอบผิด รอยละ 30.77หลัง ตอบถูก รอยละ 100 ตอบผิด รอยละ 09. ผูที่เปนเบาหวานสามารถกินสับปะรดที่มีรสเปรี้ยวไดในปริมาณมากๆกอน ตอบถูก รอยละ 69.23 ตอบผิด รอยละ 30.77หลัง ตอบถูก รอยละ 86.67 ตอบผิด รอยละ 23.3310. ผูที่เปนเบาหวานไมควรออกกําลังกายเพราะจะทําใหเหนื่อยและออนเพลียกอน ตอบถูก รอยละ 53.85 ตอบผิด รอยละ 46.15หลัง ตอบถูก รอยละ 66.67 ตอบผิด รอยละ 33.3311. ผลไมที่เหมาะสําหรับผูปวยเบาหวานคือ ชมพูกอน ตอบถูก รอยละ 76.92 ตอบผิด รอยละ 23.08หลัง ตอบถูก รอยละ 80 ตอบผิด รอยละ 2012. การรับประทานอาหารจําพวกถั่ว เชน ถั่วแดง ถั่วดําและธัญพืช จําพวกขาวกลอง ลูกเดือย จะเกิดผลดีตอผูปวยโรคเบาหวาน


111กอน ตอบถูก รอยละ 83.33 ตอบผิด รอยละ 16.67หลัง ตอบถูก รอยละ 93.33 ตอบผิด รอยละ 6.6713. การออกกําลังกายเปนผลดีตอผูที่เปนโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงกอน ตอบถูก รอยละ 92.31 ตอบผิด รอยละ 7.69หลัง ตอบถูก รอยละ 93.33 ตอบผิด รอยละ 6.6714. ผูที่เปนเบาหวานควรตรวจสุขภาพฟนอยางนอยปละ 2ครั้งกอน ตอบถูก รอยละ 92.31 ตอบผิด รอยละ 7.69หลัง ตอบถูก รอยละ 93.33 ตอบผิด รอยละ 6.6715. หากผูปวยเบาหวานเกิดแผล ควรรีบทําความสะอาดและฆาเชื้อที่แผลกอน ตอบถูก รอยละ 92.31 ตอบผิด รอยละ 7.69หลัง ตอบถูก รอยละ 100 ตอบผิด รอยละ 016. ผูที่เปนโรคเบาหวานควรพกลูกอมติดตัวไวเสมอเพื่อเวลาที่น้ําตาลลดมากๆแลว ลูกอมจะสามารถชวยไดกอน ตอบถูก รอยละ 100 ตอบผิด รอยละ 0หลัง ตอบถูก รอยละ 100 ตอบผิด รอยละ 017. ผูที่เปนเบาหวานกินอาหารเค็มจัดไดเพราะไมไดเปนน้ําตาลกอน ตอบถูก รอยละ 69.23 ตอบผิด รอยละ 30.77หลัง ตอบถูก รอยละ 86.67 ตอบผิด รอยละ 13.3318. ผูที่เปนโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงควรพบจักษุแพทยเพื่อตรวจหาความผิดปกติของตากอน ตอบถูก รอยละ 92.31 ตอบผิด รอยละ 7.69หลัง ตอบถูก รอยละ 100 ตอบผิด รอยละ 019. ผูที่เปนความดันโลหิตสูงควรทําจิตใจใหสบายและแจมใสกอน ตอบถูก รอยละ 92.31 ตอบผิด รอยละ 7.69หลัง ตอบถูก รอยละ 93.33 ตอบผิด รอยละ 6.67


11220. ผูที่เปนเบาหวานและความดันโลหิตสูงสามารถมีสุขภาพที่แข็งแรงไดถาปฏิบัติตัวไดอยางถูกตองกอน ตอบถูก รอยละ 92.31 ตอบผิด รอยละ 7.69หลัง ตอบถูก รอยละ 93.33 ตอบผิด รอยละ 6.67คะแนนเฉลี่ยกอน การเสวนา 14.46 คิดเปนรอยละ 72.3หลังการเสวนา 16.8 คิดเปนรอยละ 84ในการประชุมระหวางสมาชิกชมรมออน-หวาน-มันเค็ม มีการตกลงกันวาจะทํากิจกรรมพบปะกันทุกวันเสารในแตละสัปดาห


113โครงการ “กลุม ออน-หวาน มัน เค็ม”เปาประสงคGOALวัตถุประสงคPURPOSEสาระสําคัญโดยสรุปผูปวยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงสามารถดูแลตนเองและ1. เพื่อใหเกิดการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารระหวางสมาชิกในกลุม2.เพื่อใหเกิดการดูแลซึ่งกันและกันระหวางสมาชิกในกลุม3.เพื่อสรางกิจกรรมใหเกิดขึ้นในกลุมผูสูงอายุดัชนีวัดความสําเร็จผูปวยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสามารถดูแลตนเองและผูปวยดวยกันไดอยางนอยรอยละ 80ของจํานวนผูปวยทั้งหมดภายในป25501.ผูปวยดวยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรูเรื่องสุขภาพไมนอยกวารอยละ80ภายในเดือน มีนาคม25492. ผูปวยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงสามารถดูแลคนเองและผูอื่นไดอยางนอยรอยละ80 ภายในเดือนมีนาคม 2549การตรวจสอบความสําเร็จ- จากการสังเกต- รายงานบันทึกกิจกรรมของชมรมจากแบบทดสอบความรูเกี่ยวกับเบาหวานและความดันโลหิตสูงเงื่อนไขบงชี้ความสําเร็จผลที่เกิดจากการทํากิจกรรมOUTPUT1. เกิดการจัดตั้งชมรม กลุม “ ออนหวาน มัน เค็ม ” ของผูปวยเบาหวานและความดันโลหิตสูง2. สมาชิกในชมรมมีกิจกรรมสงเสริมสุขภาพรวมกัน1. มีการจัดตั้งชมรมของผูปวยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 1 ชมรมภายในเดือน มีนาคม 25492. สมาชิกมีการทํากิจกรรมรวมกันสัปดาหละ 1 ครั้ง- รายงานบันทึกกิจกรรมของชมรม1. ใหความรูเกี่ยวกับ 1. จัดตั้งชมรมของ - รายงานบันทึก


114ปจจัยนําเขาINPUTสาระสําคัญโดยสรุปโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงแกผูปวยเบาหวานและความดันโลหิตสูงและสมาชิกภายในครอบครัว2. สรางพลังอํานาจในกลุมผูปวยฯเพื่อใหเกิดการรวมกลุมกันและจัดตั้งเปนชมรม3. หาตัวแทนกลุมของผูปวยที่เปนโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเพื่อใหมีแกนนําในการทํากิจกรรมกลุมและเปนผูประสานงานภายในกลุม4. ใหสมาชิกในชมรมกําหนดกิจกรรมรวมกัน5. ชักชวนใหบุคคลในครอบครัวของผูปวยเขามามีสวนรวมในกิจกรรมของกลุมโดย5.1 รวมรับฟงความรูเรื่องอาหารสําหรับเบาหวานและความดันโลหิตสูงดัชนีวัดความสําเร็จผูปวยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงอยางนอย 1 ชมรม2. มีผูปวยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเขารวมเปนสมาชิกชมรมมากกวารอยละ80การตรวจสอบความสําเร็จกิจกรรมของชมรมเงื่อนไขบงชี้ความสําเร็จ


115แผนผังควบคุมกํากับงานโครงการ “ออน-หวาน-มัน-เค็ม”ภายใต แผนงานการปองกันและแกไขโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงบานคําพระ หมู 3 ต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญผูรับผิดชอบโครงการ นักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร ม.มหิดล และตัวแทนชาวบานหมูที่ 3 บานคําพระกิจกรรมขั้นเตรียมการ- ประชาสัมพันธการจัดตั้งกลุมออน-หวาน มัน เค็ม ขึ้นในหมูบาน พรอมทั้งประโยชนของการมีกลุมออน-หวาน มัน เค็ม เกิดขึ้น ผานทาง เสียงตามสายในชุมชนหมู 3 บานคําพระ- เตรียมสถานที่และอุปกรณขั้นดําเนินการ- จัดการประชุมกลุมผูที่เปนโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง- แจกแผนพับประชาสัมพันธโครงการใหกับผูปวยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง- ใหความรูเกี่ยวกับโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงกุมภาพันธมีนาคม21 22 23 24 25 26 27 28 1 2 3 4 5 6 7


116กิจกรรมแกผูปวยเบาหวานและความดันโลหิตสูงและสมาชิกภายในครอบครัว- สรางพลังอํานาจในกลุมผูปวยเพื่อใหเกิดการรวมกลุมกันและจัดตั้งเปนชมรม- หาตัวแทนกลุมของผูปวยที่เปนโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เพื่อใหมีแกนนําในการทํากิจกรรมกลุมและเปนผูประสานงานภายในกลุม- ชักชวนใหบุคคลในครอบครัวของผูปวยเขามามีสวนรวมในกิจกรรมของกลุมขั้นประเมินผล- ประเมินกิจกรรมระหวางดําเนินการ- ประเมินผลภายหลังเสร็จสิ้นโครงการ- แจงผลการดําเนินโครงการแกชุมชนกุมภาพันธมีนาคม21 22 23 24 25 26 27 28 1 2 3 4 5 6 7หมายเหตุ ทําการสงตอสถานีอนามัยคําพระ ประเมินทุก 6 เดือน


117โครงการออกกําลังกายสบายชีวี เพื่อสุขภาพที่ดีของทุกคน1. ชื่อโครงการ โครงการออกกําลังกายสบายชีวี เพื่อสุขภาพที่ดีของทุกคน2. ผูรับผิดชอบโครงการ1. นักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล2. องคการบริหารสวนตําบล3. นางหนูปน จารุจิตร4. นางนาง ลาภาอุตม3. หลักการและเหตุผลตามที่คณะรัฐมนตรีไดอนุมัติหลักการใหกระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงที่เกี่ยวของดําเนินการงานยุทธศาสตรแหงชาติ “รวมพลังสรางสุขภาพ เพื่อคนไทยแข็งแรง เมืองไทยแข็งแรง” โดยมีวิสัยทัศนที่จะทําให“คนไทยอยูเย็นเปนสุขทั้งกาย ใจ สังคม และจิตวิญญาณ มีสัมมาอาชีพ มีรายได ทํางานดวยความสุขสามารถดํารงชีพบนพื้นฐานของความพอดี พอประมาณ อยางมีเหตุผล ภายใตปรัชญาของเศรฐกิจพอเพียงตามพระราชดํารัชของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ มีครอบครัวอบอุน มั่นคง อยูในสภาพแวดลอมที่ดีตอสุขภาพ ชีวิตและทรัพยสินเปนสังคมแหงการเรียนรูและชวยเหลือเกื้อกูลกัน มีสุขภาพแข็งแรงและอายุยืนยาว” หนึ่งในเปาหมายที่สําคัญของมิติทางกายคือ ใหคนไทยออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอในทุกหมูบานตําบล ชุมชน หนวยงานและสถานประกอบการ ทั้งนี้กําหนดเปาหมายใหประชาชนอายุ6 ปขึ้นไปออกกําลังกายอยางนอยสัปดาหละ 3 วันอยางนอย 30 นาทีรอยละ 60จากการศึกษาวิจัยพบวา การลดความเสี่ยงหรือการลดโอกาสของการเปนโรคที่เปนปญหาทางสาธารณสุขโดยเฉพาะโรคไรเชื้อเรื้อรังนั้น มิใชเฉพาะการออกกําลังกายที่เปนรูปแบบในเวลาวางเทานั้นจึงจะลดความเสี่ยงได การทํากิจกรรมอยางอื่นในชีวิตประจําวันที่มีการออกแรงหรือออกกําลังอยางนอยดวยความหนักปานกลาง และใชพลังงานออกไปพอสมควร(อยางนอย 150 กิโลแคลอรี่ตอวัน) ก็ชวยลดความเสี่ยงได ดังนั้นในดานการสาธารณสุข จึงใหความสําคัญกับการเคลื่อนไหวรางกายทุกรูปแบบจากการสํารวจหมูบานคําพระ หมู 3 โดยใชแบบสอบถาม พบวา ประชาชนไมมีการออกกําลังกายถึงรอยละ 63.3 และจากการตรวจประเมินคาดัชนีมวลกายในผูที่อายุ 35 ปขึ้นไป พบวา มีภาวะโภชนาการเกินถึงรอยละ 50 และจากการรวบรวมขอมูล พบวา ในอดีตที่ผานมามีการจัดตั้งชมรมแอโรบิกเกิดขึ้น และเปนที่นิยมอยางมากของผูหญิงวัยกลางคน แตไดลมเลิกไปเนื่องจากไมมีผูนําเตนแอโรบิกซึ่งเปนบุคคลภายนอกและไดคาตอบแทนการนําเตนแอโรบิกจากการสนับสนุนขององคการบริหารสวนตําบล ตําบลคําพระ แตขาดความตอเนื่องจึงไดลมเลิกไป ดังนั้นจึงมีการจัดตั้งโครงการ “ออกกําลังกายสบายชีวี เพื่อสุขภาพที่ดีของทุกคน” ใหเกิดขึ้นเพื่อใหเกิดการสรางพลังอํานาจของประชาชนที่จะเปนผูนําเตนแอโรบิกไดดวยตัวเองตอไป


1184. เปาหมายประชาชนที่มีอายุ 6 ปขี้นไป รอยละ 70 มีการออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอครั้งละ 30 นาทีอยางนอย 3 ครั้งตอสัปดาห5. วัตถุประสงค1. เพื่อสรางกระแสใหประชาชนเกิดความตระหนักในเรื่องการออกกําลังกาย2. เพื่อใหประชาชนไดออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอ3. เพื่อใหประชาชนมีสุขภาพรางกายแข็งแรง6. กลุมเปาหมายประชาชนทั่วไป7. วิธีดําเนินการ1. ประชาสัมพันธโครงการออกกําลังการสบายชีวี เพื่อสุขภาพที่ดีของทุกคน โดยผาน เสียงตามสาย2. กําหนดใหมีการเตนแอโรบิกในวันจันทร พุธ และศุกร ตั้งแตเวลา 17.00-18.00 น.ที่ลานเอนกประสงคหนา อบต.คําพระ3. นักศึกษานําเตนแอโรบิกในสัปดาหแรก เพื่อคนหาตัวแทนชาวบานเพื่อมาเปนตัวแทนนําเตนแอโรบิก4. คัดเลือกประชาชนผูที่มีความสามารถมาเปนตัวแทนนําเตนแอโรบิก5. จัดเตนแอโรบิกโดยการนําเตนจากผูนําเตนในหมูบานคําพระ8. ระยะเวลาดําเนินการวันที่ 21 กุมภาพันธ – 30 กันยายน 2549ทุกวันจันทร-พุธ - ศุกร เวลา 18.00 -19.00 น. โดยเริ่มตั้งแตวันพุธที่ 22 กุมภาพันธ 25499. สถานที่ดําเนินการลานหนาองคการบริหารสวนตําบล ต. คําพระ อ. หัวตะพาน จ. อํานาจเจริญ10. งบประมาณ- คาวัสดุอุปกรณ 1000 บาทรวม1,000 บาท11. ผลที่ขึ้นคาดวาจะไดรับ1. ประชาชนเกิดความตระหนักในเรื่องการออกกําลังกายมากยิ่งขึ้น2. ประชาชนที่มีอายุ 6 ปขี้นไปออกกําลังกายอยางสม่ําเสมออยางนอยครั้งละ 30 นาที 3 ครั้งตอสัปดาห3. ประชาชนมีสุขภาพรางกายแข็งแรง12. การประเมินผลประเมินจากการมีสวนรวมในการออกกําลังกายโดยดูจากจํานวนผูที่เขารวมกิจกรรมการออกกําลังกาย


119โครงการ “ออกกําลังกายสบายชีวี เพื่อสุขภาพดีของทุกคน”GoalเปาประสงคPurposeวัตถุประสงคสาระสําคัญ ดัชนีวัดความสําเร็จ แหลงขอมูล เงื่อนไขประชาชนมีสุขภาพแข็งแรงลดอัตราเสี่ยงตอการเกิดโรคและปองกันภาวะแทรกซอนจากการเกิดโรคได1. เพื่อสรางกระแสใหประชาชนเกิดความตระหนักในเรื่องการออกกําลังกาย2. เพื่อใหประชาชนไดรับรูประโยชนของการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ3. เพื่อใหประชาชนไดออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอประชาชนมีอัตราปวยลดลง รอยละ 80 ภายในป 2549รอยละ 70 ประชาชนมีการออกกําลังกายอยางสม่ําเสมออยางนอยครั้งละ 30 นาที 3 ครั้งตอสัปดาห อยางตอเนื่องรายงานจากทะเบียนครอบครัวของสถานีอนามัย-จากการสังเกตจํานวนประชาชนผูเขารวมโครงการ- รายงานการบันทึกกิจกรรมการออกกําลังกาย- ความรวมมือของประชาชนในหมูบานและองคกรที่เกี่ยวของ- มีความตอเนื่องในการดําเนินการ-ความตระหนักในการออกกําลังกายของประชาชน-ความรวมมือกันระหวางประชาชนและองคกรที่เกี่ยวของOutputผลจากการดําเนินกิจกรรม1.มีประชาชนเขารวมกิจกรรมการออกกําลังกาย2. ประชาชนมีสุขภาพที่แข็งแรง3.ประชาชนสามารถเปนตัวแทนในการออกกําลังกาย และมีกิจกรรมที่ตอเนื่องและยั่งยืน1. รอยละ 70 ประชาชนเขารวมการออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอ และเลือกวิธีการออกกําลังกายใหไดเหมาะสมกับวัย2. ร อยละ 80 ของประชาชนที่มีอายุ 35ปขี ้นไปมีอัตราปวยดวยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงลดลง ภายในป25493. ประชาชนในหมู 3ต.คําพระ สามารถเปนผูนําในการนําออกกําลังกาย โดยการเตนแอโรบิกไดอยางนอย 2 คนภายในเดือนมีนาคม 2549- รายงานการบันทึกกิจกรรม- ความรวมมือของประชาชน


120Inputกิจกรรมการดําเนินงานสาระสําคัญ ดัชนีวัดความสําเร็จ แหลงขอมูล เงื่อนไข1. การประชาสัมพันธการออกกําลังกาย- เสียงตามสาย- ปายประกาศ2. เปนผูนําเตนแอโรบิกใหกับประชาชน ในสัปดาหแรก3. หาตัวแทนของประชาชนมาเปนคนนําเตนแอโรบิกในครั้งตอไป- มีการประชาสัมพันธผานเสียงตามสายอยางนอย 3 ครั้ง/สัปดาห- มีปายประกาศเชิญชวนอยางนอย 4 ปายติดในหมูบาน- มีผูนําเตนแอโรบิกทุกวัน จันทร พุธ และศุกร- มีผูเตนแอโรบิคคิดเปนรอยละ 5 ของจํานวนประชากรทั้งหมด-รายงานการบันทึกกิจกรรม


121แผนผังควบคุมกํากับงานโครงการ “ออกกําลังกายสบายชีวี เพื่อสุขภาพดีของทุกคน”ภายใต แแผนงานการปองกันและแกไขโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงบานคําพระ หมู 3 ต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญผูรับผิดชอบโครงการ นักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร ม.มหิดล และตัวแทนชาวบานหมูที่ 3 บานคําพระกิจกรรมขั้นเตรียมการประชาสัมพันธโครงการออกกําลังการสบายชีวีเพื่อสุขภาพที่ดีของทุกคน โดยผาน เสียงตามสายในหมูบานคําพระ โดยกําหนดใหมีการเตนแอโรบิกในวันจันทร พุธ และศุกร ตั้งแตเวลา 18.00-19.00 น.ที่ลานเอนกประสงคหนา อบต.คําพระขั้นการดําเนินงานนักศึกษานําเตนแอโรบิกในสัปดาหแรก เพื่อคนหาตัวแทนชาวบานเพื่อมาเปนตัวแทนนําเตนแอโรบิกคัดเลือกประชาชนผูที่มีความสามารถมาเปนตัวแทนนําเตนแอโรบิกกุมภาพันธมีนาคม21 22 23 24 25 26 27 28 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10


กิจกรรมจัดเตนแอโรบิกโดยการนําเตนจากผูนําเตนในหมู 3บานคําพระขั้นประเมินผล- ประเมินกิจกรรมระหวางดําเนินการ- ประเมินผลภายหลังเสร็จสิ้นโครงการ- แจงผลการดําเนินโครงการแกชุมชนหมายเหตุ : การเตนแอโรบิกมีเฉพาะวันจันทร พุธและศุกรเทานั้น: สงโครงการนี้ตอกับสถานีอนามัย เพื่อทําการประเมินโครงการทุก 6 เดือนกุมภาพันธมีนาคม21 22 23 24 25 26 27 28 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10122


123โครงการ อาหารสะอาดดี มีประโยชนหมู 3 ตําบลคําพระ อําเภอหัวตะพาน จังหวัดอํานาจเจริญ1. ชื่อโครงการ โครงการ อาหารสะอาดดี มีประโยชน2. ผูรับผิดชอบโครงการ1. นักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล ทีม 22. สถานีอนามัยคําพระ ต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญ3. องคการบริหารสวนตําบล ตําบลคําพระ4. อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน หมู 3 บานคําพระ5. คณะกรรมการหมูบาน หมู 3 บานคําพระ3. หลักการและเหตุผลอาหารมีความสําคัญตอระบบการทํางานของรางกายมนุษยทุกเพศทุกวัย ซึ่งหากไดรับอาหารที่สะอาดถูกสุขลักษณะและมีคุณคาทางโภชนาการครบถวนและเหมาะสมกับวัยก็จะทําใหสุขภาพรางกายของมนุษยนั้นสมบูรณแข็งแรงและมีภูมิตานทานโรค แตทวา ถารางกายไดรับอาหารที่ไมสะอาดและไมไดรับสารอาหารครบถวนแลว ก็จะทําใหรางกายออนแอ และเอื้อตอการเจ็บปวยไดงายเพราะฉะนั้น จะเห็นไดวาอาหารนั้นสามารถใหทั้งคุณและโทษตอรางกายของมนุษย ขึ้นอยูกับการเลือกอาหารมาบริโภคอยางเหมาะสม ถูกสุขลักษณะ และพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกตองจากการศึกษาชุมชนหมู 3 บานคําพระโดยการใชแบบสอบถามและการตรวจวินิจฉัยเบื้องตนพบวามีพฤติกรรมการบริโภคอาหารสุกๆดิบๆ ถึง 98 ครัวเรือน จาก 136 ครัวเรือน คิดเปนรอยละ 72.1 และจากการสุมการตรวจอุจจาระ จํานวน 152 ตัวอยาง พบไขพยาธิ 16 ตัวอยาง คิดเปนรอยละ 10.16 เด็กอายุ 0-5 ป มีภาวะทุพโภชนาการ จํานวน 13 คน จาก 38 คน คิดเปนรอยละ 34.21 และเด็กนักเรียนชั้นอนุบาล 1 ถึงประถมศึกษาปที่ 6 ณ โรงเรียนชุมชนบานคําพระมีภาวะทุพโภชนาการ จํานวน 39 คนจาก 228 คนคิดเปนรอยละ 17.11 ซึ่งปญหาเหลานี้สะทอนถึงการเลือกรับประทานอาหารหรือการมีพฤติกรรมการบริโภคที่ไมเหมาะสม ดังนั้น จึงจัดตั้งโครงการอาหารสะอาดดี มีประโยชน ขึ้น4. วัตถุประสงค1. เพื่อสรางกระแสใหประชาชนเกิดความตระหนักในเรื่องอาหารสะอาดปลอดภัยและคุณคาทางโภชนาการ2. เพื่อใหประชาชนมีความรูเรื่องอาหารปลอดภัย และคุณคาทางโภชนาการ และสามารถนําไปปฏิบัติไดถูกตอง5. กลุมเปาหมาย ประชาชนทั่วไป หมู 3 บานคําพระ และหมูบานใกลเคียง


1246. วิธีดําเนินการ1. ประชุมผูนําชุมชนและอสม. หมู 3 บานคําพระ เพื่อกําหนดกิจกรรมรวมกัน2.จัดกิจกรรมประกวดการตําสมตําเพื่อสุขภาพขึ้น โดยรับสมัครผูเขารวมแขงขันเปนทีม ทีมละ 3คน รวมไมเกิน 12 ทีม3. สรรหาคณะกรรมการดําเนินงาน คณะกรรมการในการตัดสินการประกวด และชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับเกณฑการตัดสิน4. ประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของ เชน สถานีอนามัย องคการบริหารสวนตําบล ต.คําพระเพื่อสนับสนุนสถานที่จัดการประกวดและขอสนับสนุนงบประมาณ5. ประชาสัมพันธโดย5.1 ใชเสียงตามสายในการประชาสัมพันธใหชาวบานในหมูบานไดทราบกิจกรรมที่จะจัดขึ้น5.2 ใชแผนโปสเตอรติดประชาสัมพันธ ตามสถานที่ตางๆ ในหมู 1, 2, 3 และ 4 ตําบลคําพระ5.3 ประสานงานกับผูนําชุมชนใกลเคียง เชน ผูใหญบาน หมู 1, 2 และ 4 เพื่อเชิญชวนประชาชนเขารวมประกวดการแขงขันการตําสมตําสุขภาพ5.4 เชิญชวนการแขงขันการตําสมตําสุขภาพทางสถานีวิทยุ 103.25 MHz ในรายการบอกขาวเลาแจง เวลา 6.00 น.6. รับสมัครผูเขารวมแขงขัน6.1 รับสมัครตัวแทนจากคุมตางๆ ของหมู 3 และตัวแทนจากหมูบานใกลเคียง7. จัดการแขงขันวัดความรูและการปฏิบัติ7.1 ผูเขาแขงขัน เขารับฟงความรูทางดานโภชนาการและสุขาภิบาลอาหาร จากวิทยากรประจําฐาน ประมาณ 10 นาที และตอบคําถามวัดผลคะแนน ทั้งหมด 40 คะแนน7.2 ผูเขาแขง ประกวดการทําสมตําสุขภาพ เพื่อวัดผลคะแนนทั้งหมด 60 คะแนน โดยมีเกณฑการใหคะแนน คือ1. อาหารถูกสุขลักษณะ 20 คะแนน2. คุณคาทางโภชนาการ 20 คะแนน3. ความคิดสรางสรรคและลีลาสนุกสนาน 20 คะแนนรวมคะแนนทั้ง 2 สวน 100 คะแนน8. จัดทําหนังสือเชิญกรรมการผูตัดสินการแขงขันตําสมตําเพื่อสุขภาพซึ่งประกอบดวย1. ตัวแทนอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน หมู 3 บานคําพระ2. ตัวแทนกลุมแมบาน หมู 3 บานคําพระ


1253. เจาหนาที่สถานีอนามัยคําพระ4. ปลัดองคการบริหารสวนตําบล ต.คําพระ5. ผูจัดการรานสมตําที่มีชื่อเสียงในจังหวัดอํานาจเจริญ (เจอึ่ง สมตําวีสบึ้ม)9. ตัดสินผลการแขงขันการตําสมตําเพื่อสุขภาพและมอบรางวัล- ผูเขารวมการแขงขันทุกคน จะไดรับเกียรติบัตรและของรางวัล- ผูชนะการแขงขันจะไดรับเกียรติบัตรและของรางวัลพรอมกับเงินรางวัล10. การประเมินผลการแขงขันการตําสมตําสุขภาพ- นําคะแนนของผูแขงขันทั้งภาคความรูดานโภชนาการและสุขาภิบาลอาหารและภาคปฏิบัต แตละคน รวมกันแลว พิจารณาตัดสินผลการแขงขันการตําสมตําเพื่อสุขภาพเปนทีม- ตรวจนับจํานวนผูเขารวมกิจกรรมจากใบลงทะเบียนผูเขารวมงาน7. ระยะเวลา 1-7 มีนาคม 25498. สถานที่ ลานเอนกประสงคหนาอบต.9. ผลที่คาดวาจะไดรับ1. ประชาชนเกิดความตระหนักในเรื่องอาหารสะอาดปลอดภัยและคุณคาทางโภชนาการ2. ประชาชนมีความรูเรื่องอาหารปลอดภัย และคุณคาทางโภชนาการ และสามารถนําไปปฏิบัติไดถูกวิธี3. ประชาชนมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เหมาะสม10. การประเมินผล- รอยละ 80 ของผูเขารวมแขงขันไดคะแนนไมต่ํากวา 80 คะแนน- มีผูเขารวมงานไมต่ํากวา 100 คนเครื่องมือที่ใชในการประเมิน1. จากผลคะแนนที่คณะกรรมการไดตัดสิน2. จากใบลงทะเบียนผูเขารวมงาน11. งบประมาณ ไดรับการสนับสนุนจากคณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล สถานีอนามัยคําพระและองคการบริหารสวนตําบล ต.คําพระ- คาวัตถุดิบสําหรับผูเขารวมแขงขันทีมละ 200 บาท x 12 ทีม 2,400 บาท- คาของรางวัล 2,400 บาท- คาเครื่องดื่มผูมารวมงาน 500 บาท- คาวัสดุอุปกรณในการดําเนินงาน 2,000 บาทรวม 9,500 บาท


126ผลการดําเนินงาน โครงการ “อาหารสะอาดดี มีประโยชน”ในกิจกรรมจัดใหมีการใหความรูแกกลุมเปาหมาย คือ ผูเขารวมการแขงขันตําสมตําสุขภาพ และจัดใหมีการแขงขันตําสมตําสุขภาพขึ้น มีผูเขารวมแขงขัน จํานวนทั้งสิ้น 9 ทีม จํานวน 27 คน ในการแขงขันแบงออกเปน 2 สวน คือ1. แบบทดสอบวัดความรูทางดานสุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ รวม 40 คะแนน2. คะแนนภาคปฏิบัติ รวม 60 คะแนนโดยมีเกณฑการใหคะแนนดังตอไปนี้แบบทดสอบวัดความรู ในโครงการ อาหารสะอาดดี มีประโยชนชื่อทีม_________________________________ชื่อ-นามสกุล______________________________สวนที่ 1 จงทําเครื่องหมาย / ในชองที่เลือกคําถาม1. การรับประทานอาหารหลัก 5 หมู เปนสิ่งสําคัญ จึงควรรับประทานสัปดาหละ 1 – 2 ครั้ง2. อาหารหมูเนื้อสัตว ไขมัน และผัก ใหพลังงานและความอบอุนกับรางกาย3. การรับประทานผักผลไมเปนประจํา ชวยใหรางกายไมขาดเกลือแร และวิตามิน4. ลูกเดือย เมล็ดแมงลัก และขาวกลอง ถือวามีกากใยสูง แตไมมีประโยชนกับรางกาย5. หากน้ําปลายี่หอหนึ่ง มีเครื่องหมาย อย. แสดงวาน้ําปลานั้น ไดรับการรับรองวาปลอดภัย6. การรับประทานอาหารที่หลากหลาย ก็คือการรับประทานในปริมาณมาก หลายๆ อยาง7. หากตองการควบคุมน้ําหนักตัว ควรควบคุมชนิดและปริมาณอาหารที่กินแทนการงดอาหารไปเลย8. การรับประทานผงชูรส รสดี เปนประจํา จะทําใหผมรวงและกระดูกผุ9. เราสามารถรับประทานอาหารหมักดองได แตควรรับประทานในปริมาณนอยๆ10. เด็กและผูใหญสามารถรับประทานไขไดทุกวัน ไมมีอันตราย11. ภาชนะที่วางแลวตองวางสูงจากพื้นอยางนอย 60 เซนติเมตร12. เราสามารถใชอุปกรณ เชน เขียง มีด รวมกันได ระหวางอาหารสุกกับอาหารดิบ13. ควรเลือกใชภาชนะอุปกรณที่มีการแตงสีหรือลวดลายสีสันสวยงามเพื่อใหอาหารดูนารับประทานยิ่งขึ้น14. จาน ชาม แกวน้ํา ควรเก็บในลักษณะหงายขึ้นเสมอ15. ผูประกอบอาหารสามารถใสกําไล หรือแหวนประกอบอาหารไดเพื่อความสวยงามใช ไมใช


127คําถาม16. เราสามารถใชมือหยิบชิมอาหารไดตามตองการ17. ผูประกอบอาหารควรมีสุขภาพอนามัยที่แข็งแรงและมีพฤติกรรมที่สะอาดอยูเสมอ18. ผูที่บริโภคอาหารกระปองที่บุบบูบี้ สามารถกอใหเกิดอาการทองรวงได19. ควรเลือกซื้อเนื้อหมูที่มีสีแดงสดมาบริโภค20. หนู แมลงวัน แมลงสาบ เปนสาเหตุที่ทําใหเกิดโรคระบบทางเดินอาหารใช ไมใชสวนที่ 2 คะแนนจากการปฏิบัติเกณฑการพิจารณา คะแนนเต็ม คะแนนที่ได1. สุขลักษณะ1.1 แตงกายเรียบรอย สวมผากันเปอน ใสหมวกคลุมผม 51.2 ความสะอาดและความเหมาะสมของเครื่องมือและอุปกรณในการ 5ปรุงประกอบ1.3 การจัดวางแยกภาชนะที่สะอาดและไมสะอาดไมใหปนกัน 51.4 การหยิบจับวัตถุดิบหรืออาหารที่เหมาะสม และใชชอนชิมอาหาร 52. โภชนาการ2.1อาหารประกอบดวยขาว-แปง เนื้อสัตว ไขมัน ผัก และผลไม 52.2 วัตถุดิบที่ใชสด สะอาด และหางายในทองถิ่น 52.3 มีหนาตา สีสันชวนรับประทาน 52.4 รสชาติดี และไมใสผงชูรส 53. ความคิดสรางสรรค3.1 ประยุกตดัดแปลงเปนสมตําที่นารับประทาน และมีประโยชน 103.2 ลีลา ความสนุกสนาน 10รวมคะแนน 60รวมคะแนนทั้งหมด


128คณะกรรมการตัดสินการประกวดแขงขันตําสมตําสุขภาพประกอบไปดวย1. ตัวแทนกลุมแมบาน2. ตัวแทน อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน3. เจาหนาที่สถานีอนามัยคําพระ4. เจาหนาที่จากองคการบริหารสวนตําบลคําพระ5. ผูมีชื่อเสียงทางดานการตําสมตํา จังหวัดอํานาจเจริญ (เจอึ่ง วี๊ดบึ้ม)การสรุปผลคะแนนใชคะแนนจากกรรมการทั้ง 5 ทานมาหาคาเฉลี่ยผลการแขงขันตําสมตําเพื่อสุขภาพลําดับที่ ชื่อทีม คะแนนสวนที่ 1 คะแนนสวนที่ 2 รวม1.2.3.4.5.33.343428263044.44848434477.74817669746.7.8.9.สมตําครกแตกเจออย ตําแหลกสองสาวพราวเสนหบัก คัก-คัก รสเด็ดสมตําแมปนโภชนาสูตรสมุนไพรถูกหลักอนามัย ไมใสชูรสเพื่อสุขภาพสมตําสูโวยแมเทียนสมตํา ทั้งแซบ ทั้งแสบเผ็ดถึงตี 3สองสาวหนาใสกับหนึ่งวัยทองตําแหลก29.342830.6624.6646.250.843.442.275.5478.874.0666.86


129เปาประสงคGOALวัตถุประสงคPURPOSEผลที่เกิดจากการทํากิจกรรมOUTPUTกิจกรรมและปจจัยนําเขาINPUTแผนงาน โครงการ “อาหารสะอาดดี มีประโยชน”สาระสําคัญโดยสรุป ดัชนีวัดความสําเร็จ การตรวจสอบความสําเร็จ- ลดพฤติกรรมเสี่ยงตอการเกิดโรคเกี่ยวกับการรับประทานอาหารไมเหมาะสม1. เพื่อสรางกระแสใหประชาชนเกิดความตระหนักในเรื่องอาหารสะอาดปลอดภัยและคุณคาทางโภชนาการ2. เพื่อใหประชาชนมีความรูเรื่องอาหารปลอดภัย และคุณคาทางโภชนาการ และสามารถนําไปปฏิบัติไดถูกตอง1.ประชาชนเกิดความตระหนักในเรื่องอาหารสะอาดปลอดภัยและคุณคาทางโภชนาการ2.ประชาชนมีความรูเรื่องอาหารปลอดภัย และคุณคาทางโภชนาการ และสามารถนําไปปฏิบัติไดถูกวิธี1.จัดกระบวนการการใหความรูในเรื่องสุขอนามัยในการบริโภค อาหารสะอาดปลอดภัย ความรูดานโภชนาการ2 .จัดการแขงขันการตําสมตําสุขภาพ ผูแขงขันคือประชาชน หมู 3โดยแบงเปน 8 คุมๆละ1ทีม- รอยละ 80 ของประชาชนปราศจากโรคที่เกิดจากการรับประทานอาหาร เชน โรคพยาธิ โรคอุจจาระรวง เปนตน- รอยละ 70 ของประชาชนมีความรูในเรื่องอาหารปลอดภัยและโภชนาการ1.ประชาชนสามารถอธิบายถึงสุขอนามัยในการบริโภคได2.ประชาชนรับประทานอาหารที่สะอาดปลอดภัยและถูกหลักโภชนาการ- รอยละ 80 ของผูเขารวมแขงขันไดคะแนนไมต่ํากวา80 คะแนน- มีผูเขารวมแขงขันและผูรวมงานไมต่ํากวา 100 คน- รายงานจากทะเบียนครอบครัวของ สถานีอนามัยจากแบบทดสอบความรูจากผลคะแนนที่คณะกรรมการไดตัดสินและใบลงทะเบียนผูเขารวมงานจากรายงานกิจกรรมใบลงทะเบียนผูเขารวมงานเงื่อนไขบงชี้ความสําเร็จความรวมมือของประชาชนในหมู 3บานคําพระมีการประสานงานระหวาง อบต.ผูใหญบาน อสม.และภาคเอกชน


130ผลที่เกิดจากการทํากิจกรรมOUTPUTสาระสําคัญโดยสรุป ดัชนีวัดความสําเร็จ การตรวจสอบความสําเร็จผูปกครอง นักเรียน ผูประกอบอาหารในโรงเรียนและครูเกิดความรู ความเขาใจที่ถูกตอง เกี่ยวกับเรื่องโภชนาการในเด็กจากคําตอบในการสัมภาษณจากแบบสัมภาษณหลังการทํากิจกรรมเงื่อนไขบงชี้ความสําเร็จความกระตือรือรนในการทํากิจกรรมกิจกรรมและปจจัยนําเขาINPUT-จัดกิจกรรมสงเสริมโภชนาการในผูปกครองเด็ก- ประสานงาน-การบรรยาย-การสาธิต-การประชุมกลุมมีผูเขารวมกิจกรรมไมนอยกวารอยละ 80รายงานกิจกรรมการประสานงานระหวางโรงเรียนและนักพัฒนา


131แผนผังควบคุมกํากับงานโครงการ “อาหารสะอาดดี มีประโยชน”ภายใต แผนงานการแกปญหาพฤติกรรมการบริโภคที่ไมเหมาะสมบานคําพระ หมู 3 ต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญผูรับผิดชอบโครงการ นักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร ม.มหิดล และตัวแทนชาวบานหมูที่ 3 บานคําพระกิจกรรมขั้นเตรียมการประชาสัมพันธโดย- ใชเสียงตามสายในการประชาสัมพันธใหชาวบานในหมูบานไดทราบกิจกรรมที่จะจัดขึ้น- ใชแผนโปสเตอรติดประชาสัมพันธ ตามสถานที่ตางๆ ในหมู 1, 2, 3 และ 4 ตําบลคําพระ- ประสานงานกับผูนําชุมชนใกลเคียง เชนผูใหญบาน หมู 1, 2 และ 4 เพื่อเชิญชวนประชาชนเขารวมประกวดการแขงขันการตําสมตําสุขภาพ- เชิญชวนการแขงขันการตําสมตําสุขภาพทางสถานีวิทยุ 103.25 MHz ในรายการบอกขาวเลาแจงเวลา 6.00 น.กุมภาพันธมีนาคม21 22 23 24 25 26 27 28 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10


132กิจกรรมสรรหาคณะกรรมการดําเนินงาน คณะกรรมการในการตัดสินการประกวด และชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับเกณฑการตัดสินประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของ เชน สถานีอนามัยองคการบริหารสวนตําบล ต.คําพระ เพื่อสนับสนุนสถานที่จัดการประกวดและขอสนับสนุนงบประมาณหนังสือเชิญกรรมการผูตัดสินการแขงขันตําสมตําเพื่อสุขภาพติดตอบุคคลภายนอกใหมาเปนคณะกรรมการตัดสินขั้นการดําเนินงานใหความรูเกี่ยวกับเรื่องโภชนาการแกผูเขาแขงขันและประชาชนทั่วไปจัดกิจกรรมประกวดการตําสมตําเพื่อสุขภาพขึ้น โดยรับสมัครผูเขารวมแขงขันเปนทีม ทีมละ 3 คน รวมไมเกิน12 ทีมกุมภาพันธมีนาคม21 22 23 24 25 26 27 28 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10ขั้นประเมินผล


133กิจกรรม- ประเมินกิจกรรมระหวางดําเนินการ- ประเมินผลภายหลังเสร็จสิ้นโครงการ- แจงผลการดําเนินโครงการแกชุมชนกุมภาพันธมีนาคม21 22 23 24 25 26 27 28 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10หมายเหตุ: สงตอโครงการนี้กับประธานอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน หมู 3 บานคําพระ


134โครงการ “บานเฮานาอยู หมูบานนามอง”1. ชื่อโครงการ “บานเฮานาอยู หมูบานนามอง”2. ผูรับผิดชอบโครงการ- นักศึกษาฝกปฏิบัติงานพัฒนาอนามัยชนบทเบ็ดเสร็จ คณะ สาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดลและ- องคการบริหารสวนตําบล ตําบล คําพระ- ผูใหญบานหมูที่ 3 นาย บุญเพ็ง สาทาวงศ- อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)3. หลักการและเหตุผลอาหาร ที่อยูอาศัย ยารักษาโรค และเครื่องนุงหม จัดเปนปจจัย 4 ที่มีความสําคัญตอการดํารงตอชีวิตของมนุษยเปนอยางมาก และที่อยูอาศัยก็นับวาเปนสวนหนึ่งของปจจัย หากพบวาที่อยูอาศัยมีสภาพที่ไมดี ไมถูกสุขลักษณะก็อาจจะสงผลตอสภาพความเปนอยูที่แรนแคน และอันอาจจะกอใหเกิดอันตรายตอสุขภาพขึ้นไดทางทีมนักศึกษา คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล ไดทําการสํารวจหมูบานคําพระ หมู 3จ.อํานาจเจริญ ระหวางวันที่ 31 มกราคม- 19 กุมภาพันธ 2549 พบวามีปญหาดานตางๆมาก และมีปญหาทางดานอนามัยสิ่งแวดลอม อาทิ บานเรือนไมถูกสุขลักษณะ ถึงรอยละ60.4 การเก็บภาชนะอุปกรณสูงจากพื้นต่ํากวา 60 ซม. รอยละ 50 ครัวเรือนมีน้ําขัง รอยละ 55.6 มีปญหายุงชุกชุม รอยละ 88.2แมลงวัน รอยละ 88.2 แมลงสาบ รอยละ 80.2 และ หนู รอยละ 89.6 มลพิษทางกลิ่น รอยละ 44.1 ซึ่งปญหาตางๆเหลานี้นั้นอาจกอใหเกิดผลกระทบตอสุขภาพรางกายได เพราะฉะนั้นทางทีมนักศึกษา รวมกับประชาชนหมู 3 บานคําพระ จึงไดจัดโครงการ “บานเฮานาอยู หมูบานนามอง”4. เปาหมายประชาชนในหมู 3 บาน คําพระ มีบานเรือนที่ถูกสุขลักษณะ5. วัตถุประสงค1.เพื่อกระตุนใหประชาชนไดจัดที ่พักอาศัยใหถูกหลักสุขลักษณะ2.เพื่อปองกันการแพรกระจายของสัตวนําโรค


1353. เพื่อปองกันโรคที่เกิดจากสัตวนําโรค4. เพื่อปองกันสุขภาพจิตที่ดีของผูที่อยูอาศัย5. เพื่อปองกันกลิ่นที่รบกวนในหมูบานใหลดลง6. วิธีการดําเนินการระยะตระเตรียมการ1.จัดทําโครงการรวมระหวางนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล รวมกับผูนําชุมชน อสม. เจาหนาที่สถานีอนามัย และ ประชาชนหมู3 บานคําพระ2.ประชุมคณะทํางานที่เกี่ยวของและจัดคณะกรรมการดําเนินการ3.ประชาสัมพันธโครงการฯ ดวยสื่อประชาสัมพันธตางๆ3.1 เสียงตามสายของชุมนบานคําพระหมู 3 จาก บานผูใหญ3.2 แผนปายโฆษณาเชิญชวนใหประชาชนเขารวมกิจกรรมของโครงการ3.3 อุปกรณอื่นๆ เชน พาหนะ ,ไมโครโฟน3.4 เอกสารใหความรูตางๆ เชนแผนผับ เพื่อใหเกิดความเพื่อใหเกิดความตระหนักของการจัดบานเรือนที่ถูกสุขลักษณะและการควบคุมแหลงเพาะพันธ สัตวนําโรคระยะดําเนินการ4.ดําเนินการโครงการ “บานเฮานาอยู หมูบานนามอง”โดยมีกิจกรรมดังตอไปนี้4.1 จัดใหมีการประกวดบานเรือนที่มีควมสะอาด ถูกสุขลักษณะ และมีความปลอดภัย4.2 รณรงคทําความสะอาดหมูบาน วันที่ 26 กุมภาพันธ 2549 เริ่มเวลาตั้งแต8.00 น เปนตนไป4.3 แนะนําใหความรูในเรื่องการสุขาภิบาลที่พักอาศัยและการควบคุมสัตวนําโรค5. ติดตามโครงการและประเมินผล6. สรุปผลการดําเนินการของโครงการ7. ระยะเวลาดําเนินการ 26 กุมภาพันธ – 28 กุมภาพันธ 25498. สถานที่ดําเนินการ หมูบานคําพระหมู 3 ตําบล หัวตะพาน จังหวัด อํานาจเจริญ


1369. งบประมาณ คาของรางวัล 900 บาทคาอุปกรณในการจัดทําโครงการ 600 บาทรวม 1,500 บาท10. ผลที่คาดวาจะไดรับ1. ประชาชนเกิดความตื่นตัวเกี่ยวกับการจัดที่พักอาศัยใหถูกสุขลักษณะ2. ประชาชนสามารถปองกันการแพรกระจายของสัตวนําโรคได3. ประชาชนสามารถปองกันโรคที่เกิดจากสัตวนําโรค4. ประชาชนมีสุขภาพจิตที่ดีของผูอยูอาศัย5. ปองกันกลิ่นที่รบกวนในหมูบานใหลดลงผลการดําเนินงาน “โครงการบานเฮานาอยู หมูบานนามอง”โครงการบานเฮานาอยู หมูบานนามองนั้นจัดทําขึ้นโดยมีวัตถุประสงคใหประชาชนในหมูบานคําพระ หมู 3 เกิดการตื่นตัวในเรื่องการจัดการที่อยูอาศัยใหถูกสุขลักษณะและเพื่อสุขภาพจิตที่ดีของผูที่อยูอาศัย ซึ่งโครงการเริ่มจากการประชาสัมพันธ โดยมีการใชเสียงตามสาย การพูดคุยกับชาวบาน และมีการติดปายประกาศใหทราบถึงกิจกรรมของโครงการบานนาอยู หมูบานนามอง ระหวางชวงที่ทําการประชาสัมพันธนั้นจะมีการจัดการใหความรูเกี่ยวกับการจัดที่อยูอาศัยและการกําจัดสัตวนําโรคโดยผานเสียงตามสาย การจัดนิทรรศการ และ การพูดคุยกับชาวบาน ในระยะเวลาตอมานั้นมี กิจกรรมที่ทําขึ้น เปนการรณรงคทําความสะอาดถนนรอบหมูบานทุกเสนทางโดยการเก็บขี้วัว-ควาย ตามทองถนน การปดกวาดถนนและสิ่งที่อยูขางทางเชนกิ่งไม ใบไม ขยะมูลฝอยตางๆ ใหสะอาด ซึ่งกิจกรรมที่ทําขึ้นนั้นเพื่อกระตุนใหประชาชนเกิดการตื่นตัวในเรื่องการจัดการที่อยูอาศัย และการกําจัดสัตวนําโรค ระยะเวลาตอมาไดมีการการประชาสัมพันธโดยผานเสียงตามสายและแผนปายประกาศ เชิญชวนใหประชาชนเขารวมการประกวดบานนาอยู ซึ่งผลตอบรับพบวาเปนที่นาสนใจของชาวบานหมู 3 บานคําพระ มีบานที่เขารวมการประกวด 15หลังคาเรือนซึ่งมีรายชื่อดังตอไปนี้ชื่อผูสมัคร-นามสกุล บานเลขที่1.นายแสวง ธยาธรรม1042.นางเหรียญ วามะลุน53/13.นางออย นาดี534.นางคณาพร คูณเมือง43


137ชื่อผูสมัคร-นามสกุล บานเลขที่5.นายพิมพา ขันธุปทม62/26.นางรําไพ พิมพา307.นายชาลี พระสุนิน428.นางบับ จารุจิตร229.นางแฮม วามะลุน1210.นางมะลิ สุติบุตร2311.นายสวัสดิ์ สุติบุต2512.นางหา พระสุนิน813.นายวัน โยริบุตร9614.นางบุญถม ธรรมวงศ2415.นายสุราษ ทองดวง116โดยมีการกําหนดระยะเวลา 1 สัปดาหเพื่อใหมีการทําความสะอาด และเก็บรายละเอียดจุดบกพรองของบานเรือนตางๆ และวันสุดทายซึ่งตรงกับวันที่ 3 มีนาคม 2549 จะมีคณะกรรมการมาดําเนินการตัดสินรายชื่อของคณะกรรมการตัดสินมีดังนี้1.นายบุญเพ็ง สาทาวงศ ผูใหญบานหมู 3 ต.คําพระ2.นางปญจพร พิราชเจาหนาที่สถานีอนามัย3.นางขวัญใจ แฮนชัยภูมิ เจาหนาที่ อบต.4.นายบัวกันต ธยาธรรม ประธาน อสม.5.นายกฤษณ สกุลแพทย หัวหนาทีมนักศึกษาฝกปฎิบัติทีม 3หลักเกณฑในการใหคะแนนการประกวดบานนาอยู ตามโครงการบานเฮานาอยู หมูบานนามอง มีดังนี้1. ความสะอาดคือ ที่พักอาศัยไมมีหยากไยและฝุนละอองเกาะตามพื้นหอง ฝาผนัง ประตู หนาตาง และเฟอรนิเจอรตางๆ2. ความเปนระเบียบคือ มีการจัดขาวของเครื่องใชภายในบานเปนระเบียบเปนหมวดหมู ไมเกะกะ และกอใหเกิดอันตราย และมีพื้นที่ทางเดินที่สะดวก3. ความปลอดภัยคือ มีความมั่นคง แข็งแรงของตัวบาน สามารถปองกันอันตรายจากภายนอกตางๆ และไมมีสวนที่กอใหเกิดอันตราย หรืออุบัติเหตุ เชน ปลั๊กไฟควรอยูสูงพนมือเด็ก


4. แสงสวางเพียงพอคือ ภายในบานมีแสงสวางเพียงพอ มีความสบายตา ไมมืดจนตองเพงมอง และกอใหเกิดอุบัติเหตุ5. การระบายอากาศที่พักอาศัยตองมีประตู หนาตางหรือชองลมที่สามารถระบายอากาศไดโดยใหมีพื้นที่ประตูและหนาตางจะตองไมนอยกวา 10-15 เปอรเซ็นต ของพื้นที่หอง และจะตองมีพื้นที่ของหนาตางที่สามารถเปดไดไมนอยกวา 45 เปอรเซ็นตของพื้นที่ทั้งหมด6. สุขลักษณะในหองครัวคือ พื้นหองครัวสะอาด มีที่เก็บอาหารมิดชิด เชน ตูเก็บอาหารหรือฝาชีครอบ ที่วางภาชนะและอาหารตองสูงจากพื้นไมต่ํากวา 60 เซนติเมตร7. สุขลักษณะในหองน้ํา หองสวมคือ พื้นหองน้ํา หองสวมสะอาด มีหนาตางหรือชองลมและทอระบายอากาศสูงจากพื้นดินไมนอยกวา 1.5 เมตร มีเครื่องใชสอยภายในหองน้ํา หองสวมครบ เชน สบู ขันน้ําแยกระหวาง ขันตักอาบ และขันตักราด8. การกําจัดมูลฝอยคือ มีภาชนะรองรับขยะ และมีฝาปดมิดชิด9. บริเวณหนาบานคือ หนาบานรวมถึงถนนหนาบาน ไมมีเศษขยะ เศษใบไม มูลสัตว ฯลฯ ที่เปนสิ่งที่นารังเกียจ10. สัตวนําโรคคือ ไมมีสัตวที่เปนพาหะนําโรค เชน หนู แมลงวัน แมลงสาบ หรือมีการกําจัดและไมมีแหลงเพาะพันธยุงหลังจากที่คณะกรรมการตัดสินบานที่เขารวมการประกวดพบวาบานเรือนสวนใหญมีความสะอาด เปนระเบียบ ปราศจากขยะมูลฝอย แตจะมีเพียงไมกี่หลังคาเรือนที่มีแหลงเพาะพันธุของลูกน้ํายุงลายและบริเวณหนาบานยังไมสะอาดเทาที่ควร จากผลการตัดสินของคณะกรรมการ พบวา• นายพิมพา ขันธุปทธ บานเลขที่ 62/2 ไดรับรางวัลชนะเลิศ• นางหา พระสุนิน บานเลขที่ 8 ไดรับรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1• นางเตือนใจ สุพล บานเลขที่ 50/2 ไดรับรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2ซึ่งพบวาบาน ทั้ง 3 หลังนี้มีความสะอาด ความเปนระเบียบ ฯลฯ ตรงตามหลักเกณฑมากกวาบานหลังอื่นๆจึงไดรับรางวัลดังที่กลาวไวของตนแลว138


139โครงการ “บานเฮานาอยู หมูบานนามอง”GoalเปาประสงคPurposeวัตถุประสงคสาระสําคัญ ดันชนีวัดความสําเร็จ แหลงขอมูล เงื่อนไข-บานเรือนปราศจากฝุน -จากการละออง เศษขยะมูลฝอย สํารวจพื้นที่และถูกสุขลักษณะ รอย -แบบสอบถามละ 80-แหลงเพาะพันธสัตวนําโรคลดลงรอยละ 80-ปราศจากลิ่นรบกวนจากภายนอก-บานเรือนทุกหลังคาเรือนมีความสะอาดและถูกสุขลักษณะ-เพื่อใหประชาชนมีความรูในเรื่องการจัดการสุขาภิบาลที่อยูอาศัยและสามารถนําไปปฏิบัติได-ไดคะแนนจากแบบสอบถามมากกวารอยละ 80-แบบประเมินผล- ความสําเร็จของโครงการจะเกิดขึ้นได เมื่อประชาชนในหมูบานรวมมือกัน- การประสานงานกับทุกฝายอยางทั่วถึง- มีความตอเนื่องในการดําเนินการ- ความรวมมือของประชาชนบานคําพระ หมู 3Outputผลที่ไดจากการทํากิจกรรมInputกิจกรรมที่นําไปสูการบรรลวัตถุประสงค-ประชานมีความรูในเรื่องการจัดการที่พักอาศัย-ประชาชนเกิดความตื่นตัวและความตระหนักในเรื่องสุขาภิบาลที่พักอาศัย1.ใหความรูในเรื่องการสุขาภิบาลที่พักอาศัยอยางถูกวิธี- แผนพับ- รณรงคใหความรู2.จัดประกวดบานนาอยู- บานที่เขารวมโครงการมีคะแนนมากกวารอยละ70 โดยมีจํานวนบาน รอยละ 65 ของจํานวนหลังคาเรือนทงหมด- ประชาชนที่เขารวมประกวดบานนาอยูมีความรูในเรื่องสุขาภิบาลที่พักอาศัย รอยละ 70-มีบานเรือนเขารวมการประกวด บานนาอยูมากกวา รอยละ 10 ของหลังคาเรือนทั้งหมด- บานที่เขารวมการประกวดบานนาอยูไดคะแนนตามเกณฑการประเมินการสุขาภิบาลที่พักอาศัย มากกวารอยละ70 มีจํานวนรอยละ 65-จากแบบสอบถาม-แบบประเมินผล- รายงานบันทึกกิจกรรม- จากรายงานบันทึกกิจกรรม- ความกระตือรือรนและความรวมมือของประชาชนบานคําพระหมู 3- ความรวมมือของประชาชนบานคําพระหมู 3


140สาระสําคัญ ดันชนีวัดความสําเร็จ แหลงขอมูล เงื่อนไข3.จัดรณรงคทําความสะอาดครั้งใหญของหมูบานของจํานวนบานที่รวมประกวด- มีประชาชนเขารวมกิจกรรมการรณรงคการทําความสะอาดหมูบานมากกวารอยละ 25 ของประชาชนทั้งหมด- มีประชาชนเขารวมกิจกรรมการรณรงคการทําความสะอาดหมูบานมากกวารอยละ 25 ของประชาชนทั้งหมด- จากเกณฑการประเมินผล


141แผนผังควบคุมกํากับงานโครงการ “บานเฮานาอยู หมูบานนามอง”ภายใต แผนงานการแกไขปญหาสุขาภิบาล ที่อยูอาศัยบานคําพระ หมู 3 ต.คําพระ อ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญผูรับผิดชอบโครงการ นักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร ม.มหิดล และตัวแทนชาวบานหมูที่ 3 บานคําพระกุมภาพันธมีนาคมกิจกรรม21 22 23 24 25 26 27 28 1 2 3 4 5 6 7ขั้นเตรียมการประชาสัมพันธโครงการฯ ดวยสื่อประชาสัมพันธตางๆ เชน เสียงตามสาย ปายประชาสัมพันธ แผนพับ ใบปลิว และการเดินประชาสัมพันธตามบานคัดและบุคคลภายในชุมชนและบุคคลภายนอกชุมชม มาเปนคณะกรรมการจัดทําหนังสือเชิญ ผูเขารวมกิจกรรมทั้งหมดจัดเตรียมของรางวัลสําหรับผูที่ชนะการประกวดบานนาอยูระยะดําเนินการรณรงคทําความสะอาดหมูบานตามทองถนนและบริเวณที่สาธารณประโยชนภายในหมูบาน


142กิจกรรมแนะนําใหความรูในเรื่องการสุขาภิบาลที่พักอาศัยและการควบคุมสัตวนําโรคจัดใหมีการประกวดบานเรือนใหมีควมสะอาด ถูกสุขลักษณะ และมีความ ปลอดภัยประกาศผลการตัดสินการประกวดบานติดตามโครงการขั้นประเมินผล- ประเมินกิจกรรมระหวางดําเนินการ- ประเมินผลภายหลังเสร็จสิ้นโครงการ- แจงผลการดําเนินโครงการแกชุมชนกุมภาพันธมีนาคม21 22 23 24 25 26 27 28 1 2 3 4 5 6 7หมายเหตุ : สงโครงการนี้ตอใหกับสถานีอนามัยคําพระ เพื่อประเมินทุก 6 เดือน


143ผลการประเมินโครงการแผนงานแมบท โครงการ กิจกรรม ดัชนีชี้วัด ผลการประเมินกิจกรรม- อยูอยางไรปลอดภัยจากเบาหวานและความดันโลหิตสูง1. แผนงานแมบทการปองกันและแกไขโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง1. จัดเสวนาในกลุมเสี่ยงดวยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเรื่องอยูอยางไรปลอดภัยจากเบาหวานและความดันโลหิตสูง2. เชิญผูที่มีความรูในเรื่องเบาหวานและความดันโลหิตสูงมาเปนวิทยากรในการเสวนา3. เชิญผูปวยที่เปนโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงและมีโรคแทรกซอนมาเปนวิทยากรรวมในการจัดเสวนากลุมเสี่ยง4. เลนเกมสตอบปญหาเกี่ยวกับโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงกลุมเสี่ยงตอโรคเบาหวานและความดั นโลหิ ตสู งซึ่ งอายุมากกวา 35 ปขึ้นไปมี BMI > 25เขารวมกิจกรรมรอยละ 80 ของประชากรกลุมเสี่ยงทั้งหมด- จัดตั้งชมรม “ออน-หวาน-มัน-เค็ม” จัดตั้งกลุม “ออน-หวาน-มัน-เค็ม” - จัดตั้งชมรมของผูปวยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงอยางนอย 1 ชมรม- มีผูปวยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเขารวมเปนสมาชิกชมรมมากกวารอยละ 80ประชาชนกลุมเสี่ยงมาเขารวมกิจกรรมจํานวน 31 คน จากจํานวน 37 คน คิดเปนรอยละ 83.78 เพราะฉะนั้นโครงการอยูอยางไรปลอดภัยจากเบาหวานและความดันโลหิตสูงผานเกณฑการประเมินกิจกรรม- มีการจัดตั้งชมรมของผูปวยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ชื่อชมรมคือ ออน-หวาน-มัน-เค็ม- ประชาชนที่เปนโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมาเขารวมกิจกรรม จํานวน 22คน จากจํานวน27 คน คิดเปนรอยละ 81.48


144แผนงานแมบท โครงการ กิจกรรม ดัชนีชี้วัด ผลการประเมินกิจกรรมเพราะฉะนั้นโครงการผานเกณฑการประเมินกิจกรรม- ออกกําลังกายสบายชีวี เพื่อสุขภาพดีของทุกคน1. การประชาสัมพันธการออกกําลังกาย- เสียงตามสาย- ปายประกาศ- มีการประชาสัมพันธผานเสียงตามสายทุกวัน- มีปายประกาศเชิญชวนอยางนอย 4 ปายติดในหมูบาน- มีการประชาสัมพันธผานเสียงตามสายทุกวันเชา-เย็น- มีปายประกาศเชิญชวน 10 ปายติดในหมูบาน2. แผนงานแมบทการแกปญหาพฤติกรรมการบริโภคที่ไมเหมาะสม2. หาตัวแทนของประชาชนมาเปนคนนําเตนแอโรบิกในครั้งตอไป- อาหารสะอาดดีมีประโยชน - แขงขันการตําสมตําเพื่อสุขภาพ- ใหความรูทางดานโภชนาการและสุขาภิบาลอาหาร- มีผูนําเตนแอโรบิกทุกวันจันทรพุธ ศุกร- มีผูมารวมเตนแอโรบิกรอยละ5 ของประชาชนทั้งหมด- รอยละ 80 ของผูเขารวมแขงขันไดคะแนนไมต่ํากวา 75คะแนน- มีผูนําเตนแอโรบิกทุกวันจันทร พุธ ศุกรคือ นางหนูปน จารุจิตร- มีผูมารวมเตนแอโรบิกจํานวนมากกวารอยละ 5 ของประชาชนทั้งหมดในทุกครั้งเพราะฉะนั้นโครงการผานเกณฑการประเมินกิจกรรม- ผูเขารวมแขงขันไดคะแนนไมต่ํากวา 75คะแนน จํานวน 15 คน จากจํานวนผูเขาแขงขัน 27 คน คิดเปนรอยละ 55.55เพราะฉะนั้นไมผานเกณฑการประเมินกิจกรรม เนื่องจากมีการใหความรูเพียงครั้ง


145แผนงานแมบท โครงการ กิจกรรม ดัชนีชี้วัด ผลการประเมินกิจกรรม3. แผนงานแมบทการแกไขปญหาสุขาภิบาล ที่อยูอาศัย- บานเฮานาอยู หมูบานนามอง - จัดการแขงขันการประกวดบานนาอยู-ใหความรูในเรื่องการสุขาภิบาลที่พักอาศัยอยางถูกวิธี- แผนพับ- รณรงคใหความรู- จัดรณรงคทําความสะอาดครั้งใหญของหมูบาน- มีผูเขารวมแขงขันและผูรวมงานไมต่ํากวา 100 คน- มีบานเรือนเขารวมการประกวด บานนาอยู มากกวารอยละ 10 ของหลังคาเรือนทั้งหมด- บานที่เขารวมการประกวดบานนาอยู ไดคะแนนตามเกณฑการประเมินการสุขาภิบาลที่พักอาศัยมากกวา รอยละ 70 มีจํานวนรอยละ 65 ของจํานวนบานที่เขารวมประกวด- มีประชาชนเขารวมกิจกรรมการรณรงคการทําความสะอาดหมูบาน มากกวารอยละ 25 ของประชาชนทั้งหมดเดียว- มีผูเขารวมแขงขันและผูรวมงานจํานวน130 คนเพราะฉะนั้นผานเกณฑการประเมินกิจกรรม- มีบานเรือนเขารวมการประกวด บานนาอยู 16 หลังคาเรือน จากจํานวน 136หลังคาเรือน คิดเปนรอยละ 11.76เพราะฉะนั้นผานเกณฑการประเมินกิจกรรม- บานที่เขารวมการประกวดบานนาอยู ไดคะแนนตามเกณฑการประเมินการสุขาภิบาลที่พักอาศัยมากกวารอยละ 70จํานวน 11 หลังคาเรือน จากจํานวน 16หลังคาเรือน คิดเปนรอยละ 68.75เพราะฉะนั้นผานเกณฑการประเมินกิจกรรม- มีประชาชนเขารวมกิจกรรมการรณรงคการทําความสะอาดหมูบาน มีจํานวน 50คน คิดเปนรอยละ 9.9 ของประชาชนทั้งหมด เพราะฉะนั้นไมผานเกณฑการประเมินกิจกรรม เนื่องจากประชาชนในหมูบานออกไปทํางานในชวงเวลากลางวันจึงไมสามารถมารวมกิจกรรมการรณรงค


146แผนงานแมบท โครงการ กิจกรรม ดัชนีชี้วัด ผลการประเมินกิจกรรมการทําความสะอาดหมูบาน4. แผนงานแมบทการแกปญหาดานสังคมและเศรษฐกิจ-โครงการขอเขตปลอดภัยใหวัวควายขามถนน- ไดทําการประสานงานกับองคการบริหารสวนตําบล ตําบลคําพระเพื่อดําเนินการตอไป- มีปายบอกเขตสําหรับใหวัว-ควายขามถนนอยางนอย 4 ปายภายในชุมชนบานคําพระ หมู 3เสร็จสิ้นภายในป 2550- ไดทําการประสานงานกับองคการบริหารสวนตําบล ตําบล คําพระเพื่อดําเนินการตอไป-โครงการปรับปรุงฝายน้ําลน หวยปลาแดก- ไดทําการประสานงานกับองคการบริหารสวนตําบล ตําบลคําพระเพื่อดําเนินการตอไป- มีสะพานขามฝายน้ําลน หวยปลาแดกซึ่งเสร็จสิ้นภายในป2550- ไดทําการประสานงานกับองคการบริหารสวนตําบล ตําบล คําพระเพื่อดําเนินการตอไป


147บทที่ 5สรุป (และประสบการณเรียนรูที่ได)จากการที่ไดฝกปฏิบัติงานโครงการพัฒนาอนามัยชนบทเบ็ดเสร็จ ณ หมู 3 บานคําพระ ต.คําพระอ.หัวตะพาน จ.อํานาจเจริญ ตั้งแตวันที่ 31 มกราคม – 11 มีนาคม 2549 พบวา จากการเปลี่ยนแปลงทางดานสังคมที่เกิดขึ้น ทําใหโครงสรางทั้งทางกายภาพและสังคมของชุมชนชนบทปรับเปลี่ยนไป สงผลกระทบตอสัมพันธภาพระหวางสมาชิกในชุมชน ลักษณะความสัมพันธระหวางสมาชิกในชุมชนจึงมีความซับซอนขึ้นตามความซับซอนของสังคมที่ปรับเปลี่ยนไปดวยทําใหวิถีชีวิตของประชาชนเปลี่ยนไป การฝกปฏิบัติงานพัฒนาอนามัยชนบทเบ็ดเสร็จจึงตองปรับเปลี่ยนกระบวนทัศนในการทํางาน ใหชุมชนเปนศูนยกลางการเรียนรู และมีสวนรวมมากขึ้น การนําเทคนิคตาง ๆ มาใชในการฝกปฏิบัติงาน จึงตองรองรับกับสภาพของสังคมที่ปรับเปลี่ยนไปดวยกระบวนการเรียนรูแบบมีสวนรวมเพื่อการพัฒนาสาธารณสุข (Participatory Learning Developmentof Health : PLD) เปนเทคนิคที่นักศึกษานํามาใชในการฝกปฏิบัติงานครั้งนี้โดยจะเริ่มตนจากการศึกษาชุมชน การเรียนรูวิถีชุมชน จนกระทั่งสรางภาพชุมชนที่พึงปรารถนารวมกับชาวบาน มีการแสดงการเปรียบเทียบระหวางภาพชุมชนที่พึงปรารถนากับชุมชนปจจุบันใหชาวบานไดรับทราบเพื่อหาชองวางของสถานการณที่เปนอยูจริงกับภาพชุมชนที่พึงปรารถนา ซึ่งชองวางนั้นก็คือปญหาแลวพยายามขับเคลื่อนจากสถานการณเปนอยูจริง ใหเขาใกลกับภาพชุมชนที่พึงปรารถนามากที่สุด โดยใหคนเปนศูนยกลางการเรียนรูและการพัฒนา และจากการศึกษาพบวาชุมชนบานคําพระยังเปนชุมชนเกษตรกรรมเปนสวนใหญ รายไดของชุมชนนี้สวนมากไมเพียงพอกับรายจายในครอบครัว ประกอบกับการที่มีแหลงเงินทุนใหกูมากทั้งเงินของกองทุนภายในหมูบาน (เชน เงินกองทุนหมูบาน กองทุนธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ เปนตน)หรือกองทุนเงินกูนอกระบบ ดังนั้นความตระหนักในปญหาของชุมชนนี้จึงอยูกับเรื่องเศรษฐกิจเปนหลักในขณะที่ความตระหนักในปญหาดานสุขภาพนั้น ชาวบานมองวาเปนเรื่องไกลตัว ไมเห็นความสําคัญในการดูแลดานสุขภาพ หรือปองกันการเกิดโรค เขาใจเพียงแตวา ถามีอาการเจ็บปวยแลวจึงไปหาหมอจากการที่คณะนักศึกษาไดฝกปฏิบัติงานพัฒนาอนามัยชนบทเบ็ดเสร็จ พบวาปญหาดานสุขภาพของชุมชนนี้มีหลากหลายปญหามาก เชน โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ซึ่งพบเปนจํานวนถึงรอยละ 10.61ซึ่งถือวาพบในระดับที่สูง หรือจากการที่มีการตรวจคัดกรองพยาธิจากการตรวจอุจจาระ พบวา มีพยาธิในอุจจาระถึงรอยละ 10.16 ซึ่งสอดคลองกับการสํารวจที่พบวา มีการกินอาหารสุก ๆ ดิบ ๆ เกือบทุกหลังคาเรือน เปนตน ซึ่งการแกปญหาโดยเนนการใชเทคโนโลยีทางการแพทยและสาธารณสุข ซึ่งตรงกับความคิดของชาวบานสวนใหญในชุมชน นั้นไมสามารถจะลดขนาดของปญหาลงไปไดอยางมีประสิทธิภาพ จะทําไดก็แคเพียงลดความรุนแรง ดังนั้น หลังจากที่คณะนักศึกษาไดสํารวจชุมชน พบปญหาจากการสํารวจและสังเกตแลว ตองมีการปรับเปลี่ยนแนวความคิดในดานสุขภาพของชุมชน โดยใหประชาชนมีสวนรวมในการ


รับรูปญหาและรวมกันเสนอแนวความคิดในแกไขปญหาคณะนักศึกษาเสนอหลักการทางวิชาการเพื่อประกอบการวางแผน เพื่อใหเกิดการพัฒนาสุขภาพที่ยั่งยืนตอไป148


กภาคผนวก


การรวมกลุมหรือโครงการของชุมชนของหมู 3 บานคําพระ1. โครงการพัฒนาชุมชนลุมแมน้ําหวยปลาแดกตอนกลางไดเงินจาก ZIP มาจัดตั้งกลุม ปจจุบันยกเลิกกลุมไปแลว 2 ป โดยกลุมตั้งอยูเปนเวลา 3 ปกิจกรรมกลุม1. เย็บกางเกงวอรม- มีสมาชิก 50 คน- มีจักรเย็บผาโรงงาน 10 ตัว- มีสมาชิกที่ทํางานเปนประจําจํานวน 10 คน โดยรับงานจากบานเค็งใหญ สวนสมาชิกทเหลือฝกหัดทํางาน- ไดรายไดตัวละ 10 บาท โดยนําเงินเขากลุม แลวหักคาไฟ จากนั้นนําไปหารแลวใหคาแรงตามจํานวนวันที่ทํางาน- เวลาทํางาน 8.00-16.00 น.ปญหา 1. สมาชิกไปทํานาในหนานา2. สมาชิกตองการทํางานที่บานของตนเองมากกวามาทํางานที่กลุมปจจุบันเมื่อกลุมยกเลิกไปแลวจึงนําจักรที่มีอยูไปใหเชา คิดเงินปละ 300 บาท โดยผูใหญบานเปนผูเก็บเงิน2. เพาะพันธุปลามีนายจําเนียน สูติบุตร เปนหัวหนากลุม โดยไดจัดสรางโรงเรือนและบอไปแลว แตยังไมไดเพาะพันธุปลา ปจจุบันยกเลิกกลุมไปแลว3. กลุมแมบานทอผาขิดปจจุบันยกเลิกกลุมไปแลว แตยังมีผูทําเปนธุรกิจสวนตัวอยูบาง ปญหาคือ มีผูยักยอกโกงเงิน2. กลุมผาขิดจัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2537 ตามโครงการพระราชดําริ ในสมเด็จพระราชินีนาถ เนื่องจากการทอผาขิดเปนความรูที่มีในชุมชนมาชานาน และมีการทอผาขิดอยางแพรหลายในหลาย ๆ หมูบานใน ต.คําพระรวมไปถึงในจังหวัดอํานาจเจริญ โดยมีการรายชื่อผูบริหารในกลุมดังนี้คณะกรรมการบริหารศูนย (ชุดใหญ) บานคําพระ ต. คําพระ อ.หัวตะพาน จ. อํานาจเจริญ1. นางดารา จันทป ประธาน2. นางสมจิตร หลักรัตน รองประธาน3. นางขนิษฐา สาสาร เลขานุการ4. นางพรมมา สีตะเสน เลขานุการข


ค5. นางภู คณาเสน ตรวจสอบบัญชี6. นางสุพิศ จารุจิตร ตรวจสอบบัญชี7. นางอนุราช ลุนวงศ ประชาสัมพันธ8. นางดํา สามคูเมือง ประชาสัมพันธ9. นางนอย ลาภาพันธุ ผูตรวจสอบผลิตภัณฑ10. นางหนูปน จารุจิตร ผูตรวจสอบผลิตภัณฑ11. นางสุพิศ บุญทอง กรรมการ12. นางบังกัณฑ เพชรรัตน กรรมการที่ปรึกษา1. นายอําเภอหัวตะพาน2. พัฒนาการอําเภอหัวตะพาน3. เกษตรกรอําเภอหัวตะพาน4. ผูอํานวยการศูนยการศึกษานอกโรงเรียน อําเภอหัวตะพาน5. คณะกรรมการพัฒนาอาชีวะ อ. หัวตะพาน6. คณะกรรมการพัฒนาสตรี อ. หัวตะพาน7. ผูแทนองคการแคร จ. อุบลราชธานี8. องคการบริหารสวนตําบลคําพระ9. ผูนําหมูบานทุกหมูบาน10. ทุกสวนราชการและองคกรอื่น ๆ ระดับจังหวัดวัตถุประสงคของกลุมผาขิด คือ หาตลาดสงขายผาขิด, เผยแพรความรูเรื่องผาขิด, เปนตน ทั้งนี้ตลาดผาขิดที่สงไปขายนั้น สวนมากอยูตามโรงแรมตาง ๆ ในภาคอีสาน, ตามตลาดนัดสวนจตุจักร หรือแมแตสั่งจากตางประเทศในป พ.ศ. 2542 ไดมีองคกรจากประเทศญี่ปุน คือ องคกรแคร มาใหทุนสนับสนุนเกี่ยวกับผาขิด ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้น จากเดิมที่ขายแตกระเปาลายขิด เปลี่ยนเปนการทอผาขิดเปนผืนเพื่อจําหนาย3. สหกรณการเกษตรในเขตปฏิรูปที่ดินจัดตั้งขึ้นมาเปนเวลา 3 ป เริ่มแรกสมาชิกตองเปนผูที่มีที่ดิน สปก. ตอมาผูที่มีที่ดินเอกชนก็สามารถเขารวมไดปจจุบันมีสมาชิก 226 คน โดยรับสมัครสมาชิก 1 บานตอ 1 คนและตองถือหุนในครั้งแรกอยางนอยคนละ50 หุน หุนละ 10 บาท ใหปนผล 10 % ของทุนเรือนหุน


งวิสัยทัศนของกลุม“ รวมกันคิด รวมกันทํา ลงทุนรวมกันสรางสรรคสหกรณเอี้ออาทรสมาชิก รวมกันซื้อ รวมกันขาย”ที่ตั้ง : 98 หมู 3 ตําบลคําพระ อําเภอหัวตะพาน จังหวัดอํานาจเจริญกลุมผูบริหารนาย เลง บุญเจริญ ประธานกลุมคณะกรรมการ 8 คนนางสาว กฤษฎาภรณ บุญเจริญ พนักงานบัญชีกิจกรรมกลุม1. ปลอยเงินกูและใหสินเชื่อโดยมีเงื่อนไขในการกูดังนี้1.1 เปนสมาชิกแลวอยางนอย 6 เดือน1.2 กูไดไมเกินคนละ 30000 บาท1.3 การกูแตละครั้งจะถูกหัก 5% ของวงเงินกู ซึ่งถูกแปลงไปเปนหุนสมาชิก1.4 คืนเงินภายใน 1 ป คิดดอกเบี้ยรอยละ 9 ตอป1.5 ใหสมาชิกเปนผูค้ําประกัน 2 คน โดยสมาชิก 2 คนนี้ก็สามารถกูเงินไดเชนกัน2. จัดหาสินคามาจําหนาย ไดแก ปุย และเมล็ดพันธุขาว โดยไดรับงบประมาณมาจากกรมสงเสริมการเกษตรและสหกรณ3. รายไดจากเงินฝาก ธกส.สิ่งจูงใจในการเขาเปนสมาชิก คือ ตองการกูเงินสิ่งที่ตองการพัฒนาในอนาคต คือ การระดมเงินฝากรายเดือนปญหา คือ สมาชิกชําระหนี้ไมครบ โดยปที่แลวชําระเปนจํานวน 90 %4. โครงการสีขาวปลอดสารพิษผลิตขาวกลองเนื่องจากนโยบายของรัฐบาลไดมีโครงการเสริมอาชีพใหราษฎรในชนบทใหมีงานทํา มีอาชีพ เพื่อเพิ่มรายไดใหแกครอบครัว โดยใชวัสดุที่ผลิตไดเอง ดังนั้น ทางหมูบานจึงไดเอากลุมที่มีอยูเดิมซึ่งแตกอนเคยเปนกลุมรานคาชุมชน แตปจจุบันไดหยุดดําเนินการแลว ทางกลุมจึงไดนัดประชุมกันใหมเพื่อรองรับนโยบายของจังหวัดอํานาจเจริญ ตามแผนยุทธศาสตรของจังหวัดที่ตองการใหราษฎรในระดับรากหญาไดมีรายไดเพิ่ม และมีความเปนอยูที่ดีขึ้น เพื่อสนองตอบนโยบายดังกลาว ทางกลุมจึงไดนัดประชุมกันและมีมติเปนอันเดียวกัน ใหจัดซื้อเครื่องสีขาวกลองเพื่อผลิตขาวปลอดสารพิษจําหนาย ตามความตองการของสมาชิก ทางกลุมจึงไดขอทุนเพื่อไปดําเนินการ


คณะกรรมการบริหารโครงการ1. นายอํานวย รักธรรม ประธานกลุม2. นายสวาท ทองดา รองประธานกลุม3. นายเลง บุญเจริญ กรรมการ4. นายสงกรานต แสงเดือน กรรมการ5. นางหนูปน จารุจิตร กรรมการ6. นายทองอินทร รักธรรม กรรมการ7. นายทัย จารุจิตร กรรมการ8. นายวินัย ลาภาอุตม กรรมการ9. นางอนุรักษ รัตนาสุวรรณ กรรมการ10. นายสงวน คณาเสน กรรมการกรรมการเปดบัญชี1. นายนิรัญ ทองดา2. นายประสิทธิ์ บุญมี3. นายพลอย กลางประพันธกรรมการฝายจัดซื้อจัดจาง1. นายอํานวย รักธรรม2. นายเลง บุญเจริญ3. นายสวาท ทองดา4. นายสงวน คณาเสนกรรมการฝายบัญชี – การเงิน (ตรวจ)1. นางหนูปน จารุจิตร2. นายแสวง ไชยมาตย3. นายหนูจันทร สาสารกรรมการที่ปรึกษา1. นายบุญเพ็ง สาทาวงศ ประธานที่ปรึกษา2. นายสุบิน ลาภาอุตม ประชาคมหมูบาน3. นายวีระพงษ ไชยจันทร อบต.หมู 3กรรมการผูตรวจสอบ1. นายสงกรานต แสงเดือน2. นายสมคิด ศิลารักษ3. นายบัวกันต ชยาธรรมจ


ฉ1. ชื่อโครงการ โครงการสีขาวปลอดพิษผลิตขาวกลอง2. สถานที่ตั้ง บานเลขที่ 73 หมูที่ 3 ตําบลคําพระ อําเภอหัวตะพาน จ.อํานาจเจริญ3. หนวยงานที่สนับสนุน องคการบริหารงานสวนตําบลคําพระ4. หลักการและเหตุผลเนื่องจากปจจุบันมีโรงสีขาวตามหมูบาน ไดรับขาวจากชาวบานไปสี โดยทางโรงสีไดเอาทั้งขาวรํา และปลายขาว จึงเปนการสูญเสียแตละป เปนจํานวนขาวอยางมากมาย กลุมจึงมีมติซื้อเครื่องสีขาว เพื่อสีขาวภายในกลุม ลดการสูญเสียขาวแตละป5. วัตถุประสงค1. เพื่อสรางงานสรางอาชีพใหกับราษฎรในชนบท2. เพื่อสรางรายไดเสริมจากขาวของตนเอง3. เพื่อสรางกลุมใหเขมแข็ง4. เพื่อสรางความสามัคคีในกลุม5. เพื่อลดความสูญเสียขาวในแตละป6. เพื่อราษฎรจะไดผลประโยชนจากขาวของตนเอง6. เปาหมายโครงการ1. ราษฎรจะมีรายไดตอปไมนอยกวา 15,000 บาทตอคน2. ราษฎรจะไดรับประโยชนจากขาวตัวเองทั้งหมด3. การมีสวนรวมของราษฎรในชนบทรวมคิดรวมทํา4. เกิดชุมชนเขมแข็งพึ่งตนเองได7. ลักษณะโครงการ1. เปนการสีขาวของกลุม โดยไมไดเอาขาวเปนคาจางสี ทางกลุมจะเอารําปลายขาวและแกลบ เพื่อขายเปนคาไฟฟาของกลุม2. ทําเปนขาวกลองเพื่อจําหนาย3. ราษฎรไดรับประโยชนจํานวน 30 ครอบครัว4. ราษฎรจะไดรับรายไดจากขาวของตนเอง8. ระยะติดตามประเมินผล1. เมื่อไดรับอนุมัติงบประมาณ (เตรียมความพรอมเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2547)


- ติดตามใหคําปรึกษาแกกลุมผลิตขาวกลอง- ติดตามการใชจายงบประมาณใหเปนไปตามวัตถุประสงค2. เมื่อเริ่มดําเนินการผลิตตั้งแตเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2547 สิ้นสุดรอบการผลิต ติดตามผลการผลิตใหเปนไปตามวัตถุประสงค เปาหมาย เชน- การผลิตขาวของกลุมเพื่อจําหนาย- การสีขาวเพื่อบริโภคประจําครัวเรือน3.การติดตามการประเมินผลการจําหนาย- รายจายตนทุน เสียคาไฟฟา รวมรายจาย 700 บาท- รายรับในการผลิตเฉลี่ย9. อุปกรณจัดซื้อรายการราคาเครื่องสีขาว 25000 บาทมิเตอรไฟฟาขนาด 10 แอมป 4000 บาทสายไฟพรอมอุปกรณ 1000 บาทโรงเรียนที่ตั้งเครื่องสี 10000 บาท10. งบประมาณที่จะใชจายงบประมาณโครงการผลิตขาวกลอง1. เครื่องผลิตขาวกลองจํานวน 2 เครื่อง ราคา 30000 บาท2. เครื่องแพ็กถุงจํานวน 1 เครื่อง ราคา 3000 บาท3. ถุงพลาสติกบรรจุขาว ราคา 2000 บาท4. สายไฟตอเติม ราคา 3000 บาท5. เสาปูนขนาด 4x3 เมตร จํานวน 4 ตน ราคา 1000 บาท6. ปูนซีเมนต ทรายสําหรับเทรองพื้นทําโรงเรียน ราคา 1000 บาท7. โรงเรือน ขนาด 4x4 เมตร ราคา 12000 บาท11. ผลที่คาดวาจะไดรับ1. ผลประโยชนที่ไดรับโดยคิดเฉพาะ ผลกําไรเปนรายไดจากสมาชิก ดังนี้1) 30% เปนทนดําเนินการของกลุมขยายการผลิต2) 10% เปนคาตอบแทนของกรรมการบริหารกลุม3) 30% เปนคาตอบแทนสมาชิกผูผลิตช


4) 30% เปนคาตอบแทนสมาชิกทั้งหมด2. เกิดการสรางงานสรางรายได ใหแกกลุมเกษตรกรที่วางงานและเปนอาชีพเสริมหลังฤดูเก็บเกี่ยงของครอบครัว สามารถพัฒนาเห็นรายไดหลักของชุมชนในอนาคต3. สงเสริมใหเกษตรกรไดบริโภคขาวปลอดสารพิษ4. ผลผลิตที่ไดปลอดภัยจากสารพิษ สงผลดีทั้งผูผลิต ผูบริโภค5. ชุมชนมีสวนรวมสามารถเขาใจเรียนรู การแกไขปญหานําสูการพัฒนาเศรษฐกิจระดับชุมชนโดยรวมได เชน1) รายรับของกลุม2) รายจายของกลุม3) ออมทรัพยในกลุม12. การติดตามประเมินผลโครงการคณะกรรมการบริหารกลุมติดตามประเมินผลการดําเนินงานของกลุม- การบริหารจัดการ - การตลาด- การผลิต -การจัดทําบัญชี-การจําหนาย-การเก็บเงิน13. คณะกรรมการผูตรวจ ประกอบดวย กรรมการทุกายที่จะรวมผฏิบัติงานมี 9 คนดังนี้1. นายอํานวย รักธรรม ประธานกรรมการ2. นายสวาท ทองดา รองประธาน3. นายบัวกันต ธยาธรรม เลขานุการ4. นายสงวน คณาเสน เหรัญญิก5. นางหนูปน จารุจิตร ประชาสัมพันธ6. นายทองอินทร รักธรรม กรรมการ7. นายสงกรานต แสงเดือน กรรมการ8. นายวินัย ลาภาอุตม กรรมการ9. นายหนูจันทร สาสาร กรรมการ14. แผนงานขอปฏิบัติขอ 1 สมาชิกตองรวมคิด รวมทําขอ 2 การสีขาวตองหมุนเวียนแตละวันขอ 3 การสีขาวตองไมเอาขาวเปนคาจางขอ 4 กรรมการเหรัญญิกตองมาตรวจและเก็บเงินทุกวันซ


ฌขอ 5 สมาชิกกลุมจองเอาขาวมาสีทุกคนขอ 6 สมาชิกคนใดมีธุระจําเปนตองหาคนมาแทนขอ 7 เมื่อมีปญหาตองรวมกันชวยแกไขปญหาขอ 8 สมาชิกตองปฏิบัติตามระเบียบอยางเครงครัด15. รายชื่อสมาชิกในกลุมรายชื่อสมาชิก ตําแหนง1. นายอํานวย รักธรรม ประธาน2. นายสวาท ทองดา รองประธาน3.นายอนุรักษ รัตนสวรรณ เลขานุการ4.นายแสวง ไชยมาตย เหรัญญิก5.นางหนูปน จารุจิตร ประชาสัมพันธ6.นางทองอินทร รักธรรม กรรมการ7.นางสาวสมบูรณ ลาภาอุตย กรรมการ8.นายสงวน คณาเสน กรรมการ10.นายสงกรานต แสงเดือน กรรมการ11.นายทัย จารุจิตร กรรมการ12.นายหนูจันทร สาสาร กรรมการ13.นายสมควร ไพจิตร กรรมการ14.นายทองจันทร จารจิตร กรรมการ15.นายนาก วามะลุน กรรมการ16.นายพลอย กลางประพันธุ กรรมการ17.นางสุทิน ศิลารักษ กรรมการ18.นางยุพิน สาทาวงศ กรรมการ19.นายสมบูรณ ธยาธรรม กรรมการ20.นายสมาน แสนหัวเมือง กรรมการ21.นายวินัย ลาภาอุตน กรรมการ22.นายสําอาง จารุจิตร กรรมการ23.นายฮู ธรรมวงศ กรรมการ24.นางอารมณ ขันทุปทม กรรมการ25.นางสาวสําอาง ลาภาอุตน กรรมการ26.นายสําเนียง โยคนิตย กรรมการ


ญรายชื่อสมาชิก ตําแหนง27.นายสงคราม ลาภาอุตม กรรมการ28.นายเลง ทองดา กรรมการ29.นายวี ทางไชยสงค กรรมการ30.นายบัวกันต ธยาธรรม กรรมการ31.นายประเทือง ภิรมย กรรมการ32.นางอุทัย รักธรรม กรรมการ33.นายประยงค บุญมี กรรมการ34.นายคําออน มณีแสง กรรมการ35.นางวนิดา จารุจิตร กรรมการ36.นางเลื่อน สารจันทร กรรมการ37.นายนิรัญ ทองดา กรรมการ38.นายประเทือง คําพรมมี กรรมการ39.นางละออง สาทาวงศ กรรมการ40.นางกองศรี สุขา กรรมการ41.นางทองจันทร จารุจิตร กรรมการแบบสอบถามสภาวะสุขอนามัย (ครั้งที่ 1)


ฎจํานวนสมาชิกในครอบครัว………………คนลําดับที่ ชื่อ-สกุล อายุ เพศ ความสัมพันธกับครอบครัว1.แบบสอบถามสภาวะสุขภาพอนามัยบานเลขที่.................... คุม........................................... หมูที่ 3 ต. คําพระ อ.หัวตะพานการศึกษา อาชีพ รายไดตอเดือน(บาท)สถานภาพสมรสหลักประกันสุขภาพโรคประจําตัวน้ําหนัก สวนสูง2.3.4.5.6.7.8.9.10.หมายเหตุ หลักประกันสุขภาพ0 = ไมมีสิทธิ 1 = สิทธิโครงการ 30 บาท 2 = เบิกราชการ/รัฐวิสาหกิจ 3 = พิการ 4 = ประกันสังคม 5 = พระ เณร 6 = ประกันเอกชน 7 = สิทธิอื่นๆ8 = ไมทราบ/ไมตอบ เอกชน


หมวดสุขภาพอนามัยปญหาสาธารณสุขของครอบครัวมีสมาชิกในบานปวยเปนโรคเหลานี้หรือไม ตั้งแต 1 มกราคม 48 มีสมาชิกในบานปวยเปนโรคนี้หรือไมโรคเอดส ( )ไมมี ( ) มี ระบุลําดับที่............... ไขเลือดออก ( )ไมมี ( ) มี ระบุลําดับที่...............ความดันโลหิตสูง ( )ไมมี ( ) มี ระบุลําดับที่............... เลปโตสไปโรซีส ( )ไมมี ( ) มี ระบุลําดับที่...............ขาดสารอาหาร ( )ไมมี ( ) มี ระบุลําดับที่................ โรคอุจจาระรวง ( )ไมมี ( ) มี ระบุลําดับที่................อวน ( )ไมมี ( ) มี ระบุลําดับที่............... อุบัติเหตุจราจร ( )ไมมี ( ) มี ระบุลําดับที่................โรคมะเร็ง ระบุ............ ( )ไมมี ( ) มี ระบุลําดับที่................ โรคพยาธิ ระบุ ............ ( )ไมมี ( ) มี ระบุ.ลําดับที่...............เบาหวาน ( )ไมมี ( ) มี ระบุลําดับที่................ โรควัณโรคปอด ( )ไมมี ( ) มี ระบุ.ลําดับที่...............1. สมาชิกภายในบานที่มีอายุตั้งแต40 ปขึ้นไปเคยตรวจวัดระดับน้ําตาลในเลือดหรือไม ( ) เคย ( ) ไมเคยหมายเหตุ สอบถามเฉพาะผูที่ไมปวยเปนโรคเบาหวาน2. ผูที่เปนโรคเบาหวานมีอาการตางๆเหลานี้หรือไม( ) ชาตามปลายมือปลายเทา ( ) เปนแผลหายชา ( ) อื่นๆ........................................................3. เมื่อมีอาการเจ็บปวยทานทําอยางไร( ) ซื้อยารับประทานเอง ( ) หาหมอพื้นบาน ( ) สถานีอนามัย ( ) คลีนิก ( ) โรงพยาบาล( ) อสม./ศสมชขอมูลเกี่ยวกับอนามัยครอบครัวมี ไมเคยมี เคยมีแตปจจุบันเลิกแลว ความถี่มีสมาชิกในครอบครัวของทานทานอาหารที่สุกๆดิบๆหรือไมมีสมาชิกในครอบครัวของทานสูบบุหรี่หรือไมมีสมาชิกในครอบครัวของทานมีผูดื่มสุราหรือไมมีสมาชิกในครอบครัวของทานสวมหมวกนิรภัยหรือคาดเข็มขัดขณะขับขี่ยานพาหนะหรือไมหมวดทันตสาธารณสุข1. สมาชิกในครอบครัวเคยมีอาการปวดฟน เหงือกบวม ฟนโยก ฟนผุ เสียวฟน หรือไม ( ) มี ( )ไมมี2. สมาชิกในครัวเรือนทานดูแลรักษาฟนอยางไร( ) แปรงฟนเชา หลังอาหารทุกมื้อและกอนนอน ( ) แปรงฟนเชาและกอนนอน( ) แปรงฟนเชา ( ) ไมแปรงฟนหมวดสุขาภิบาลลักษณะสภาพบานดานความมั่นคงแข็งแรง ( ) มั่นคงแข็งแรง ถาวร สามารถอยูไดนาน 5 ปขึ้นไป ( ) ไมมั่นคงถาวรดานความสะอาด ( ) บริเวณบานสะอาด ( ) บริเวณบานไมสะอาดสุขาภิบาลน้ําดื่ม / สุขาภิบาลน้ําใช1. น้ําดื่มในครอบครัวของทานไดมาจากแหลงใดฏ


( ) น้ําฝน ( ) น้ําประปา ( ) น้ําบาดาล ( ) ซื้อน้ําดื่มบรรจุขวด/ถัง ( ) จากที่อื่นๆ…………………………….2. ทานมีการปรับปรุงคุณภาพน้ําที่นํามาใชดื่มหรือไม ถามีทําอยางไร( ) มี (ระบุ) ( ) ตม ( ) กรอง ( ) แกวงสารสม ( ) ไมมี3. ภาชนะบรรจุน้ํามีฝาปดมิดชิดปองกันฝุนละอองและแมลงครบทุกใบหรือไม ( )ครบ ( )ไมครบ ( )ไมมีเลย4. ทานมีน้ําดื่มเพียงพอตอความตองการของสมาชิกในครอบครัวตลอดปหรือไม ( )เพียงพอ ( )ไมเพียพอถาไมเพียงพอจะมีชวงเวลาที่ขาดน้ํานาน ……………. เดือน ซึ่งจะไปหาน้ําดื่มไดจาก…………………………………………..5. น้ําใชในครอบครัวของทานไดมาจากแหลงใด( )น้ําฝน ( )น้ําประปา ( )น้ําบาดาล ( )น้ําบอ ( )อื่นๆระบุ………………………6. ปญหาเรื่องน้ําใชในครอบครัวของทาน คือ( ) ไมเพียงพอ ( ) น้ําขุน ( ) อื่นๆระบุ………………………การกําจัดขยะมูลฝอย7. ในครัวเรือนของทานมีที่รองรับขยะหรือไม ( ) มี ( ) ไมมี8. ในครัวเรือนของทานมีการกําจัดขยะอยางไร( ) ฝงกลบ ( ) เผา ( ) ไปทิ้งที่สวนกลาง ( ) มีรถมาเก็บ ( ) อื่น ๆ ระบุ................9. มีการแยกขยะหรือไม ( ) ไมมี ( ) มีการกําจัดสิ่งปฏิกูล10. ครัวเรือนของทานมีสวมใชหรือไม( ) มี ชนิดของสวมเปน ( )สวมราด ( ) สวมหลุม ( ) อื่นๆ ระบุ…………………………………( )ไมมี11. สวมถูกสุขลักษณะหรือไม( ) ถูกสุขลักษณะ ( )ไมถูกสุขลักษณะ อะไรบางที่ขาด (ผูสัมภาษณประเมิน)……………………………………หมายเหตุ สวมราด มีที่ราดน้ํา ที่เก็บกัก ทอระบายกาซ มีตัวเรือนสวม ประตูปดมิดชิด สะอาดสวมหลุม มีฝาปดมิดชิด มีฝาผนัง มีหลังคา ประตูปดมิดชิด สะอาด12. ในครัวเรือนของทานมีสัตวลี้ยงหรือไม ( ) มี ( ) ไมมี13.ถามี ทานเลี้ยงสัตวอะไรบาง (ตอบไดมากกวา 1 ขอ)( ) สุนัข ( ) โค ( ) กระบือ ( ) สุกร ( ) เปด ( ) ไก ( ) อื่นๆ ระบุ…………………14. ถามีสุกร/วัว/ควาย/เปด/ไก เลี้ยงไวที่ใด (สังเกต)( )เลี้ยงไวในคอก/เลา/นอกตัวบาน ( ) เลี้ยงไวในคอก/เลา/ใตถุนบาน( )ปลอย/ไมมีคอก ( ) อื่นๆ ระบุ ………………………………….15. ทานมีวิธีกําจัดมูลสัตวอยางไร( ) ทําเปนปุยคอก/ ปุยหมัก ( ) ตากเพื่อนําไปขายฐ


ฑ( ) ขุดหลุมฝง ( ) ทิ้งไวเฉยๆ16. ทานมีสุนัข หรือไม ( ) มี ( ) ไมมีถามีสุนัขไดรับการฉีดวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบาหรือไม ( ) ฉีด ( ) ไมฉีด เพราะ……………………เหตุรําคาญ17. บานทานมีมลภาวะทางเสียง( ) ไมมี ( ) มีนอย ( ) มีมาก18. บานทานมีมลภาวะทางกลิ่น( ) ไมมี ( ) มีนอย ( ) มีมากแมลง19. มียุงหรือไม( ) ไมมี ( ) มีนอย ( ) มีมาก20. มีแมลงวันหรือไม( ) ไมมี ( ) มีนอย ( ) มีมาก21. มีแมลงสาบหรือไม( ) ไมมี ( ) มีนอย ( ) มีมาก22. มีหนูหรือไม( ) ไมมี ( ) มีนอย ( ) มีมากหมวดโภชนาการ1.ครอบครัวทานทําอาหารรับประทานเองหรือไม( ) ไมไดทําเลย ( ) ทําเปนสวนนอย ( ) ทําเปนสวนมาก ( ) ทําเปนประจํา2.สถานที่ซื้ออาหารที่นํามาทําอาหาร สวนใหญ( ) ตลาดสด ( ) รถเรขาย ( ) รานขายในหมูบาน ( ) อื่น ๆ ระบุ...................3. การเก็บอาหารที่ปรุงสุกแลว( ) วางไวเฉย ( ) ใชฝาชีครอบ ( ) ใสตูกับขาว ( ) อื่น ๆ ระบุ.................4. การลางมือกอนรับประทานอาหาร( ) ไมไดทําเลย ( ) ทําเปนสวนนอย ( ) ทําเปนสวนมาก ( ) ทําเปนประจํา5. การรับประทานอาหารครบ 5 หมูในแตละวัน( ) ไมไดทานเลย ( ) ทานเปนสวนนอย ( ) ทานเปนสวนมาก ( ) ทานเปนประจํา6. รับประทานอาหารครบ 3 มื้อในแตละวัน( ) ไมไดทานเลย ( ) ทานเปนสวนนอย ( ) ทานเปนสวนมาก ( ) ทานเปนประจํา7. การรับประทานผักและผลไมในแตละวัน( ) ไมไดทานเลย ( ) ทานเปนสวนนอย ( ) ทานเปนสวนมาก ( ) ทานเปนประจํา


8. ใชน้ํามันพืชอะไรในการบริโภคอาหาร( ) น้ํามันพืช ( ) น้ํามันจากสัตว ( )อื่นๆหมวดการคุมครองผูบริโภค1. ทานเคยไดยินเครื่องหมาย อย. ในผลิตภัณฑอาหารหรือไม( ) ไมเคยไดยิน( ) เคยไดยิน ก. ใหถามความหมาย แลวประเมินวาเขาใจหรือไม ( ) เขาใจ ( ) ไมเขาใจข. รูจักจากแหลงใด (ระบุ)…………………………………………………………………………………2. เมื่อทานเลือกซื้ออาหาร เชน น้ําปลา น้ําสมสายชู ปลากระปอง ดูเครื่องหมาย อย. หรือวันหมดอายุหรือไม( ) ดูทุกครั้ง ( ) ดูบางครั้ง ( ) ไมเคยดู3. สําหรับอาหารที่มีเครื่องหมาย อย. ทานซื้อจากแหลงใดเปนสวนใหญ( ) รานชํา ( ) ตลาดนัด ( ) รถเร ( ) รานคาในเมือง ( ) อื่นๆ ระบุ…………………………ฒ


แบบสอบถามสภาวะสุขอนามัย (ครั้งที่ 2)แบบสอบถามเรื่องสุขภาพขอมูลทั่วไปชื่อ....................................................... นามสกุล............................................. อายุ..............................เเพศ ชาย หญิงบานเลขที่.............................หมู 3 ต.คําพระการออกกําลังกาย1.ทานเขาใจความหมายของการออกกําลังกายหรือไม (ผูสัมภาษณประเมิน)เขาใจไมเขาใจ2.ทานออกกําลังกายหรือไมใชไมใช3.ทานใชเวลาในการออกกําลังกายครั้งละอยางนอย 30 นาทีโดยออกกําลังกายอยางนอย 3 ครั้งตอสัปดาหขึ้นไปใชไมใช(การออกกําลังกาย หมายถึง การทํากิจกรรมอยางตอเนื่องอยางนอย 30 นาที หรือ ทํากิจกรรมชวงสั้น ๆ อยางนอย 10 นาทีวันละ 3 ครั้ง โดยใหมีอัตราการหายใจเร็วขึ้นกวาปกติโดยไมหอบ)แบบสอบถามดานอนามัยสิ่งแวดลอม1. การจัดบานถูกสุขลักษณะใชไมใช(บานถูกสุขลักษณะ หมายถึง บานสะอาด จัดเปนระเบียบ อากาศถายเทดี และมีแสงสวางเพียงพอ)2. ลักษณะครัวครัวสะอาด มีที่รองรับขยะมีการเก็บอาหารมิดชิด อื่นๆ (ระบุ)3.การเก็บภาชนะอุปกรณในครัวเก็บสูงจากพื้น 60 ซม. ขึ้นไป เก็บสูงจากพื้นต่ํากวา 60 ซม.4. ในครัวเรือนของทานมีแหลงน้ําขังหรือไม เชน น้ําในจานรองขาตู, ยางรถยนต ฯลฯมีไมมี5.การกําจัดสัตวนําโรคหนู กาวดัก กับดัก อื่นๆ (ระบุ).................แมลงสาบ ฆาทันที ยาฉีด อื่นๆ (ระบุ).................แมลงวัน ไมตี กาวจับ อื่นๆ (ระบุ).................ยุง มือตบ ยาฉีด (ระบุชื่อ) ........................................................ไมตียุง/ที่ช็อตยุงลูกน้ํายุงลาย เกลือแกง ทรายอะเบทเลี้ยงปลาหางนกยูง เลี้ยงลูกน้ํายุงยักษดานเศรษฐกิจในครัวเรือนของทานรายไดเพียงพอกับรายจายหรือไมเพียงพอและเหลือเก็บ เพียงพอไมเหลือเก็บไมเพียงพอ, มีหนี้จาก ธกส. กลุมสหกรณการเกษตรเงินกองทุนหมูบาน กลุมออมทรัพย ม. 3 บานคําพระณ


ดหนี้นอกระบบ อื่นๆ (ระบุ).................................แบบสอบถามความถี่ของอาหารบริโภคคําชี้แจง โดยปกติแลว ทานกินอาหารประเภทนี้บอยเพียงใด โปรดทําเครื่องหมาย / ในชอง ตรงตามความถี่ของการกินอาหารแตละประเภทใหครบทุกรายการประเภทอาหารนมและผลิตภัณฑชนิดครบสวนนมและผลิตภัณฑชนิดพรองไขมันไอศกรีมที่มีนมเปนสวนผสมเนื้อวัว-เนื้อหมูติดมัน หมูสามชั้น ขาหมูคอหมูเปด ไก หาน ติดหนังหมูเนื้อแดง เนื้อสันใน ไก-เปด ไมติดหนังเครื่องในสัตวทุกชนิด สมองกุง ปู หอยนางรม ปลาหมึกปลามันมาก เชน ปลาสวาย ปลาดุกปลามันนอย ปลาทะเล ปลานิลไขไก ไขเปด ไขนกกระทาอาหารทอด เชน ปลาทอด ไกทอด หมูทอด เนื้อทอด กุงทอด ทอดมัน ไขดาวไขเจียว ผักชุบแปงทอดขาวเหนียวขาวสวย หรือขาวหุงอาหารที่ใชกะทิเปนสวนประกอบขนมหวาน ของหวานอาหารหมักดอง เชน ปลาราปลาจอม หอมดอง ผักเสี้ยนดองผักผลไมทุกวัน บอยมาก บอย ไมบอย นานๆครั้ง≥1 ครั้ง/ ≥4 ครั้ง/ 1-3 ครั้ง/ 1-3 ครั้ง/


เอกสารอางอิงโกมาตร จึงเสถียรทรัพย .วิถีชุมชน. สถาบันวิจัยและสุขภาพ . นนทบุรี . ป2545ชนินทร เจริญกุล. การพัฒนาอนามัยชนบทเบ็ดเสร็จ.คณะสาธารณสุขศาสตรม.มหิดล.กรุงเทพมหานคร. พ.ศ.2548ประณีต ผองแผว.โภชนศาสตรชุมชน.ในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงภาวะเศรษฐกิจอยางรวดเร็ว.กรุงเทพ.พ.ศ.2539ภารดี เต็มเจริญ .เอกสารการสอนวิชาโภชนศาสตรชุมชน 2 .วชิระ สิงหะคเชนทร.ประชากรศาสตร กรุงเทพ.ศรีทองคําการพิมพ.2544

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!