19.04.2014 Views

99201-3

99201-3

99201-3

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

เคมีพื ้นฐาน 3-9<br />

(2) คอลลอยด์ (colloid) เป็นสารเนื ้อผสมที ่ดูเหมือนจะเป็นเนื ้อเดียวกัน มีลักษณะขุ ่น<br />

ไม่ตกตะกอน ขนาดของอนุภาคสารมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 10 -7 -10 -4 เซนติเมตร อนุภาคคอลลอยด์จะเกาะตัว<br />

กันใหญ่กว่าโมเลกุลแต่ไม่ใหญ่มากนัก คอลลอยด์ไม่ตกตะกอนเมื ่อวางทิ ้งไว้เพราะมีอนุภาคขนาดเล็กเคลื ่อนที ่แบบ<br />

ไม่เป็นระเบียบและไร้ทิศทาง วิ ่งชนกันตลอดเวลาเรียกว่าการเคลื ่อนที ่แบบบราวเนียน (Brownian movement)<br />

เมื ่อท าการส่องแสงผ่านสารคอลลอยด์จะเกิดการกระเจิงของแสง ท าให้มองเห็นล าแสงได้อย่างชัดเจนเรียกว่าปรากฏ-<br />

การณ์ทินดอลล์ (Tyndall effect) ดังแสดงในภาพที ่ 3.4 ซึ ่งค้นพบโดยนักวิทยาศาสตร์ชาวไอร์แลนด์ ชื ่อ จอนห์<br />

ทินดอลล์<br />

(ก) เปรียบเทียบผลที ่เกิดขึ ้นเมื ่อส่องแสงผ่านสารละลายและสารคอลลอยด์<br />

(ข) เมื ่อแสงผ่านหมอก หรือฝุ ่นละอองในอากาศจะมองเห็นล าแสงอย่างชัดเจน<br />

ภาพที่ 3.4 ปรากฏการณ์ทินดอลล์<br />

ที่มา ก: http://www.realmagick.com/tyndall-effect/ ค้นคืนเมื ่อ 10 ส.ค. 2555<br />

ที่มา ข: http://www.tech-faq.com/tyndall-effect.html และ<br />

http://www.maceducation.com/e-knowledge/2422210100/19_files/19-4.jpg<br />

ค้นคืนเมื ่อ 20 ก.ย. 2555

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!