19.04.2014 Views

99201-3

99201-3

99201-3

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

้<br />

่<br />

3-8 วิทยาศาสตร์ส าหรับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร<br />

- โลหะ ส่วนใหญ่มีสถานะเป็นของแข็งยกเว้นปรอทที ่มีสถานะเป็นของเหลว โลหะจะ<br />

มีผิวมันวาว สะท้อนแสงได้ดี เมื ่อตีแล้วจะเกิดเสียงดังกังวาน มีความเหนียว และสามารถตีแผ่เป็นเส้นหรือเป็นแผ่น<br />

ได้ จุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง เป็นตัวน าไฟฟ้าได้ดี ตัวอย่างโลหะ ได้แก่ เหล็ก สังกะสี โครเมียม เงิน ทองแดง<br />

เป็นต้น<br />

- อโลหะ เป็นธาตุที ่มีหลายสถานะทั้งสถานะของแข็ง ของเหลว และแก๊ส อโลหะที ่เป็น<br />

ของแข็งจะมีผิวด้าน เคาะแล้วไม่ดังกังวาน มีความเปราะ โดยส่วนใหญ่จะมีจุดเดือด จุดหลอมเหลวต ่า และไม่น า<br />

ไฟฟ้า ตัวอย่างอโลหะ ได้แก่ คาร์บอน ก ามะถัน โบรมีน ออกซิเจน เป็นต้น<br />

- กึ ่งโลหะ เป็นธาตุที ่มีสมบัติทั้งโลหะและอโลหะ มีอยู่เพียงไม่กี ่ชนิด ได้แก่ พลวง<br />

โบรอน ซิลิกอน และอาร์เซนิก ธาตุกึ ่งโลหะส่วนใหญ่จะมีความมันวาวและเป็นเงา เป็นสารกึ ่งตัวน า สามารถน าไฟฟ้า<br />

ได้บ้างที ่อุณหภูมิปกติ และน าไฟฟ้าได้มากขึ ้นเมื ่ออุณหภูมิสูงขึ ้น<br />

ข. สารประกอบ หมายถึง สารบริสุทธิ ์เนื ้อเดียวที ่ประกอบด้วยอะตอมของธาตุตั้งแต่ 2<br />

ชนิดขึ ้นไปมารวมกันด้วยพันธะเคมี หรือแรงยึดเหนี ่ยว เกิดเป็นสารชนิดใหม่ที ่มีสมบัติต่างจากสารเดิม และมี<br />

อัตราส่วนของธาตุที ่เป็นองค์ประกอบคงที ่เสมอ เช่น น ้า มีสูตรโมเลกุลเป็น H 2 O เกิดจากธาตุไฮโดรเจน (H) ซึ ่งติด<br />

ไฟ และธาตุออกซิเจน (O) ซึ ่งช่วยให้ไฟติด แต่เมื ่อรวมตัวกันด้วยอัตราส่วน H:O เป็น 2:1 จะกลายเป็นน ้าซึ ่งเป็น<br />

สารประกอบ สมบัติที ่ได้จะเปลี ่ยนไปจากเดิมคือกลายเป็นน ้าซึ ่งดับไฟได้ เป็นต้น<br />

(2) สารละลาย หมายถึง สารเนื ้อเดียวที ่ประกอบด้วยสารบริสุทธิ ์ตั้งแต่ 2 ชนิดขึ ้นไปมาผสมกัน<br />

โดยไม่จ าเป็นต้องมีอัตราส่วนที ่คงที ่ ประกอบไปด้วยส่วนประกอบที ่ส าคัญคือ ตัวท าละลาย (solvent) ซึ ่งเป็นสารที ่มี<br />

จ านวนมากกว่า และตัวถูกละลาย (solute) ซึ ่งเป็นสารที ่มีจ านวนน้อยกว่าและละลายอยู่ในตัวท าละลาย โดยสารที<br />

ละลายอยู่มีเส้นผ่าศูนย์กลางของอนุภาคน้อยกว่า 1 10 -7 เซนติเมตร จึงมองไม่เห็นการแยกตัวของสาร การรวมตัว<br />

ของสารละลายนั้นอาจอยู่ในรูปของแข็ง ของเหลวหรือแก๊ส ตัวอย่างเช่น น ้าเชื ่อมเป็นการน าน ้าตาลซึ ่งเป็นของแข็งมา<br />

ละลายในน ้าได้สถานะของสารละลายเป็นของเหลว หรือนากเป็นส่วนประกอบที ่เกิดจากทองค าและเงินที ่ละลายใน<br />

ทองแดงได้สถานะของสารละลายเป็นของแข็ง เป็นต้น<br />

2.2 สารเนื้อผสม คือ สารที ่มีลักษณะของเนื ้อสารไม่เป็นเนื ้อเดียวกัน เนื ้อสารในแต่ละส่วนมีสมบัติ<br />

ต่างกัน โดยสารที ่เป็นส่วนผสมแต่ละชนิดยังคงแสดงสมบัติของสารเดิม เนื ่องจากเป็นการรวมกันทางกายภาพไม่มี<br />

การเปลี ่ยนแปลงทางเคมีเกิดขึ ้น สารเนื ้อผสมมีทั้ง 3 สถานะ ดังนี<br />

1) สารเนื ้อผสมสถานะของแข็ง เช่น ทราย คอนกรีต ดิน เป็นต้น<br />

2) สารเนื ้อผสมสถานะของเหลว เช่น น ้าคลอง น ้าโคลน น ้าสลัด เป็นต้น<br />

3) สารเนื ้อผสมสถานะแก๊ส เช่น ฝุ ่นละอองในอากาศ ควัน เป็นต้น<br />

ซึ ่งการแบ่งสารเนื ้อผสมสามารถแบ่งตามขนาดของอนุภาคเป็นหลักได้ 2 ประเภทคือ<br />

(1) สารแขวนลอย (suspension) คือสารเนื ้อผสมที ่มีอนุภาคของแข็งซึ ่งมีเส้นผ่านศูนย์กลาง<br />

ของอนุภาคสารใหญ่กว่า 1 10 -4 เซนติเมตร แขวนลอยอยู่ในตัวกลางที ่เป็นของเหลว ไม่รวมเป็นเนื ้อเดียวกัน<br />

สามารถมองเห็นสารผสมได้อย่างชัดเจน มีลักษณะขุ ่น เมื ่อตั้งทิ ้งไว้จะตกตะกอน ตัวอย่างเช่น น ้าคลอง น ้าโคลน<br />

น ้าแกงส้ม เป็นต้น

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!