19.04.2014 Views

99201-3

99201-3

99201-3

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

้<br />

3-66 วิทยาศาสตร์ส าหรับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร<br />

ตารางที่ 3.11 แสดงการเปรียบเทียบเซลล์แกลวานิกและเซลล์อิเล็กโทรไลต์<br />

เซลล์แกลวานิก<br />

1. เป็นเซลล์ไฟฟ้าเคมีที ่เปลียนพลังงานเคมีให้ เป็น<br />

พลังงานไฟฟ้า<br />

2. ขั้วแอโนด เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน<br />

3. ขั้วแคโทด เกิดปฏิกิริยารีดักชัน<br />

4. ขั้วลบ เป็นขั้วที ่อิเล็กตรอนไหลออก<br />

5. ขั้วบวก เป็นขั้วที ่อิเล็กตรอนไหลเข้า<br />

6. ศักย์ไฟฟ้าของเซลล์เป็นบวก<br />

7. ปฏิกิริยาเกิดขึ ้นได้ เอง<br />

เซลล์อิเล็กโทรไลต์<br />

1. เป็นเซลล์ไฟฟ้าเคมีที ่เปลี ่ยนพลังงานไฟฟ้าให้ เป็น<br />

พลังงานเคมี<br />

2. ขั้วแอโนด เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน<br />

3. ขั้วแคโทด เกิดปฏิกิริยารีดักชัน<br />

4. ขั้วลบ เป็นขั้วที ่ต่อเข้ากับขั้วลบของแหล่งก าเนิดไฟฟ้า<br />

5. ขั้วบวก เป็นขั้วที ่ต่อกับขั้วบวกของแหล่งก าเนิดไฟฟ้า<br />

6. ศักย์ไฟฟ้าของเซลล์เป็นลบ<br />

7. ปฏิกิริยาเคมีจะเกิดขึ ้นได้ต้องใช้กระแสไฟฟ้า<br />

ประโยชน์ของกระบวนการอิเล็กโทรไลซิส เช่น การแยกสารเคมีด้วยกระแสไฟฟ้า การชุบโลหะ และการท า<br />

ให้โลหะให้บริสุทธิ ์ ดังนี<br />

1) การแยกสารประกอบไอออนิกหลอมเหลวด้วยไฟฟ้ า ได้แก่ สารประกอบไอออนิก เช่น เกลือ<br />

โซเดียมคลอไรด์ (NaCl) เมื ่อท าให้หลอมเหลว จะเกิดเป็นไอออนบวก และไอออนลบขึ ้น เมื ่อผ่านกระแสไฟฟ้าลงไป<br />

ในสารประกอบไอออนิกที ่หลอมเหลวนี ้ จะท าให้ไอออนบวกเคลื ่อนที ่เข้าหาขั้วลบ เพื ่อเข้าไปรับอิเล็กตรอนหรือ<br />

เกิดปฏิกิริยารีดักชัน ส่วนไอออนลบจะเคลื ่อนที ่เข้าหาขั้วบวก เพื ่อจ่ายอิเล็กตรอนหรือเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน<br />

ดังแสดงในภาพที ่ 3.39<br />

ภาพที่ 3.39 การแยกสารประกอบโซเดียมคลอไรด์ด้วยไฟฟ้ า

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!