99201-3

99201-3 99201-3

19.04.2014 Views

้ 3-64 วิทยาศาสตร์ส าหรับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2) เซลล์ทุติยภูมิ คือ เซลล์ที ่ใช้ผลิตกระแสไฟฟ้าจากปฏิกิริยาเคมีแล้วสามารถท ากลับให้อยู่ในสภาพ เดิมได้อีกโดยให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านในทิศทางตรงกันข้ามกับการจ่ายไฟ (discharge) หรือเรียกว่าการอัดไฟใหม่ วิธีการนี ้เป็นการให้ประจุใหม่แก่เซลล์ เซลล์ชนิดนี ้ได้แก่ แบตเตอรี ่ตะกั่ว-กรด แบตเตอรี ่แบบนิกเกิล-แคดเมียม เป็นต้น ตัวอย่างการเกิดเซลล์ทุติยภูมิของแบตเตอรี ่ตะกั่ว-กรด ดังแสดงในภาพที ่ 3.37 ภาพที่ 3.37 แบบจ าลองเซลล์แบตเตอรี่ จากภาพที ่ 3.37 เป็นเซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่วหรือแบตเตอรี ่ตะกั่ว-กรด หรือที ่เรียกกันโดยทั่วไปว่า แบตเตอรี ่ เป็นเซลล์ที ่นิยมใช้กันมากในรถยนต์ เซลล์นี ้ประกอบด้วยขั้วตะกั่วเหมือนกัน 2 ขั้ว จุ ่มอยู่ในสารละลาย กรดซัลฟูริก (H 2 SO 4 ) ก่อนน ามาใช้ต้องน าไปอัดไฟก่อนจึงจะจ่ายไฟได้ และเมื ่อจ่ายไฟหมดแล้วสามารถน าไปอัดไฟ ใหม่ได้อีกเซลล์ใหม่ 1 เซลล์มีความต่างศักย์ 2 โวลต์ โดยการอัดไฟครั้งแรกมีลักษณะเป็นเซลล์อิเล็กโทรไลต์ เพราะ ต้องใช้พลังงานจากภายนอกใส่เข้าไปก่อน การอัดไฟครั้งแรก มีการเปลี ่ยนแปลงดังนี ที ่ขั้วแอโนด 2H 2 O(l) + O 2 (g) 4H + (aq) + 4e - Pb (s) + O 2 (g) PbO 2 (s) รวมปฏิกิริยา Pb(s) + 2H 2 O(l) PbO 2 (s) + 4H + (aq) + 4e - ที ่ขั้วแคโทด 2H + (aq) + 2 e - H 2 (g) ดังนั้นในการประจุไฟครั้งแรกขั้วตะกั่ว A ท าปฏิกิริยากับออกซิเจน (O 2 ) แล้วขั้วตะกั่วกลายเป็นตะกั่ว ออกไซด์ (PbO 2 ) ขณะที ่ขั้วตะกั่ว B เกิดก๊าซ H 2 ส่วนขั้วไม่เปลี ่ยนแปลง การจ่ายไฟ มีลักษณะเป็นเซลล์แกลวานิก เมื ่อน าเซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่วไปต่อวงจรเพื ่อใช้งาน พบว่าเข็มของโวลต์มิเตอร์เบนจากขั้ว B เข้าหาขั้ว A ซึ ่งเปลี ่ยนเป็นตะกั่วออกไซด์ (PbO 2 ) ขณะจ่ายไฟที ่ขั้ว A และ B จะมีสารสีขาวซึ ่งไม่ละลายน ้าคือตะกั่วซัลเฟต (PbSO 4 ) เกิดขึ ้นอย่างต่อเนื ่อง ท าให้เกิดความเข้มข้นของ กรดซัลฟุริก (H 2 SO 4 ) ลดลง ในที ่สุดเมื ่อขั้วไฟฟ้าทั้งสองกลายเป็น PbSO 4 เหมือนกัน ศักย์ไฟฟ้าทั้งสองขั้วจึงเท่ากัน และไม่สามารถจ่ายไฟได้อีก

่ เคมีพื ้นฐาน 3-65 การประจุไฟครั้งที่ 2 เมื ่อจ่ายไฟหมดจะน าเซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่วไปประจุไฟอีกครั้ง โดยต่อ ขั้วลบของเครื ่องก าเนิดไฟฟ้ากระแสตรงเข้ากับขั้ว B และต่อขั้วบวกเข้ากับขั้ว A จะเกิดปฏิกิริยาในทิศทางตรงกัน ข้ามกับการจ่ายไฟ เมื ่อท าการประจุไฟที ่ขั้ว A จะกลายเป็น PbO 2 ส่วนขั้ว B กลายเป็น Pb และมีกรด H 2 SO 4 เกิดขึ ้นใหม่ ท าให้เซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่วมีลักษณะเหมือนก่อนหมดไฟ จึงจ่ายไฟได้อีกครั้ง ถึงแม้ว่าเซลล์สะสม ไฟฟ้าแบบตะกั่วจะมีการอัดไฟใหม่ได้ แต่การอัดไฟบ่อยๆ ท าให้สภาพของขั้วกร่อนลงเรื ่อยๆ จึงเกิดการเสื ่อมสภาพ ของขั้วท าให้แบตเตอรี ่เสื ่อมสภาพ ไม่สามารถน ามาใช้งานได้อีก 2. เซลล์อิเล็กโทรไลต์ คือเซลล์ไฟฟ้าเคมีที ่มีการเปลี ่ยนแปลงพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเคมี โดยการจ่าย กระแสไฟฟ้าตรงเข้าไปแล้วเกิดปฏิกิริยาเคมี เรียกกระบวนการที ่ใช้กระแสไฟฟ้านี ้ว่า กระบวนการอิเล็กโทรไลซิส (electrolysis process) ดังนั้นการเกิดเซลล์อิเล็กโทรไลต์ต้องประกอบด้วยส่วนส าคัญ คือ แหล่งก าเนิดไฟฟ้ า กระแสตรง สารละลายอิเล็กโทรไลต์ ซึ ่งเป็นสารที ่มีสถานะเป็นของเหลวประกอบด้วยไอออนที ่เคลื ่อนที ่ และน าไฟฟ้า ได้ และขั้วไฟฟ้ าซึ ่งประกอบด้วยขั้วแอโนดในที ่นี ้จะเป็นขั้วบวกที ่ต่อเข้ากับขั้วบวกของแหล่งก าเนิดไฟฟ้ า จะเกิด ปฏิกิริยาออกซิเดชัน และขั้วแคโทดในที ่นี ้เป็นขั้วลบที ่ต่อเข้ากับขั้วลบของแหล่งก าเนิดไฟฟ้า จะเกิดปฏิกิริยารีดักชัน กล่าวคือ ไอออนบวกในสารละลายจะมารับอิเล็กตรอนที ่ขั้วนี ้ ลักษณะการเกิดเซลล์อิเล็กโทรไลต์ดังแสดงในภาพที 3.38 ภาพที่ 3.38 ตัวอย่างการเกิดเซลล์อิเล็กโทรไลต์ เซลล์แกลวานิกและเซลล์อิเล็กโทรไลต์ มีความคล้ายคลึงและความแตกต่างกัน ซึ ่งเปรียบเทียบกันได้ดัง ตารางที ่ 3.11

่<br />

เคมีพื ้นฐาน 3-65<br />

การประจุไฟครั้งที่ 2 เมื ่อจ่ายไฟหมดจะน าเซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่วไปประจุไฟอีกครั้ง โดยต่อ<br />

ขั้วลบของเครื ่องก าเนิดไฟฟ้ากระแสตรงเข้ากับขั้ว B และต่อขั้วบวกเข้ากับขั้ว A จะเกิดปฏิกิริยาในทิศทางตรงกัน<br />

ข้ามกับการจ่ายไฟ เมื ่อท าการประจุไฟที ่ขั้ว A จะกลายเป็น PbO 2 ส่วนขั้ว B กลายเป็น Pb และมีกรด H 2 SO 4<br />

เกิดขึ ้นใหม่ ท าให้เซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่วมีลักษณะเหมือนก่อนหมดไฟ จึงจ่ายไฟได้อีกครั้ง ถึงแม้ว่าเซลล์สะสม<br />

ไฟฟ้าแบบตะกั่วจะมีการอัดไฟใหม่ได้ แต่การอัดไฟบ่อยๆ ท าให้สภาพของขั้วกร่อนลงเรื ่อยๆ จึงเกิดการเสื ่อมสภาพ<br />

ของขั้วท าให้แบตเตอรี ่เสื ่อมสภาพ ไม่สามารถน ามาใช้งานได้อีก<br />

2. เซลล์อิเล็กโทรไลต์ คือเซลล์ไฟฟ้าเคมีที ่มีการเปลี ่ยนแปลงพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเคมี โดยการจ่าย<br />

กระแสไฟฟ้าตรงเข้าไปแล้วเกิดปฏิกิริยาเคมี เรียกกระบวนการที ่ใช้กระแสไฟฟ้านี ้ว่า กระบวนการอิเล็กโทรไลซิส<br />

(electrolysis process) ดังนั้นการเกิดเซลล์อิเล็กโทรไลต์ต้องประกอบด้วยส่วนส าคัญ คือ แหล่งก าเนิดไฟฟ้ า<br />

กระแสตรง สารละลายอิเล็กโทรไลต์ ซึ ่งเป็นสารที ่มีสถานะเป็นของเหลวประกอบด้วยไอออนที ่เคลื ่อนที ่ และน าไฟฟ้า<br />

ได้ และขั้วไฟฟ้ าซึ ่งประกอบด้วยขั้วแอโนดในที ่นี ้จะเป็นขั้วบวกที ่ต่อเข้ากับขั้วบวกของแหล่งก าเนิดไฟฟ้ า จะเกิด<br />

ปฏิกิริยาออกซิเดชัน และขั้วแคโทดในที ่นี ้เป็นขั้วลบที ่ต่อเข้ากับขั้วลบของแหล่งก าเนิดไฟฟ้า จะเกิดปฏิกิริยารีดักชัน<br />

กล่าวคือ ไอออนบวกในสารละลายจะมารับอิเล็กตรอนที ่ขั้วนี ้ ลักษณะการเกิดเซลล์อิเล็กโทรไลต์ดังแสดงในภาพที<br />

3.38<br />

ภาพที่ 3.38 ตัวอย่างการเกิดเซลล์อิเล็กโทรไลต์<br />

เซลล์แกลวานิกและเซลล์อิเล็กโทรไลต์ มีความคล้ายคลึงและความแตกต่างกัน ซึ ่งเปรียบเทียบกันได้ดัง<br />

ตารางที ่ 3.11

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!