99201-3

99201-3 99201-3

19.04.2014 Views

3-6 วิทยาศาสตร์ส าหรับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่มา: Chang Raymond and Overby Jason, 2011. ภาพที่ 3.1 ตัวอย่างการเปลี่ยนสถานะของน ้า ในปัจจุบันมีการแบ่งสถานะของสารเพิ ่มมาเป็นสถานะที ่ 4 คือพลาสมา เป็นสถานะที ่ยังไม่คุ้นเคยมากนัก เนื ่องจากส่วนใหญ่เป็นสถานะที ่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าทางฟิสิกส์ โดยสถานะพลาสมาคือ แก๊สที ่มีสภาพเป็นไอออน เกิดจากการได้รับพลังงานที ่มากพอจนท าให้อิเล็กตรอนหลุดออกจากอะตอมเกิดเป็นไอออนบวกและลบ จึงเกิดประจุ ไฟฟ้าอิสระบนอะตอม ท าให้สถานะพลาสมามีสภาพน าไฟฟ้า แบบจ าลองอนุภาคของสารทั้ง 4 สถานะเมื ่อมีการให้พลังงานเพิ ่มขึ ้นแสดงดังภาพที ่ 3.2 (ก) ของแข็ง (ข) ของเหลว (ค) แก๊ส (ง) พลาสมา ภาพที่ 3.2 แบบจ าลองอนุภาคของสารทั ้ง 4 สถานะเมื่อมีการให้พลังงานเพิ่มขึ้น

้ เคมีพื ้นฐาน 3-7 2. การแบ่งประเภทตามลักษณะเนื้อสาร เป็นการจ าแนกประเภทของสารโดยใช้ลักษณะเนื ้อสารและขนาด ของอนุภาคสารเป็นเกณฑ์ สามารถท าการจ าแนกเบื ้องต้นได้จากการสังเกตและการมองเห็นจากลักษณะทางกายภาพ เช่น พื ้นผิว สี สถานะของสาร เป็นต้น ซึ ่งแบ่งสารเป็น 2 ส่วน คือ สารเนื ้อเดียว (homogeneous mixture) และ สารเนื ้อผสม (heterogeneous mixture) ดังแสดงในภาพที ่ 3.3 ภาพที่ 3.3 แสดงการแบ่งชนิดของสารตามเนื้อสาร 2.1 สารเนื้อเดียว หมายถึง สารที ่มีสมบัติเหมือนกันตลอดทุกส่วน ซึ ่งอาจมีส่วนประกอบเป็นสาร เพียงชนิดเดียวหรือมากกว่าหนึ ่งชนิดผสมกันอยู่อย่างกลมกลืน และมองเห็นเป็นเนื ้อเดียวกัน พบได้ทั้ง 3 สถานะ ดังนี 1) สารเนื ้อเดียวสถานะของแข็ง เช่น เหล็ก ทองค า ทองแดง หินปูน เกลือแกง เป็นต้น 2) สารเนื ้อเดียวสถานะของเหลว เช่น น ้าเกลือ น ้าอัดลม น ้าเชื ่อม น ้านม เป็นต้น 3) สารเนื ้อเดียวสถานะแก๊ส เช่น อากาศ แก๊สหุงต้ม แก๊สออกซิเจน เป็นต้น ซึ ่งเมื ่อแบ่งสารเนื ้อเดียวตามส่วนประกอบภายในสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ (1) สารบริสุทธิ ์ หมายถึง สารเนื ้อเดียวที ่ประกอบด้วยสารเพียงชนิดเดียว ได้แก่ ธาตุ (element) และสารประกอบ (compound) ก. ธาตุ หมายถึง สารบริสุทธิ ์เนื ้อเดียวที ่ไม่สามารถแยกเป็นสารใหม่ต่อไปได้อีก เมื ่อแบ่ง ตามสมบัติทางกายภาพของธาตุสามารถแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ โลหะ กึ ่งโลหะ และอโลหะ โดยแต่ละประเภทมี สมบัติดังนี ้

3-6 วิทยาศาสตร์ส าหรับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร<br />

ที่มา: Chang Raymond and Overby Jason, 2011.<br />

ภาพที่ 3.1 ตัวอย่างการเปลี่ยนสถานะของน ้า<br />

ในปัจจุบันมีการแบ่งสถานะของสารเพิ ่มมาเป็นสถานะที ่ 4 คือพลาสมา เป็นสถานะที ่ยังไม่คุ้นเคยมากนัก<br />

เนื ่องจากส่วนใหญ่เป็นสถานะที ่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าทางฟิสิกส์ โดยสถานะพลาสมาคือ แก๊สที ่มีสภาพเป็นไอออน<br />

เกิดจากการได้รับพลังงานที ่มากพอจนท าให้อิเล็กตรอนหลุดออกจากอะตอมเกิดเป็นไอออนบวกและลบ จึงเกิดประจุ<br />

ไฟฟ้าอิสระบนอะตอม ท าให้สถานะพลาสมามีสภาพน าไฟฟ้า<br />

แบบจ าลองอนุภาคของสารทั้ง 4 สถานะเมื ่อมีการให้พลังงานเพิ ่มขึ ้นแสดงดังภาพที ่ 3.2<br />

(ก) ของแข็ง (ข) ของเหลว (ค) แก๊ส (ง) พลาสมา<br />

ภาพที่ 3.2 แบบจ าลองอนุภาคของสารทั ้ง 4 สถานะเมื่อมีการให้พลังงานเพิ่มขึ้น

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!