99201-3

99201-3 99201-3

19.04.2014 Views

้ 3-42 วิทยาศาสตร์ส าหรับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ภาพที่ 3.28 อิเล็กตรอนและไอออนบวกในก้อนโลหะ โดยทั่วไปโลหะจะเป็นของแข็ง ยกเว้นปรอทที ่เป็นของเหลว ส าหรับสมบัติของพันธะโลหะนั้น เป็นผลมาจาก อิเล็กตรอนอิสระที ่เคลื ่อนที ่อยู่ในก้อนโลหะนั่นเอง สมบัติที ่พบโดยทั่วไปของโลหะ คือ - เป็นตัวน าไฟฟ้าที ่ดี เพราะอิเล็กตรอนเคลื ่อนที ่ได้ง่ายทั่วก้อนโลหะ - มีจุดหลอมเหลวสูง เพราะเวเลนซ์อิเล็กตรอนของอะตอมทั้งหมดในก้อนโลหะยึดเหนี ่ยวอะตอมไว้ อย่างเหนียวแน่น - โลหะสามารถตีแผ่เป็นแผ่นบางๆได้ เพราะมีกลุ่มเวเลนต์อิเล็กตรอนท าหน้าที ่ยึดอนุภาคให้เรียงกัน ไม่ขาดออกจากกัน - โลหะมีผิวเป็นมันวาว เพราะกลุ่มอิเล็กตรอนที ่เคลื ่อนที ่โดยอิสระมีปฏิกิริยาต่อแสง คือรับ สะท้อน แสง และกระจายแสงออกมา ท าให้มองเห็นเป็นมันวาว - โลหะน าความร้อนได้ดี เพราะอิเล็กตรอนอิสระเคลื ่อนที ่ได้ทุกทิศทาง เมื ่ออิเล็กตรอนได้รับความร้อน จะท าให้เกิดพลังงานจลน์สูง และการถ่ายเทไปยังส่วนที ่มีความร้อนต ่ากว่า จึงท าให้เกิดการน าความร้อนได้ดี นอกจากพันธะภายในโมเลกุลทั้ง 3 แบบที ่กล่าวมาแล้วนั้น พันธะระหว่างโมเลกุลที ่ส าคัญอีกพันธะหนึ ่งคือ พันธะไฮโดรเจน (Hydrogen bond) พันธะไฮโดรเจน ไฮโดรเจนเป็นธาตุที ่มีเพียงหนึ ่งเวเลนซ์อิเล็กตรอน โดยปกติจะสร้างพันธะเดียวกับอะตอมที ่มีค่าอิเล็ก- โทรเนกาติวิตีสูง และมีขนาดเล็ก ได้แก่ ฟลูออรีน ออกซิเจน และไนโตรเจน (F O และ N ตามล าดับ) แล้วเกิด พันธะโคเวเลนซ์มีขั้วชนิดที ่มีสภาพขั้วแรงมาก การเกิดพันธะไฮโดรเจนแบ่งเป็น 2 แบบ ดังนี 1. พันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลชนิดเดียวกัน ซึ ่งอธิบายได้ดังนี ้ เมื ่อไฮโดรเจน (H) เกิดพันธะ โคเวเลนซ์กับ F O หรือ N จะเกิดเป็นพันธะที ่มีความเป็นขั้วสูง เนื ่องจาก H และ F O หรือ N มีค่าค่าอิเล็กโทร-

เคมีพื ้นฐาน 3-43 เนกาติวิตีที ่แตกต่างกัน ท าให้ H มีความเป็นบวกมาก ส่วนทาง F O หรือ N จะมีความเป็นลบสูง จึงเกิดแรงดึงดูด ทางไฟฟ้าระหว่างโมเลกุลที ่มีความแข็งแรง การเกิดพันธะไฮโดรเจนท าให้โมเลกุลหรือสารประกอบมีจุดเดือดสูงกว่า สารอื ่นที ่อยู่ในหมู ่เดียวกัน เช่น H 2 O มีจุดเดือดสูงกว่า H 2 S ตัวอย่างการเกิดพันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลดัง แสดงในภาพที ่ 3.29 ภาพที่ 3.29 ตัวอย่างการเกิดพันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุล 2. พันธะไฮโดรเจนที่เกิดภายในโมเลกุลของสารต่างชนิดกัน เป็นการเกิดพันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุล ของสารต่างชนิดกัน เช่น การเกิดพันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลของน ้า (H 2 O) กับโมเลกุลของแอมโมเนีย (NH 3 ) ดังแสดงในตัวอย่างที ่ 3.30 ภาพที่ 3.30 การเกิดพันธะไฮโดรเจนระหว่างน ้าและแอมโมเนีย กิจกรรม 3.2.3

้<br />

3-42 วิทยาศาสตร์ส าหรับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร<br />

ภาพที่ 3.28 อิเล็กตรอนและไอออนบวกในก้อนโลหะ<br />

โดยทั่วไปโลหะจะเป็นของแข็ง ยกเว้นปรอทที ่เป็นของเหลว ส าหรับสมบัติของพันธะโลหะนั้น เป็นผลมาจาก<br />

อิเล็กตรอนอิสระที ่เคลื ่อนที ่อยู่ในก้อนโลหะนั่นเอง สมบัติที ่พบโดยทั่วไปของโลหะ คือ<br />

- เป็นตัวน าไฟฟ้าที ่ดี เพราะอิเล็กตรอนเคลื ่อนที ่ได้ง่ายทั่วก้อนโลหะ<br />

- มีจุดหลอมเหลวสูง เพราะเวเลนซ์อิเล็กตรอนของอะตอมทั้งหมดในก้อนโลหะยึดเหนี ่ยวอะตอมไว้<br />

อย่างเหนียวแน่น<br />

- โลหะสามารถตีแผ่เป็นแผ่นบางๆได้ เพราะมีกลุ่มเวเลนต์อิเล็กตรอนท าหน้าที ่ยึดอนุภาคให้เรียงกัน<br />

ไม่ขาดออกจากกัน<br />

- โลหะมีผิวเป็นมันวาว เพราะกลุ่มอิเล็กตรอนที ่เคลื ่อนที ่โดยอิสระมีปฏิกิริยาต่อแสง คือรับ สะท้อน<br />

แสง และกระจายแสงออกมา ท าให้มองเห็นเป็นมันวาว<br />

- โลหะน าความร้อนได้ดี เพราะอิเล็กตรอนอิสระเคลื ่อนที ่ได้ทุกทิศทาง เมื ่ออิเล็กตรอนได้รับความร้อน<br />

จะท าให้เกิดพลังงานจลน์สูง และการถ่ายเทไปยังส่วนที ่มีความร้อนต ่ากว่า จึงท าให้เกิดการน าความร้อนได้ดี<br />

นอกจากพันธะภายในโมเลกุลทั้ง 3 แบบที ่กล่าวมาแล้วนั้น พันธะระหว่างโมเลกุลที ่ส าคัญอีกพันธะหนึ ่งคือ<br />

พันธะไฮโดรเจน (Hydrogen bond)<br />

พันธะไฮโดรเจน<br />

ไฮโดรเจนเป็นธาตุที ่มีเพียงหนึ ่งเวเลนซ์อิเล็กตรอน โดยปกติจะสร้างพันธะเดียวกับอะตอมที ่มีค่าอิเล็ก-<br />

โทรเนกาติวิตีสูง และมีขนาดเล็ก ได้แก่ ฟลูออรีน ออกซิเจน และไนโตรเจน (F O และ N ตามล าดับ) แล้วเกิด<br />

พันธะโคเวเลนซ์มีขั้วชนิดที ่มีสภาพขั้วแรงมาก การเกิดพันธะไฮโดรเจนแบ่งเป็น 2 แบบ ดังนี<br />

1. พันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลชนิดเดียวกัน ซึ ่งอธิบายได้ดังนี ้ เมื ่อไฮโดรเจน (H) เกิดพันธะ<br />

โคเวเลนซ์กับ F O หรือ N จะเกิดเป็นพันธะที ่มีความเป็นขั้วสูง เนื ่องจาก H และ F O หรือ N มีค่าค่าอิเล็กโทร-

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!