99201-3

99201-3 99201-3

19.04.2014 Views

3-40 วิทยาศาสตร์ส าหรับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 3. พันธะสาม (triple bond) คือ พันธะโคเวเลนซ์ที ่มีการใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกัน 3 คู่ ใช้เส้น 3 เส้น ( ) แทนพันธะสาม ตัวอย่างเช่น โมเลกุลของแก๊สไนโตรเจน (N 2 ) ดังแสดงในภาพที ่ 3.25 หรือเขียนแทนด้วย N N ภาพที่ 3.25 แสดงการเกิดพันธะสามในโมเลกุลไนโตรเจน ในการเกิดพันธะโคเวเลนซ์ นั้น ส่วนใหญ่เป็นการใช้คู่อิเล็กตรอนร่วมกัน โดยอิเล็กตรอนที ่ใช้จะมาจาก อะตอมอย่างละ 1 อิเล็กตรอน แต่ถ้ามีการใช้อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะจากอะตอมใดอะตอมหนึ ่งเพียงอะตอมเดียว จะเรียกพันธะนั้นว่า พันธะโคออดิเนตโคเวเลนซ์ (coordinate covalent bond) ดังแสดงภาพที ่ 3.26 หรือเขียนแทนด้วย ภาพที่ 3.26 แสดงการเกิดพันธะสามในโมเลกุลไนโตรเจน โมเลกุลโคเวเลนซ์หรือสารประกอบโคเวเลนซ์ มีทั้งที ่อยู่ในรูปของของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ส่วนใหญ่เป็น สารประกอบระหว่างอโลหะกับอโลหะ จึงมีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวต ่า เนื ่องจากมีแรงยึดเหนี ่ยวระหว่างอะตอม หรือแรงยึดเหนี ่ยวระหว่างโมเลกุลน้อย และไม่น าไฟฟ้า แต่มีข้อยกเว้นส าหรับสารบางสารที ่ยึดเหนี ่ยวด้วยพันธะ โคเวเลนซ์แบบต่อเนื ่องกัน คล้ายตาข่ายสามมิติ เรียกสารที ่มีโครงสร้างนี ้ว่า สารโครงผลึกร่างตาข่าย ท าให้มีจุดเดือด จุดหลอมเหลวสูง สารพวกนี ้ได้แก่ คาร์บอนในรูปเพชร แกรไฟต์ และฟลูเลอรีน เป็นต้น นอกจากนั้นยังมี สารประกอบบางชนิดก็เป็นสารโครงผลึกร่างตาข่าย เช่น ซิลิกอนไดออกไซด์ (SiO 2 ) ซิลิคอนคาร์ไบด์ (SiC) เป็นต้น ตัวอย่างรูปร่างของสารโครงผลึกร่างตาข่ายคาร์บอน แสดงได้ดังภาพที ่ 3.27 จะเห็นได้ว่าโครงร่างตาข่ายของ ทั้ง 3 แบบมีความแตกต่างกัน ส่งผลให้สมบัตินั้นแตกต่างกันไปด้วย ดังนี ้

เคมีพื ้นฐาน 3-41 - เพชร เป็นโครงร่างตาข่ายที ่มีพันธะของอะตอมคาร์บอนเกาะเป็นพันธะเดี ่ยวได้ 4 พันธะ และเกาะ ต่อเนื ่องกันเป็นโครงผลึกร่างตาข่ายท าให้เพชรมีความแข็งแรงมาก แต่เนื ่องจากในโครงสร้างนั้นมีการใช้เวเลนซ์ อิเล็กตรอนในการสร้างพันธะหมด ไม่มีอิเล็กตรอนเหลือให้เคลื ่อนที ่ จึงท าให้เพชรไม่น าไฟฟ้า - กราไฟต์ เป็นโครงร่างตาข่ายที ่มีพันธะของอะตอมคาร์บอนเกาะเป็นพันธะเดี ่ยวหรือคู่ได้ 3 พันธะ และจะมีอิเล็กตรอนอิสระว่างอยู่ 1 อิเล็กตรอน จึงท าให้แกรไฟต์น าไฟฟ้าได้ - ฟลูเลอรีน เป็นโครงร่างตาข่ายที ่มีพันธะของอะตอมคาร์บอนเกาะเป็นพันธะเดี ่ยว เชื ่อมกันเป็น โครงสร้าง 5 เหลี ่ยม และ 6 เหลี ่ยม หลายรูปต่อกันเป็นทรงกลม ไม่น าไฟฟ้า จุดเดือด จุดหลอมเหลวขึ ้นอยู่กับ จ านวนคาร์บอน โมเลกุลของฟลูเลอลีน จะมีคาร์บอนเป็นเลขคู่ ตั้งแต่ประมาณ 40 อะตอมขึ ้นไป แต่โมเลกุลของ ฟลูเลอลีนที ่เสถียรที ่สุดคือ C 60 พันธะโลหะ (ก) โครงสร้างของเพชร (ข) โครงสร้างของกราไฟต์ (ง) โครงสร้างฟลูเลอรีน ภาพที่ 3.27 โครงสร้างร่างตาข่ายของคาร์บอน พันธะโลหะ เป็นแรงยึดเหนี ่ยวของไอออนบวกกับเวเลนซ์อิเล็กตรอนที ่เคลื ่อนที ่อยู่โดยรอบทั้งก้อนโลหะ โดยการเคลื ่อนที ่ของเวเลนซ์อิเล็กตรอนเคลื ่อนที ่อย่างอิสระเหมือนกลุ่มหมอกของอิเล็กตรอนอยู่ล้อมรอบไอออน บวกเกิดเป็นพันธะโลหะขึ ้นมา ซึ ่งแบบจ าลองการล้อมรอบของเวเลนซ์อิเล็กตรอนกับไอออนบวกของโลหะแสดง ดังภาพที ่ 3.28

เคมีพื ้นฐาน 3-41<br />

- เพชร เป็นโครงร่างตาข่ายที ่มีพันธะของอะตอมคาร์บอนเกาะเป็นพันธะเดี ่ยวได้ 4 พันธะ และเกาะ<br />

ต่อเนื ่องกันเป็นโครงผลึกร่างตาข่ายท าให้เพชรมีความแข็งแรงมาก แต่เนื ่องจากในโครงสร้างนั้นมีการใช้เวเลนซ์<br />

อิเล็กตรอนในการสร้างพันธะหมด ไม่มีอิเล็กตรอนเหลือให้เคลื ่อนที ่ จึงท าให้เพชรไม่น าไฟฟ้า<br />

- กราไฟต์ เป็นโครงร่างตาข่ายที ่มีพันธะของอะตอมคาร์บอนเกาะเป็นพันธะเดี ่ยวหรือคู่ได้ 3 พันธะ<br />

และจะมีอิเล็กตรอนอิสระว่างอยู่ 1 อิเล็กตรอน จึงท าให้แกรไฟต์น าไฟฟ้าได้<br />

- ฟลูเลอรีน เป็นโครงร่างตาข่ายที ่มีพันธะของอะตอมคาร์บอนเกาะเป็นพันธะเดี ่ยว เชื ่อมกันเป็น<br />

โครงสร้าง 5 เหลี ่ยม และ 6 เหลี ่ยม หลายรูปต่อกันเป็นทรงกลม ไม่น าไฟฟ้า จุดเดือด จุดหลอมเหลวขึ ้นอยู่กับ<br />

จ านวนคาร์บอน โมเลกุลของฟลูเลอลีน จะมีคาร์บอนเป็นเลขคู่ ตั้งแต่ประมาณ 40 อะตอมขึ ้นไป แต่โมเลกุลของ<br />

ฟลูเลอลีนที ่เสถียรที ่สุดคือ C 60<br />

พันธะโลหะ<br />

(ก) โครงสร้างของเพชร (ข) โครงสร้างของกราไฟต์ (ง) โครงสร้างฟลูเลอรีน<br />

ภาพที่ 3.27 โครงสร้างร่างตาข่ายของคาร์บอน<br />

พันธะโลหะ เป็นแรงยึดเหนี ่ยวของไอออนบวกกับเวเลนซ์อิเล็กตรอนที ่เคลื ่อนที ่อยู่โดยรอบทั้งก้อนโลหะ<br />

โดยการเคลื ่อนที ่ของเวเลนซ์อิเล็กตรอนเคลื ่อนที ่อย่างอิสระเหมือนกลุ่มหมอกของอิเล็กตรอนอยู่ล้อมรอบไอออน<br />

บวกเกิดเป็นพันธะโลหะขึ ้นมา ซึ ่งแบบจ าลองการล้อมรอบของเวเลนซ์อิเล็กตรอนกับไอออนบวกของโลหะแสดง<br />

ดังภาพที ่ 3.28

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!