19.04.2014 Views

99201-3

99201-3

99201-3

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

3-40 วิทยาศาสตร์ส าหรับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร<br />

3. พันธะสาม (triple bond) คือ พันธะโคเวเลนซ์ที ่มีการใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกัน 3 คู่ ใช้เส้น 3 เส้น<br />

( ) แทนพันธะสาม ตัวอย่างเช่น โมเลกุลของแก๊สไนโตรเจน (N 2 ) ดังแสดงในภาพที ่ 3.25<br />

หรือเขียนแทนด้วย<br />

N<br />

N<br />

ภาพที่ 3.25 แสดงการเกิดพันธะสามในโมเลกุลไนโตรเจน<br />

ในการเกิดพันธะโคเวเลนซ์ นั้น ส่วนใหญ่เป็นการใช้คู่อิเล็กตรอนร่วมกัน โดยอิเล็กตรอนที ่ใช้จะมาจาก<br />

อะตอมอย่างละ 1 อิเล็กตรอน แต่ถ้ามีการใช้อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะจากอะตอมใดอะตอมหนึ ่งเพียงอะตอมเดียว<br />

จะเรียกพันธะนั้นว่า พันธะโคออดิเนตโคเวเลนซ์ (coordinate covalent bond) ดังแสดงภาพที ่ 3.26<br />

หรือเขียนแทนด้วย<br />

ภาพที่ 3.26 แสดงการเกิดพันธะสามในโมเลกุลไนโตรเจน<br />

โมเลกุลโคเวเลนซ์หรือสารประกอบโคเวเลนซ์ มีทั้งที ่อยู่ในรูปของของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ส่วนใหญ่เป็น<br />

สารประกอบระหว่างอโลหะกับอโลหะ จึงมีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวต ่า เนื ่องจากมีแรงยึดเหนี ่ยวระหว่างอะตอม<br />

หรือแรงยึดเหนี ่ยวระหว่างโมเลกุลน้อย และไม่น าไฟฟ้า แต่มีข้อยกเว้นส าหรับสารบางสารที ่ยึดเหนี ่ยวด้วยพันธะ<br />

โคเวเลนซ์แบบต่อเนื ่องกัน คล้ายตาข่ายสามมิติ เรียกสารที ่มีโครงสร้างนี ้ว่า สารโครงผลึกร่างตาข่าย ท าให้มีจุดเดือด<br />

จุดหลอมเหลวสูง สารพวกนี ้ได้แก่ คาร์บอนในรูปเพชร แกรไฟต์ และฟลูเลอรีน เป็นต้น นอกจากนั้นยังมี<br />

สารประกอบบางชนิดก็เป็นสารโครงผลึกร่างตาข่าย เช่น ซิลิกอนไดออกไซด์ (SiO 2 ) ซิลิคอนคาร์ไบด์ (SiC) เป็นต้น<br />

ตัวอย่างรูปร่างของสารโครงผลึกร่างตาข่ายคาร์บอน แสดงได้ดังภาพที ่ 3.27 จะเห็นได้ว่าโครงร่างตาข่ายของ<br />

ทั้ง 3 แบบมีความแตกต่างกัน ส่งผลให้สมบัตินั้นแตกต่างกันไปด้วย ดังนี ้

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!