19.04.2014 Views

99201-3

99201-3

99201-3

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

้<br />

3-38 วิทยาศาสตร์ส าหรับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร<br />

การเกิดพันธะไอออนิกของสารประกอบโซเดียมคลอไรด์แสดงดังภาพที ่ 3.21<br />

โซเดียมอะตอม คลอรีนอะตอม โซเดียมไอออน คลอไรด์ไอออน<br />

ภาพที่ 3.21 การเกิดพันธะไอออนิกของสารประกอบโซเดียมคลอไรด์<br />

สารประกอบไอออนิกมักอยู่ในรูปผลึกของแข็งที ่อุณหภูมิห้อง จะมีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง เนื ่องจาก<br />

แรงยึดเหนี ่ยวระหว่างไอออนบวกและไอออนลบมีการดึงดูดกันอย่างมาก โดยส่วนมากเป็นสารที ่แข็งแต่เปราะง่าย<br />

ไม่น าไฟฟ้า แต่เมื ่อน ามาละลายในน ้าโมเลกุลของน ้าจะดึงดูดให้สารประกอบเกิดการแตกตัวเป็นไอออนบวกและ<br />

ไอออนลบ ไอออนจึงเคลื ่อนที ่อย่างอิสระท าให้ไฟฟ้ าไหลผ่านได้ ตัวอย่างสารประกอบไอออนิก ได้แก่ แคลเซียม<br />

คาร์บอเนต (CaCO 3 ) แมกนีเซียมซัลเฟต (MgSO 4 ) โซเดียมไบคาร์บอเนต (NaHCO 3 ) เป็นต้น<br />

พันธะโคเวเลนซ์<br />

พันธะโคเวเลนซ์ เป็นพันธะที ่เกิดจากอะตอมตั้งแต่สองอะตอมขึ ้นไปมีการใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกัน<br />

ระหว่างอะตอม เพื ่อให้เวเลนซ์อิเล็กตรอนของแต่ละอะตอมครบ 8 ตัว อะตอมที ่เกิดพันธะชนิดนี ้มักเป็นอะตอมของ<br />

ธาตุที ่มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนชั้นใกล้จะครบ 8 ตัวได้แก่อะตอมของธาตุหมู ่ 4A, 5A, 6A และ 7A ถ้าเป้นการรวมตัว<br />

กันของอะตอมจะเรียกว่า โมเลกุลโควาเลนต์ (covalent molecules) แต่ถ้าเป็นการรวมตัวกันนั้นเกิดเป็นธาตุหรือ<br />

สารใหม่จะเรียกว่า สารประกอบโคเวเลนซ์ (covalent compounds) ตัวอย่างการเกิดพันธะโควาเลนต์ เช่น การเกิด<br />

แก๊สฟลูออรีน ดังนี<br />

อะตอมของฟลูออรีนมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 7 ตัว จึงต้องการอิเล็กตรอนเพิ ่มอีก 1 ตัวเพื ่อให้เกิด<br />

สภาวะที ่เสถียร เมื ่ออะตอมของฟลูออรีน 2 อะตอมมาเจอกันจึงเกิดการใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกันสามารถแสดง<br />

สัญลักษณ์แบบจุดได้ดังนี ้

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!