19.04.2014 Views

99201-3

99201-3

99201-3

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

้<br />

เคมีพื ้นฐาน 3-37<br />

เรื่องที่ 3.2.3<br />

พันธะเคมี<br />

โดยปกติแล้วอะตอมของธาตุส่วนใหญ่จะมารวมตัวกันเพื ่อให้อยู่ในสภาวะที ่เสถียร หรือสภาวะที ่มีเวเลนซ์<br />

อิเล็กตรอนครบ 8 ตัวตามกฎของออกเตต (octet law) การที ่อะตอมรวมตัวกับอะตอมชนิดเดียวกัน หรืออะตอม<br />

ชนิดอื ่นๆ มีหลายวิธี คือ การให้อิเล็กตรอนไปกับอะตอมอื ่น การรับอิเล็กตรอนจากอะตอมอื ่น หรือการใช้<br />

อิเล็กตรอนร่วมกัน การที ่อะตอมมารวมตัวกันเพื ่อเกิดเป็นโมเลกุลหรือสารประกอบ จะต้องมีแรงยึดเหนี ่ยวระหว่าง<br />

อะตอมขึ ้น และเรียกแรงนี ้ว่า พันธะเคมี (chemical bond) โดยพันธะเคมีที ่ส าคัญมี 3 ประเภท คือ พันธะไอออนิก<br />

(ionic bond) พันธะโคเวเลนซ์ (covalent bond) และพันธะโลหะ (mettalic bond) ซึ ่งเป็นพันธะเคมีที ่เกิดขึ ้น<br />

ภายในโมเลกุล นอกจากนี ้ยังมีพันธะระหว่างโมเลกุลที ่ส าคัญอีกพันธะหนึ ่งคือ พันธะไฮโดรเจน (Hydrogen bond)<br />

พันธะไอออนิก<br />

พันธะไอออนิก เป็นพันธะระหว่างอะตอมที ่อยู่ในสภาพไอออนที ่มีประจุตรงข้ามกันมารวมตัวกัน ซึ ่งพันธะ<br />

ไอออนิกจะเป็นการรวมตัวกันระหว่างอะตอมของโลหะและอโลหะ โดยที ่อะตอมของโลหะจะเป็นฝ่ายให้อิเล็กตรอน<br />

ในระดับพลังงานชั้นนอกสุดให้กับอโลหะ ทั้งนี ้เนื ่องจากอะตอมของโลหะมีค่าพลังงานไอออไนเซชันต ่า ซึ ่งพร้อมที ่จะ<br />

ให้อิเล็กตรอนเพื ่อให้อะตอมชั้นนอกครบ 8 ตัวแล้วเกิดเป็นไอออนบวก ส่วนอะตอมของอโลหะก็พร้อมที ่จะรับ<br />

อิเล็กตรอนจากอะตอมอื ่นเพื ่อให้อะตอมชั้นนอกครบแปดเช่นเดียวกัน ดังนั้นเมื ่ออโลหะรับอิเล็กตรอนเข้ามาจะเกิด<br />

เป็นไอออนลบ เมื ่ออะตอมทั้งสองมีประจุไฟฟ้าต่างกันจึงเกิดแรงดึงดูดกันเกิดเป็น สารประกอบไอออนิก (ionic<br />

compound) ตัวอย่างการเกิดพันธะไอออนิก ได้แก่ การเกิดพันธะไอออนิกของสารประกอบโซเดียมคลอไรด์ (NaCl)<br />

ดังนี ้<br />

การจัดเรียงอิเล็กตรอนของอะตอม Na คือ 1s 2 2s 2 2p 6 3s 1 (2 8 1)<br />

การจัดเรียงอิเล็กตรอนของอะตอม Cl คือ 1s 2 2s 2 2p 6 3s 2 3p 5 (2 8 7)<br />

เมื ่อโซเดียมรวมตัวกับคลอรีน โซเดียมซึ ่งมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 1 จะให้อิเล็กตรอนแก่คลอรีนเพื ่อให้<br />

การจัดเรียงอิเล็กตรอนเป็น 1s 2 2s 2 2p 6 (2 8) และเกิดเป็นโซเดียมไอออน (Na + ) ที ่มีประจุไฟฟ้าลบส่วนคลอรีนเมื ่อ<br />

รับอิเล็กตรอนจากโซเดียมท าให้เกิดการจัดเรียงอิเล็กตรอนเป็น 1s 2 2s 2 2p 6 3s 2 3p 6 (2 8 8) เกิดเป็นคลอรีนไอออน<br />

(Cl - ) ที ่มีประจุไฟฟ้าลบ เมื ่อทั้งสองทีประจุไฟฟ้าต่างกันจึงเกิดแรงดึงดูดกันหรือเรียกว่าเกิดพันธะไอออนิกนั่นเอง<br />

ซึ ่งเขียนสัญลักษณ์แบบจุดได้ดังนี<br />

+ -<br />

Na + Cl Na Cl<br />

2, 8, 1 2, 8, 7 2, 8 2, 8, 8

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!