19.04.2014 Views

99201-3

99201-3

99201-3

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

้<br />

3-36 วิทยาศาสตร์ส าหรับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร<br />

กิจกรรม 3.2.2<br />

1. ธาตุดังต่อไปนี ้สามารถแบ่งเป็ นกลุ่มได้กี่กลุ่ม ตามหลักของการจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ<br />

Na C O Be S Li Mg Si K Ca<br />

2. เพราะเหตุใดธาตุลิเทียม (Li) จึงมีค่า IE 1 ต ่ากว่าธาตุฟลูออรีน (F)<br />

3. ธาตุหมู ่ 1A จากบนลงล่างมีแนวโน้มของจุดเดือดอย่างไร<br />

แนวตอบกิจกรรม 3.2.2<br />

1. เมื่อท าการจัดเรี ยงโครงแบบอิเล็กตรอนแบบตามตารางที่ 3.7 สามารถแบ่งกลุ่มตามจ านวน<br />

เวเลนซ์อิเล็กตรอนได้ดังนี<br />

- จ านวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนชั ้นนอกเท่ากัน อยู ่หมู ่เดียวกัน<br />

ธาตุที่อยู ่หมู ่ 1 ได้แก่ Li Na K<br />

ธาตุที่อยู ่หมู ่ 2 ได้แก่ Be Mg Ca<br />

ธาตุที่อยู ่หมู ่ 4 ได้แก่ C Si<br />

ธาตุที่อยู ่หมู ่ 6 ได้แก่ O S<br />

- ระดับชั ้นในการจัดเรียงโครงสร้างอิเล็กตรอนเท่ากัน อยู ่คาบเดียวกัน<br />

ธาตุที่อยู ่คาบ 2 ได้แก่ Li Be C O<br />

ธาตุที่อยู ่คาบ 3 ได้แก่ Na Mg Si S<br />

ธาตุที่อยู ่คาบ 4 ได้แก่ K Ca<br />

2. แนวโน้มของค่าพลังงานไอออไนเชชันล าดับที่ 1 ในคาบเดียวกันจะมีค่าเพิ่มขึ ้นจากซ้ายไปขวา<br />

เนื่องจากธาตุในคาบเดียวกันมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนอยู ่ในระดับพลังงานเดียวกัน แต่มีจ านวนโปรตอนใน<br />

นิวเคลียสเพิ่มขึ ้น<br />

ธาตุที่มีโปรตอนมากจะดึงดูดเวเลนซ์อิเล็กตรอนได้แรงมากกว่าธาตุที่มีโปรตอนน้อย เวเลนซ์<br />

อิเล็กตรอนจึงเข้าใกล้นิวเคลียสได้มากกว่า ท าให้อิเล็กตรอนหลุดจากอะตอมได้ยากกว่า จึงท าให้ธาตุลิเทียมมี<br />

ค่าพลังงานไอออไนเชชันล าดับที่ 1 ต ่ากว่าธาตุฟลูออรีน<br />

3. ในธาตุหมู ่ 1A ความเป็ นโลหะจะเพิ่มขึ ้นจากบนลงล่าง ท าให้การใช้พลังงานในการสลายพันธะ<br />

โลหะมากขึ ้น ส่งผลให้จุดเดือดของธาตุมีแนวโน้มเดียวกันกับความเป็ นโลหะคือ เพิ่มขึ ้นจากบนลงล่าง<br />

เช่นเดียวกัน

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!