99201-3

99201-3 99201-3

19.04.2014 Views

้ ่ 3-30 วิทยาศาสตร์ส าหรับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เดอเบอไรเนอร์ โยฮันน์ วอฟกัน (Johann Wolfgang Döbereiner) เสนอการจัดกลุ่มของธาตุแบบ กฎชุด สาม (Law of Triads) โดยพบว่าเมื ่อธาตุทั้งสามมาเรียงกันตามมวลอะตอมที ่เพิ ่มขึ ้น เช่น ลิเทียม (Li) โซเดียม (Na) และโพแทสเซียม (K) โดยมวลของธาตุที ่อยู่ตรงกลาง (โซเดียม) จะมีมวลอะตอมใกล้เคียงหรือเท่ากับมวล อะตอมเฉลี ่ยของธาตุที ่มีมวลน้อยกว่าและมากกว่า (ลิเทียมและโพแทสเซียม) และสมบัติของธาตุทั้งสามคล้ายกัน แต่แนวคิดนี ้ไม่เป็นที ่ยอมรับเนื ่องจากไม่สามารถน าไปใช้ได้กับกลุ่มบางกลุ่มที ่มีสมบัติไม่คล้ายกัน ดิมิทรี อิวาโนวิช เมเดเลเอฟ (Dmitri Ivanovich Mendeleev) และ ยูลิอุส โลทาร์ ไมเออร์ (Julius Lothar Myer) ได้เสนอว่าถ้าเรียงธาตุตามมวลอะตอมที ่เพิ ่มขึ ้นจะได้กลุ่มของธาตุที ่มีสมบัติทางเคมีและกายภาพที คล้ายกัน สามารถจัดเป็นชุดๆ ได้ และเรียกกฎนี ้ว่า กฎพีริออดิก (Periodic Law) โดยในสมัยนั้น เมเดเลเอฟ ได้ท าการเรียงธาตุตามจ านวนธาตุที ่ค้นพบ ซึ ่งจะเว้นช่องว่างไว้บางส่วนส าหรับธาตุที ่ยังค้นไม่พบในขณะนั้น และการ จัดเรียงธาตุตามมวลอะตอมนั้นต าแหน่งของธาตุบางธาตุจะปรากฏอยู่ในกลุ่มที ่มีสมบัติที ่ไม่เหมือนกัน จึงท าให้ บางธาตุไม่จัดเรียงตามมวลอะตอม อย่างไรก็ตามแนวคิดของเมเดเลเอฟนี ้เป็นจุดเริ ่มต้นของตารางธาตุในปัจจุบัน ต่อมานักวิทยาศาสตร์มีความเข้าใจเกี ่ยวกับโครงสร้างของอะตอมมากขึ ้น เฮนรี จี.เจ. มอสลีย์ (Henry G.J. Moseley) จึงเสนอให้เรียงต าแหน่งของธาตุในตารางธาตุตามเลขอะตอม (จ านวนโปรตอนของธาตุ) ซึ ่งพบว่า แก้ปัญหาการสลับต าแหน่งของบางธาตุได้ และธาตุที ่อยู่ในหมวดหมู ่เดียวกันก็มีสมบัติทางเคมีและกายภาพคล้ายกัน จึงถือว่าเป็นการปรับปรุงตารางธาตุของเมเดเลเอฟและเป็นตารางธาตุที ่น ามาใช้ในปัจจุบัน ตารางธาตุในปัจจุบัน ตารางธาตุหรือเรียกอีกชื ่อว่าตารางพีริออดิก (periodic table) ในปัจจุบันเป็นตารางธาตุที ่เรียงตามล าดับ เลขอะตอมที ่เพิ ่มขึ ้นจากซ้ายไปขวา มีแถวตามแนวนอน 7 แถวเรียกว่า คาบ (period) และแถวตามแนวตั้ง 18 แถว เรียกว่า หมู ่ (group) ดังแสดงในภาพที ่ 3.14 นอกจากนี ้ตารางธาตุยังแบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ ธาตุกลุ่ม A และ ธาตุกลุ่ม B 1. ธาตุกลุ ่ม A เรียกว่า ธาตุเรพรีเซ็นเททีฟ (representative element) ซึ ่งถือว่าเป็นหมู ่หลักของตาราง ธาตุ จะแบ่งออกเป็น 8 หมู ่คือ 1A-8A หรือนิยมเขียนแทนด้วยเลขโรมันคือ IA-VIII ธาตุหมู ่ 1A-2A มีสมบัติเป็น โลหะ หมู ่ 3A-8A มีสมบัติเป็นอโลหะ และมีหมู ่ที ่อยู่ระหว่างหมู ่ 3A-6A มีเส้นขีดเป็นขั้นบันไดมีสมบัติเป็นอโลหะ 2. ธาตุกลุ ่ม B เรียกว่า ธาตุแทรนซิชัน (transition element) มี 8 หมู ่คือ หมู ่ 2B จนถึง 8B แต่เริ ่มเรียง จากหมู ่ 3B ถึงหมู ่ 2B เป็นธาตุที ่อยู่ระหว่างหมู ่ 2A และหมู ่ 3A โดยธาตุแทรนซิชันมีการจัดเรียงโครงแบบ อิเล็กตรอนที ่บรรจุใน d หรือ f ออร์บิทัลไม่เต็ม ซึ ่งแตกต่างจากหมู ่ A ที ่มีการจัดเรียงโครงแบบอิเล็กตรอนให้ ระดับชั้นพลังงานที ่ถัดจากชั้นนอกเต็มก่อนไปพลังงานชั้นถัดไป ธาตุ 2 แถวล่าง ซึ ่งแยกไว้ต่างหากนั้น เรียกว่า ธาตุแทรนซิชันชั้นใน (Inner transition elements) โดยมี ชื ่อเรียกต่างกันดังนี ธาตุแถวบน เรียกว่า กลุ่มธาตุแลนทาไนด์ (lanthanide series) เป็นธาตุที ่มีเลขอะตอมตั้งแต่ 58 ถึง 71 ธาตุกลุ่มนี ้ควรจะอยู่ในหมู ่ 3B โดยจะเรียงต่อจากธาตุ La

เคมีพื ้นฐาน 3-31 ธาตุแถวล่าง เรียกว่า กลุ่มธาตุแอกทิไนด์ (actinide series) เป็นธาตุที ่มีเลขอะตอมตั้งแต่ 90 ถึง 103 ธาตุกลุ่มนี ้ควรอยู่ในหมู ่ III B โดยเรียงต่อจากธาตุ Ac จะเห็นว่าธาตุทั้งหมดในตารางธาตุนอกจากจะจัดเรียงตามเลขเชิงอะตอมแล้ว ยังจัดเรียงตามระดับพลังงาน ย่อยอีกด้วย ซึ ่งสามารถได้เป็น 4 เขต ในการบรรจุอิเล็กตรอนในแต่ละชั้นของ s, p, d, f ดังแสดงในภาพที ่ 3.14 ภาพที่ 3.15 ตารางธาตุในปัจจุบัน

เคมีพื ้นฐาน 3-31<br />

ธาตุแถวล่าง เรียกว่า กลุ่มธาตุแอกทิไนด์ (actinide series) เป็นธาตุที ่มีเลขอะตอมตั้งแต่ 90 ถึง 103<br />

ธาตุกลุ่มนี ้ควรอยู่ในหมู ่ III B โดยเรียงต่อจากธาตุ Ac<br />

จะเห็นว่าธาตุทั้งหมดในตารางธาตุนอกจากจะจัดเรียงตามเลขเชิงอะตอมแล้ว ยังจัดเรียงตามระดับพลังงาน<br />

ย่อยอีกด้วย ซึ ่งสามารถได้เป็น 4 เขต ในการบรรจุอิเล็กตรอนในแต่ละชั้นของ s, p, d, f ดังแสดงในภาพที ่ 3.14<br />

ภาพที่ 3.15 ตารางธาตุในปัจจุบัน

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!