99201-3

99201-3 99201-3

19.04.2014 Views

3-20 วิทยาศาสตร์ส าหรับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ตอนที่ 3.2 โครงสร้างเคมี โปรดอ่านหัวเรื ่อง แนวคิด และวัตถุประสงค์ของตอนที ่ 3.2 แล้วจึงศึกษารายละเอียดต่อไป หัวเรื่อง 3.2.1 อะตอม 3.2.2 ตารางธาตุ 3.2.3 พันธะเคมี แนวคิด วัตถุประสงค์ 1. โครงสร้างของอะตอมในปัจจุบัน เป็นการโคจรของอิเล็กตรอนที ่มีการเคลื ่อนที ่ปกคลุมอยู่รอบ นิวเคลียสตามระดับชั้นของพลังงาน จากการค้นพบของนักวิทยาศาสตร์ท าให้ทราบถึงอนุภาค มูลฐานของอะตอมทั้ง 3 ชนิดคือ โปรตอน อิเล็กตรอน และนิวเคลียส ซึ ่งท าให้สามารถน า จ านวนอิเล็กตรอนของธาตุมาเขียนเป็นโครงแบบการจัดเรียงตัวของอิเล็กตรอนในอะตอม จัดเรียงตามระดับพลังงานรอบนิวเคลียส 2 ระดับ คือระดับพลังงานหลัก และระดับพลังงาน ย่อย 2. ตารางธาตุในปัจจุบันเป็นการเรียงต าแหน่งของธาตุในตารางธาตุตามจ านวนโปรตอนของธาตุ ซึ ่ง สามารถดูการเรียงหมู ่และคาบของตารางธาตุได้จากเวเลนซ์อิเล็กตรอนชั้นนอกสุด และระดับชั้น ของพลังงาน ตามล าดับ ท าให้ทราบถึงแนวโน้มของสมบัติของธาตุในหมู ่เดียวกัน และคาบ เดียวกันได้ 3. พันธะเคมี คือ แรงยึดเหนี ่ยวระหว่างอะตอมให้รวมตัวกันเพื ่อเกิดเป็นโมเลกุลหรือสารประกอบ แบ่งเป็นทั้งหมด 3 ประเภทคือ พันธะไอออนิกคือพันธะระหว่างโลหะและอโลหะ พันธะโคเวเลนซ์ คือพันธะระหว่างอโลหะกับอโลหะ และพันธะโลหะคือพันธะที ่ยึดเหนี ่ยวอยู่ในอะตอมของโลหะ เมื ่อศึกษาตอนที ่ 3.2 จบแล้ว นักศึกษาสามารถ 1. อธิบายแบบจ าลองของอะตอมได้ 2. ระบุองค์ประกอบของอะตอมและโครงแบบการจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอมของสารได้ 3. บอกแนวโน้มความสัมพันธ์ของธาตุในตารางธาตุกับสมบัติของธาตุได้ 4. อธิบายพันธะเคมีแต่ละประเภทได้

้ ้ ่ เคมีพื ้นฐาน 3-21 เรื่องที่ 3.2.1 อะตอม แบบจ าลองของอะตอม การศึกษาเรื ่องอะตอมมีมาตั้งแต่สมัยกรีกโบราณ โดยนักวิทยาศาสตร์พยายามหาเหตุผลมาเพื ่ออธิบายว่า สสารที ่ไม่สามารถแยกได้อีกคืออะไร เริ ่มจากดิโมคริตุส (Democritus) นักปราญช์ชาวกรีกได้ให้แนวคิดว่า สสารทุก อย่างสามารถแบ่งย่อยได้จนถึงหน่วยที ่เล็กที ่สุดที ่ไม่สามารถแบ่งแยกได้อีก เรียกว่า อะตอม ซึ ่งมาจากภาษากรีกว่า atomos ต่อมาได้มีนักวิทยาศาสตร์อีกหลายท่านที ่พยายามทดลอง หรือประยุกต์ใช้เครื ่องมือเพื ่อศึกษาค้นคว้าให้ได้ ข้อมูลเกี ่ยวกับโครงสร้างอะตอมมากขึ ้น ท าให้มีวิวัฒนาการแบบจ าลองของอะตอมดังต่อไปนี แบบจ าลองอะตอมของเซอร์จอห์น ดอลตัน (Sir John Dalton) กล่าวว่าอะตอมมีลักษณะเป็น ทรงกลม ขนาดเล็กมากและแบ่งแยกไม่ได้ ต่อมาได้มีการศึกษาค้นคว้าเกี ่ยวกับอะตอมเพิ ่มขึ ้น และพบว่าข้อมูลของดอลตัลนั้นไม่ถูกต้อง เช่น อะตอม สามารถแบ่งแยกได้ อะตอมของแต่ละธาตุมีมวลต่างกัน จึงท าให้เกิดแบบจ าลองของอะตอมขึ ้นมา เป็นล าดับ ดังนี แบบจ าลองอะตอมของเซอร์ โจเซฟ จอห์น ทอมสัน (Sir Joseph John Thomson) ได้ท าการทดลอง เกี ่ยวกับอะตอมพบว่าอะตอมทุกชนิดประกอบด้วยประจุลบเรียกว่า อิเล็กตรอน (electron, e) และน าข้อมูลการ ค้นพบประจุบวกหรือโปรตอน (proton, p) ของออยแกน โกลด์สไตน์ (Eugen Goldstein) มารวมกันเพื ่อเสนอเป็น แบบจ าลองของอะตอมว่า อะตอมมีลักษณะเป็นทรงกลมซึ ่งมีประจุบวกและประจุลบกระจายอยู่ทั่วอย่างสม ่าเสมอ และมีจ านวนเท่ากัน แบบจ าลองอะตอมของลอร์ด เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด (Lord Ernest Rutherford) และ ฮันส์ ไกเกอร์ได้ ท าการทดลองเกี ่ยวกับอะตอมและน าเสนอแบบจ าลองของอะตอมว่า อะตอมประกอบด้วยโปรตอนที ่รวมกันเป็น นิวเคลียสอยู่ตรงกลาง และมีอิเล็กตรอนที ่เป็นประจุลบวิ ่งวนอยู่รอบๆ นิวเคลียส ต่อมาได้มีการศึกษาของเจมส์ แซดวิก (Jame Chadwick) พบว่าในนิวเคลียสนอกจากจะประกอบด้วย อนุภาคโปรตอนแล้ว ยังมีอนุภาคที ่เป็นกลางไม่มีประจุและมีมวลเท่ากับโปรตอนอยู่ด้วย ซึ ่งให้ชื ่อว่านิวตรอน (neutron, n) จากการค้นพบนี ้ท าให้ทราบว่านิวเคลียสที ่อยู่ตรงกลางของแบบจ าลองรัทเทอร์ฟอร์ดนั้นนอกจากจะ ประกอบไปด้วยโปรตอนแล้วยังมีนิวตรอนรวมตัวอยู่ด้วย แบบจ าลองอะตอมของนีลส์ บอร์ (Niels Bohr) ได้ท าการทดลองเพื ่อหาข้อมูลเพิ ่มเติมเกี ่ยวกับการจัดเรียง อิเล็กตรอนที ่วนรอบนิวเคลียส และน าเสนอแบบจ าลองของอะตอมว่า อะตอมประกอบด้วยโปรตอนและนิวตรอนที รวมตัวกันเป็นนิวเคลียส และมีอิเล็กตรอนวิ ่งอยู่รอบๆ เป็นชั้นๆ หรือเรียกว่าเป็นระดับพลังงานในแต่ละชั้น

3-20 วิทยาศาสตร์ส าหรับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร<br />

ตอนที่ 3.2<br />

โครงสร้างเคมี<br />

โปรดอ่านหัวเรื ่อง แนวคิด และวัตถุประสงค์ของตอนที ่ 3.2 แล้วจึงศึกษารายละเอียดต่อไป<br />

หัวเรื่อง<br />

3.2.1 อะตอม<br />

3.2.2 ตารางธาตุ<br />

3.2.3 พันธะเคมี<br />

แนวคิด<br />

วัตถุประสงค์<br />

1. โครงสร้างของอะตอมในปัจจุบัน เป็นการโคจรของอิเล็กตรอนที ่มีการเคลื ่อนที ่ปกคลุมอยู่รอบ<br />

นิวเคลียสตามระดับชั้นของพลังงาน จากการค้นพบของนักวิทยาศาสตร์ท าให้ทราบถึงอนุภาค<br />

มูลฐานของอะตอมทั้ง 3 ชนิดคือ โปรตอน อิเล็กตรอน และนิวเคลียส ซึ ่งท าให้สามารถน า<br />

จ านวนอิเล็กตรอนของธาตุมาเขียนเป็นโครงแบบการจัดเรียงตัวของอิเล็กตรอนในอะตอม<br />

จัดเรียงตามระดับพลังงานรอบนิวเคลียส 2 ระดับ คือระดับพลังงานหลัก และระดับพลังงาน<br />

ย่อย<br />

2. ตารางธาตุในปัจจุบันเป็นการเรียงต าแหน่งของธาตุในตารางธาตุตามจ านวนโปรตอนของธาตุ ซึ ่ง<br />

สามารถดูการเรียงหมู ่และคาบของตารางธาตุได้จากเวเลนซ์อิเล็กตรอนชั้นนอกสุด และระดับชั้น<br />

ของพลังงาน ตามล าดับ ท าให้ทราบถึงแนวโน้มของสมบัติของธาตุในหมู ่เดียวกัน และคาบ<br />

เดียวกันได้<br />

3. พันธะเคมี คือ แรงยึดเหนี ่ยวระหว่างอะตอมให้รวมตัวกันเพื ่อเกิดเป็นโมเลกุลหรือสารประกอบ<br />

แบ่งเป็นทั้งหมด 3 ประเภทคือ พันธะไอออนิกคือพันธะระหว่างโลหะและอโลหะ พันธะโคเวเลนซ์<br />

คือพันธะระหว่างอโลหะกับอโลหะ และพันธะโลหะคือพันธะที ่ยึดเหนี ่ยวอยู่ในอะตอมของโลหะ<br />

เมื ่อศึกษาตอนที ่ 3.2 จบแล้ว นักศึกษาสามารถ<br />

1. อธิบายแบบจ าลองของอะตอมได้<br />

2. ระบุองค์ประกอบของอะตอมและโครงแบบการจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอมของสารได้<br />

3. บอกแนวโน้มความสัมพันธ์ของธาตุในตารางธาตุกับสมบัติของธาตุได้<br />

4. อธิบายพันธะเคมีแต่ละประเภทได้

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!