99201-3

99201-3 99201-3

19.04.2014 Views

่ 3-18 วิทยาศาสตร์ส าหรับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สารตั้งต้น สารผลิตภัณฑ์ + พลังงาน เช่น D B + 100 กิโลจูล หรือ D E ∆H = -100 กิโลจูล เมื ่อ ∆H คือ ค่าปริมาณความร้อนหรือเอนทัลปี (enthalpy) ที ่เปลี ่ยนแปลงไปของปฏิกิริยาเคมีซึ ่งเป็นค่า ความแตกต่างระหว่างปริมาณความร้อนของผลิตภัณฑ์และตัวท าปฏิกิริยา ถ้ามีเครื ่องหมายบวกแสดงว่าเป็นปฏิกิริยา แบบดูดกลืนความร้อน แต่ถ้ามีเครื ่องหมายลบแสดงว่าเป็นปฏิกิริยาแบบคายความร้อน ดังนั้นในปฏิกิริยาคายพลังงานสารตั้งต้นจะมีพลังงานสูงกว่าสารผลิตภัณฑ์ สามารถเขียนกราฟความ สัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการด าเนินไปของปฏิกิริยาในแง่ของปฏิกิริยาคายพลังงานได้ภาพที ่ 3.9 ข (ก) ปฏิกิริยาแบบดูดกลืนความร้อน (ข) ปฏิกิริยาแบบคายความร้อน ภาพที่ 3.9 กราฟความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการด าเนินไปของปฏิกิริยา สัญลักษณ์ E a ในกราฟ คือ พลังงานก่อกัมมันต์หรือพลังงานกระตุ้น (activated energy) เป็นค่าเฉพาะ ของปฏิกิริยาหนึ ่งๆ และเป็นพลังงานน้อยสุดที ่ท าให้เกิดปฏิกิริยา ส าหรับปัจจัยที ่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี คือ ธรรมชาติของสารตั้งต้น ความเข้มข้นของสารตั้งต้น พื ้นที ผิวของสารที ่เข้าไปท าปฏิกิริยา อุณหภูมิ ความดันส าหรับปฏิกิริยาของแก๊ส และตัวเร่งหรือตัวหน่วงในปฏิกิริยา

เคมีพื ้นฐาน 3-19 กิจกรรม 3.1.2 1. การระเหยกับการระเหิดต่างกันอย่างไร 2. การละลายดังต่อไปนี ้มีการเปลี่ยนแปลงความร้อนเป็ นแบบใด ก. การละลายพลังงานแลตทิช > พลังงานไฮเดรชัน ข. การละลายพลังงานไฮเดรชั่น < พลังงานแลตทิช 3. ให้นักศึกษายกตัวอย่างปฏิกิริยาดูดกลืนความร้อนหรือคายความร้อนที่พบเห็นในชิวิตประจ าวัน แนวตอบกิจกรรม 3.1.2 1. การระเหย คือ การเปลี่ยนสถานะของสารจากของเหลวกลายเป็ นไอหรือแก๊ส ส่วนการระเหิด คือ การเปลี่ยนสถานะของสารจากของแข็งกลายเป็ นไอหรือแก๊สโดยไม่ผ่านสถานะของเหลว 2. ก. เป็ นการละลายแบบดูดกลืนพลังงาน ข. เป็ นการละลายแบบคายพลังงาน 3. ปฏิกิริยาดูดกลืนความร้อน เป็ นปฏิกิริยาที่เกิดขึ ้นแล้วดูดความร้อนจากสิ่งแวดล้อม ท าให้อุณหภูมิ ของสิ่งแวดล้อมลดลง ได้แก่ การหลอมเหลวของน ้าแข็ง ซึ ่งจะดูดพลังงานจากสิ่งแวดล้อม ท าให้น ้าแข็ง หลอมเหลวเป็ นน ้าและมีอุณหภูมิเพิ่มขึ ้นจนเท่ากับอุณหภูมิห้อง ปฏิกิริยาคายความร้อน เป็ นปฏิกิริยาที่เกิดขึ ้นแล้วให้พลังงานความร้อนออกมากับสิ่งแวดล้อม ได้แก่ การละลายโซดาไฟในน ้าอุณหภูมิของสารละลายสูงขึ ้นจึงถ่ายเทพลังงานให้กับสิ่งแวดล้อม

เคมีพื ้นฐาน 3-19<br />

กิจกรรม 3.1.2<br />

1. การระเหยกับการระเหิดต่างกันอย่างไร<br />

2. การละลายดังต่อไปนี ้มีการเปลี่ยนแปลงความร้อนเป็ นแบบใด<br />

ก. การละลายพลังงานแลตทิช > พลังงานไฮเดรชัน<br />

ข. การละลายพลังงานไฮเดรชั่น < พลังงานแลตทิช<br />

3. ให้นักศึกษายกตัวอย่างปฏิกิริยาดูดกลืนความร้อนหรือคายความร้อนที่พบเห็นในชิวิตประจ าวัน<br />

แนวตอบกิจกรรม 3.1.2<br />

1. การระเหย คือ การเปลี่ยนสถานะของสารจากของเหลวกลายเป็ นไอหรือแก๊ส ส่วนการระเหิด คือ<br />

การเปลี่ยนสถานะของสารจากของแข็งกลายเป็ นไอหรือแก๊สโดยไม่ผ่านสถานะของเหลว<br />

2. ก. เป็ นการละลายแบบดูดกลืนพลังงาน<br />

ข. เป็ นการละลายแบบคายพลังงาน<br />

3. ปฏิกิริยาดูดกลืนความร้อน เป็ นปฏิกิริยาที่เกิดขึ ้นแล้วดูดความร้อนจากสิ่งแวดล้อม ท าให้อุณหภูมิ<br />

ของสิ่งแวดล้อมลดลง ได้แก่ การหลอมเหลวของน ้าแข็ง ซึ ่งจะดูดพลังงานจากสิ่งแวดล้อม ท าให้น ้าแข็ง<br />

หลอมเหลวเป็ นน ้าและมีอุณหภูมิเพิ่มขึ ้นจนเท่ากับอุณหภูมิห้อง<br />

ปฏิกิริยาคายความร้อน เป็ นปฏิกิริยาที่เกิดขึ ้นแล้วให้พลังงานความร้อนออกมากับสิ่งแวดล้อม ได้แก่<br />

การละลายโซดาไฟในน ้าอุณหภูมิของสารละลายสูงขึ ้นจึงถ่ายเทพลังงานให้กับสิ่งแวดล้อม

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!