99201-3

99201-3 99201-3

19.04.2014 Views

3-10 วิทยาศาสตร์ส าหรับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร คอลลอยด์ประกอบด้วย 2 ส่วนคือ อนุภาคของสารที ่แพร่อยู่ในตัวกลางและตัวกลาง การแยกชนิดของ คอลลอยด์ตามสถานะของสารที ่แพร่อยู่ในตัวกลางและตัวกลาง แสดงในตารางที ่ 3.1 ตารางที่ 3.1 การจ าแนกประเภทและตัวอย่างของคอลลอยด์ ชนิดของคอลลอยด์ แอโรโซล (aerosol) โซล (sol) สถานะของสารที่แพร่ อยู ่ในตัวกลาง สถานะของตัวกลาง ตัวอย่างของคอลลอยด์ ของแข็ง แก๊ส ควันไฟ ฝุ ่นละอองในอากาศ ของเหลว แก๊ส เมฆ หมอก ของแข็ง ของเหลว น ้าแป้งสุก ของแข็ง ของแข็ง มุก พลอย อิมัลชัน (emulsion) ของเหลว ของเหลว กะทิ น ้าสลัด นมสด เจล (gel) ของเหลว ของแข็ง เยลลี เนย วุ้น โฟม (foam) แก๊ส ของเหลว ฟองสบู่ ครีมโกนนวด แก๊ส ของแข็ง ฟองน ้า เม็ดโฟม การจ าแนกประเภทของเนื ้อสารหากพิจารณาจากอนุภาคของสารที ่มีสถานะของเหลว จะพิจารณาแบ่ง เป็น 3 ประเภทคือ สารละลาย สารคอลลอยด์ และสารแขวนลอย โดยสารละลายมีขนาดอนุภาคของสารกระจายตัว อยู่ในตัวกลางขนาดเล็กสุด รองลงมาคือสารคอลลอยด์ และขนาดใหญ่สุดคือสารแขวนลอย จากขนาดของอนุภาค สารที ่ต่างกัน จึงน ามาเปรียบเทียบความแตกต่างได้ดังตารางที ่ 3.2 ตารางที่ 3.2 เปรียบเทียบความแตกต่างของสารละลาย สารคอลลอยด์ และสารแขวนลอย ลักษณะเนื ้อสาร ข้อเปรียบเทียบ สารละลาย สารคอลลอยด์ สารแขวนลอย เนื ้อเดียว เนื ้อผสมแต่ดูคล้ายเนื ้อเดียว เนื ้อผสม ขนาดอนุภาคเจือปน (เซนติเมตร) น้อยกว่า 10 -7 10 -7 - 10 -4 มากกว่า 10 -4 การลอดผ่านกระดาษกรอง ผ่านได้ ผ่านได้ ผ่านไม่ได้ การลอดผ่านเยื ่อกึ ่งซึมผ่าน ผ่านได้ ผ่านไม่ได้ ผ่านไม่ได้ การเกิดปรากฏการณ์ทินดอลล์ ไม่เกิด (ทะลุผ่าน) เกิด ไม่เกิด (ทึบแสง) การเคลื ่อนที ่แบบบราวเนียน ไม่เกิด เกิด ไม่เกิด การตกตะกอน ไม่ตกตะกอน ไม่ตกตะกอน ตกตะกอน

เคมีพื ้นฐาน 3-11 สมบัติของสาร สมบัติของสาร เป็นลักษณะประจ าตัวของสารแต่ละสาร เช่น สี กลิ ่น รส การละลาย การน าไฟฟ้า จุดเดือด จุดหลอมเหลว และการเผาไหม้ เป็นต้น สมบัติของสารแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1) สมบัติทางกายภาพ (physical properties) เป็นสมบัติที ่บอกลักษณะภายนอกของสาร ซึ ่งสังเกตเห็นได้ ด้วยตาเปล่าหรือการทดลองด้วยวิธีง่ายๆ การเปลี ่ยนแปลงทางกายภาพจะไม่มีการเปลี ่ยนแปลงองค์ประกอบภายใน ของสารและไม่มีสารใหม่เกิดขึ ้น เช่น การเปลี ่ยนสถานะ การเกิดสารละลาย การเปลี ่ยนอุณหภูมิ การน าไฟฟ้ า เป็นต้น 2) สมบัติทางเคมี (chemical properties) เป็นสมบัติที ่เกิดจากการเปลี ่ยนแปลงองค์ประกอบภายในของ สาร โดยมีการเกิดปฏิกิริยาเคมีและมีสารใหม่เกิดขึ ้นเสมอ สมบัติที ่เกิดขึ ้นจึงแตกต่างไปจากเดิม เช่น การเผาไหม้ ของเชื ้อเพลิง การเกิดสนิมของเหล็ก การท าปฏิกิริยาของกรด-เบส เป็นต้น ดังนั้นสมบัติของสารจึงขึ ้นอยู่กับการ เปลี ่ยนแปลง การเปลี ่ยนแปลงสมบัติของสารนั้น จะสอดคล้องไปกับการเปลี ่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพและทางเคมีด้วย ดังนี ้ 1. สมบัติและการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ เป็นการเปลี ่ยนแปลงของสารที ่ไม่มีการเปลี ่ยนองค์ประกอบ ภายใน หรือมีสารใหม่เกิดขึ ้น โดยแบ่งการเปลี ่ยนแปลงทางกายภาพนี ้ออกเป็น 2 ประเภทคือ สมบัติขึ ้นอยู่กับ ปริมาณ (extensive property) และสมบัติไม่ขึ ้นอยู่กับปริมาณ (intensive property) 1.1 สมบัติขึ้นอยู ่กับปริ มาณ คือ สมบัติที ่มีการเปลี ่ยนแปลงตามปริมาณ เมื ่อมวลสารนั้นเกิดการ เปลี ่ยนแปลง ซึ ่งสมบัติประเภทนี ้ เช่น มวล ปริมาตร พลังงานภายใน และพลังงานรวม เป็นต้น 1.2 สมบัติไม่ขึ้นอยู ่กับปริ มาณ คือ สมบัติที ่ไม่เปลี ่ยนแปลงตามปริมาณ เมื ่อมวลสารนั้นเกิดการ เปลี ่ยนแปลง สมบัติประเภทนี ้ เช่น ความหนาแน่น ความร้อนจ าเพาะ อุณหภูมิ จุดเดือด จุดหลอมเหลว จุดเยือกแข็ง เป็นต้น ตัวอย่างแสดงสมบัติขึ ้นอยู่กับปริมาณและไม่ขึ ้นอยู่กับปริมาณแสดงดังตารางที ่ 3.3 เมื ่อพิจารณาแล้ว จะเห็นว่าน ้าใน 2 แก้วมีมวลสารไม่เท่ากัน แก้วแรกจะมีน ้ามากกว่าแก้วที ่สอง และจากสมบัติที ่ปรากฏในตาราง พบว่าปริมาตรและมวลสารของน ้าในแก้วทั้งสองใบไม่เท่า ซึ ่งเป็นการแสดงสมบัติที ่ขึ ้นอยู่กับปริมาณที ่เปลี ่ยนแปลงไป แต่เมื ่อพิจารณาสมบัติของความหนาแน่นและอุณหภูมิของสาร จะพบว่าไม่ว่ามวลสารจะมีการเปลี ่ยนแปลงไปแต่ สมบัติเหล่านั้นยังคงเดิม ซึ ่งเป็นสมบัติที ่ไม่ขึ ้นอยู่กับปริมาณ

3-10 วิทยาศาสตร์ส าหรับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร<br />

คอลลอยด์ประกอบด้วย 2 ส่วนคือ อนุภาคของสารที ่แพร่อยู่ในตัวกลางและตัวกลาง การแยกชนิดของ<br />

คอลลอยด์ตามสถานะของสารที ่แพร่อยู่ในตัวกลางและตัวกลาง แสดงในตารางที ่ 3.1<br />

ตารางที่ 3.1 การจ าแนกประเภทและตัวอย่างของคอลลอยด์<br />

ชนิดของคอลลอยด์<br />

แอโรโซล (aerosol)<br />

โซล (sol)<br />

สถานะของสารที่แพร่<br />

อยู ่ในตัวกลาง<br />

สถานะของตัวกลาง<br />

ตัวอย่างของคอลลอยด์<br />

ของแข็ง แก๊ส ควันไฟ ฝุ ่นละอองในอากาศ<br />

ของเหลว แก๊ส เมฆ หมอก<br />

ของแข็ง ของเหลว น ้าแป้งสุก<br />

ของแข็ง ของแข็ง มุก พลอย<br />

อิมัลชัน (emulsion) ของเหลว ของเหลว กะทิ น ้าสลัด นมสด<br />

เจล (gel) ของเหลว ของแข็ง เยลลี เนย วุ้น<br />

โฟม (foam) แก๊ส ของเหลว ฟองสบู่ ครีมโกนนวด<br />

แก๊ส ของแข็ง ฟองน ้า เม็ดโฟม<br />

การจ าแนกประเภทของเนื ้อสารหากพิจารณาจากอนุภาคของสารที ่มีสถานะของเหลว จะพิจารณาแบ่ง<br />

เป็น 3 ประเภทคือ สารละลาย สารคอลลอยด์ และสารแขวนลอย โดยสารละลายมีขนาดอนุภาคของสารกระจายตัว<br />

อยู่ในตัวกลางขนาดเล็กสุด รองลงมาคือสารคอลลอยด์ และขนาดใหญ่สุดคือสารแขวนลอย จากขนาดของอนุภาค<br />

สารที ่ต่างกัน จึงน ามาเปรียบเทียบความแตกต่างได้ดังตารางที ่ 3.2<br />

ตารางที่ 3.2 เปรียบเทียบความแตกต่างของสารละลาย สารคอลลอยด์ และสารแขวนลอย<br />

ลักษณะเนื ้อสาร<br />

ข้อเปรียบเทียบ สารละลาย สารคอลลอยด์ สารแขวนลอย<br />

เนื ้อเดียว<br />

เนื ้อผสมแต่ดูคล้ายเนื ้อเดียว<br />

เนื ้อผสม<br />

ขนาดอนุภาคเจือปน (เซนติเมตร) น้อยกว่า 10 -7 10 -7 - 10 -4 มากกว่า 10 -4<br />

การลอดผ่านกระดาษกรอง ผ่านได้ ผ่านได้ ผ่านไม่ได้<br />

การลอดผ่านเยื ่อกึ ่งซึมผ่าน ผ่านได้ ผ่านไม่ได้ ผ่านไม่ได้<br />

การเกิดปรากฏการณ์ทินดอลล์ ไม่เกิด (ทะลุผ่าน) เกิด ไม่เกิด (ทึบแสง)<br />

การเคลื ่อนที ่แบบบราวเนียน ไม่เกิด เกิด ไม่เกิด<br />

การตกตะกอน ไม่ตกตะกอน ไม่ตกตะกอน ตกตะกอน

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!