13.07.2015 Views

Full Text - ศูนย์วิทยบริการ - กระทรวงสาธารณสุข

Full Text - ศูนย์วิทยบริการ - กระทรวงสาธารณสุข

Full Text - ศูนย์วิทยบริการ - กระทรวงสาธารณสุข

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

- หลีกเลี่ยงการซื้อถั่วงอก หรือขิงซอยที่ผานการใชสารฟอกขาว จนทําใหมีสีขาวอยูเสมอแมตากลมสีก็ยังไมคลํ้า- กอนบริโภคอาหารที่สงสัยวามีสารฟอกขาว ควรทําใหสุกเสียกอน เพราะสารโซเดียมไฮโดรซัลไฟตจะถูกทําลายดวยความรอนซึ่งปลอดภัยกวาการนํามารับประทานแบบสดๆ6) สารเรงเนื้อแดงสารเรงเนื้อแดง ไดแก สารซาบูทามอล และสารเคลนบูเทอรอล เปนตัวยาสําคัญในการผลิตยาบรรเทาโรคหอบหืด มีการนําไปผสมในอาหารสําหรับเลี้ยงหมู เพื่อเรงการเจริญเติบโตของหมูชวยทําใหกลามเนื้อขยายใหญขึ้นและมีไขมันนอยอันตรายจากสารเรงเนื้อแดงอาจจะทําใหมีอาการมือสั่น กลามเนื้อกระตุก ปวดศีรษะ หัวใจเตนเร็วผิดปกติกระวนกระวาย วิงเวียนศีรษะ บางรายมีอาการเปนลม คลื่นไส อาเจียน มีอาการทางจิตประสาท และเปนอันตรายมากสําหรับคนที่มีความไวตอสารนี้ เชน ผูที่เปนโรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง ผูปวยโรคเบาหวานและโรคไฮเปอรไทรอยด รวมทั้งทารกและหญิงมีครรภขอแนะนําในการเลือกซื้อเนื้อหมูที่ปลอดสารเรงเนื้อแดง- เลือกซื้อเนื้อหมูที่มีสีแดงธรรมชาติ มีมันหนาบริเวณสันหลัง เมื่ออยู ในลักษณะตัดขวาง มีมันแทรกระหวางกลามเนื้อเห็นไดชัดเจน- ไมซื้อเนื้อหมูที่มีสารเรงเนื้อแดง ซึ่งจะมีสีแดงเขมกวาปกติ และเมื่อหั่นทิ้งไวเนื้อหมูจะมีลักษณะคอนขางแหง7) แอฟลาทอกซินแอฟลาทอกซิน (Aflatoxin) เปนสารพิษที่สรางขึ้นโดยเชื้อราบางชนิด ซึ่งชอบเจริญเติบโตในอาหารโดยเฉพาะอยางยิ่งถามีความชื้นอยูดวย 14 – 30 % ก็ยิ่งทําใหเชื้อราเจริญเติบโตไดดีขึ้นทั้งยังทนความรอนไดถึง 260 องศาเซลเซียส จึงไมสามารถทําลายใหหมดไปโดยการหุงตมปกติ ลักษณะของเชื้อรา ชนิดนี้สังเกตไดงาย คือ มีสีเขียว สีเขียวแกมเหลือง หรือสีเขียวสมกลุมอาหารที่มักตรวจพบแอฟลาทอกซินสวนใหญพบในเมล็ดถั่วลิสง ขาวโพด ขาวโอต ขาวสาลี มันสําปะหลัง และอาหารแหงประเภทพริกแหง กุงแหง พริกปน พริกไทย เปนตนอันตรายตอผูบริโภคหากบริโภคอาหารที่มีการปนเป อนของแอฟลาทอกซินในปริมาณสูง จะทําใหอาเจียนทองเดิน แตหากไดรับในปริมาณตํ่าทําใหเกิดการสะสมที่ตับ ทําใหเนื้อตับมีไขมันสะสมมาก เซลลตับถูกทําลายจนอักเสบมีเลือดออกจนตับแข็ง หากสะสมจนปริมาณมากระดับหนึ่ง อาจทําใหเกิดโรคมะเร็งหรือโรคตับอื่นๆ32สถานการณความปลอดภัยดานอาหารและผลิตภัณฑสุขภาพ ณ สถานที่จําหนาย (กรุงเทพมหานคร)ผลการตรวจวิเคราะหเบื้องต้นทางด้านเคมีและจุลินทรีย ปงบประมาณ 2554

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!