13.07.2015 Views

Full Text - ศูนย์วิทยบริการ - กระทรวงสาธารณสุข

Full Text - ศูนย์วิทยบริการ - กระทรวงสาธารณสุข

Full Text - ศูนย์วิทยบริการ - กระทรวงสาธารณสุข

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

แอฟลาทอกซินในอาหาร ตามประกาศ<strong>กระทรวงสาธารณสุข</strong> ฉบับที่ 98 (พ.ศ. 2529) เรื่องมาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปอน ไดแก แอฟลาทอกซิน จากผลการสํารวจพบตัวอยางที่มีการปนเปอนสารแอฟลาทอกซิน รอยละ 12.35 (60/468) ในตัวอยาง พริกปน ถั่วลิสง พริกไทย และพริกแหง แตจากขอมูลการบริโภคอาหารของประเทศไทย (2549) ไมมีขอมูลการบริโภคถั่วลิสง พริกปน และพริกแหง ซึ่งอาหารดังกลาวอาจเปนอาหารที่คนไทยนิยมบริโภค ดังนั้น คนไทยยังมีความเสี่ยงที่จะไดรับอันตรายจากแอฟลาทอกซินในการบริโภคอาหารประเภทดังกลาวอยูแอฟลาทอกซินจัดเปนสารที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติในเมล็ดพืชหรือธัญพืชตางๆ โดยเกิดขึ้นจากเชื้อราAspergillus flavus ที่เจริญบนเมล็ดพืชหรือธัญพืชเหลานั้น การสรางสารแอฟลาทอกซินในเมล็ดพืช มีสาเหตุมาจากความบกพรองในกระบวนการจัดการผลิตในไรนา การเก็บเกี่ยวและกระบวนการหลังการเก็บเกี่ยว เชนการปนเปอนสปอรเชื้อราจากแปลงปลูก การเก็บเกี่ยวที่ทําใหเกิดความเสียหายของเมล็ด เปนตน ประกอบกับสภาพอากาศของเมืองไทยซึ่งเปนเขตรอนชื้นมีความเหมาะสมตอการเจริญของเชื้อราดังกลาว จึงทําใหมีการสรางสารพิษแอฟลาทอกซินและปนเปอนในตัวอยางอาหาร ดังนั้น การปองกันการเกิดขึ้นของแอฟลาทอกซินจึงตองมีการควบคุมตั้งแตการเพาะปลูก การเก็บเกี่ยว และการเก็บรักษาผลิตภัณฑนํ้าสมสายชู ตามประกาศ<strong>กระทรวงสาธารณสุข</strong> ฉบับที่ 204 (พ.ศ.2543) เรื่อง นํ้าสมสายชู กําหนดใหนํ้าสมสายชูหมักและกลั่นมีปริมาณกรดนํ้าสมไมนอยกวา 4 กรัมตอ 100 มิลลิลิตร (4%) และนํ้าสมสายชูเทียมมีปริมาณกรดนํ้าสมอยูระหวาง 4 – 7 กรัมตอ 100 มิลลิลิตร (4 - 7 %) จากการสํารวจพบนํ้าสมสายชู มีปริมาณกรดไมเปนไปตามมาตรฐาน คือ มีปริมาณกรดตํ่ากวารอยละ 4 รอยละ 34.38 (33/96)และมีปริมาณกรดนํ้าสมมากกวา 7% รอยละ 4.17 (4/96) ซึ่งเปนการเอาเปรียบผูบริโภคของผูผลิต ดังนั้นควรมีมาตรการในการแกไขปญหาดังกลาววัตถุเจือปนอาหาร ตามประกาศ<strong>กระทรวงสาธารณสุข</strong>ฉบับที่ 281 (พ.ศ.2547) เรื่อง วัตถุเจือปนอาหาร ไดแก สีสังเคราะห จากการสํารวจพบตัวอยางอาหารที่มีการปลอมปนสีสังเคราะห รอยละ15.69(88/561) ในตัวอยางผลิตภัณฑกุงแหง จากขอมูลการบริโภคของคนไทย พบวา คนไทยบริโภคกุงแหงเฉลี่ย 0.36 กรัม/คน/วัน ดังนั้น คนไทยมีความเสี่ยงในการไดรับอันตรายจากสีสังเคราะหนอย แตอยางไรก็ตาม ควรมีมาตรฐานในแกไขปญหาทั้งดานผูผลิตและผูบริโภค เนื่องจากกุงแหงเปนอาหารประเภทเนื้อสัตวตากแหงที่หามใสสีสังเคราะห นอกจากนี้สีสังเคราะหยังเปนอันตรายตอสุขภาพอีกดวยคาความเปนกรด-ดางของหนอไมปบปรับกรด ตามประกาศ<strong>กระทรวงสาธารณสุข</strong> ฉบับที่ 301(พ.ศ.2549) เรื่อง อาหารในภาชนะบรรจุที่ปดสนิท (ฉบับที่ 4) กําหนดให หนอไมปบปรับกรด มีคาความเปนกรด-ดางตั้งแต 4.6 ลงมา จากการสํารวจพบหนอไมป บปรับกรดที่จําหนายมีคาความเปนกรด-ดางสูงกวาสถานการณความปลอดภัยดานอาหารและผลิตภัณฑสุขภาพ ณ สถานที่จําหนาย (กรุงเทพมหานคร)ผลการตรวจวิเคราะหเบื้องต้นทางด้านเคมีและจุลินทรีย ปงบประมาณ 2554117

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!