13.07.2015 Views

Full Text - ศูนย์วิทยบริการ - กระทรวงสาธารณสุข

Full Text - ศูนย์วิทยบริการ - กระทรวงสาธารณสุข

Full Text - ศูนย์วิทยบริการ - กระทรวงสาธารณสุข

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ปญหาเปนระยะ ดังนั้นทําใหอัตราการปนเปอนมีแนวโนมลดลงทุกป และในปงบประมาณ 2551 เนนเก็บตัวอยางผลิตภัณฑกลุมเสี่ยง เพื่อใหทราบความรุนแรงของปญหาการปนเปอนในอาหารบางรายการ จากนั้นในปงบประมาณ 2552-2553 หนวยเคลื่อนที่ฯ ไดปรับเปลี่ยนวิธีการวางแผนเก็บตัวอยางโดยเนนเก็บตัวอยางผลิตภัณฑที่คนไทยนิยมบริโภค ซึ่งในปงบประมาณ 2554 ไดนําผลการเฝาระวังในป 2553 ที่พบสารปลอมปนในอาหารมาใชในการวางแผนเก็บตัวอยางดวย เพื่อใหทราบความเสี่ยงของการไดรับสารปลอมปนจากการบริโภคอาหารแตละชนิด เพื่อนําไปใชเปนขอมูลในการกําหนดมาตรการแกไขปญหาตอไป โดยพบชนิดอาหารที่มีความเสี่ยง ดังนี้สารเคมีตกคางจากการเกษตร ตามประกาศ<strong>กระทรวงสาธารณสุข</strong> ฉบับที่ 288 (พ.ศ. 2548) เรื่องอาหารที่มีสารพิษตกคาง ไดแก ยาฆาแมลงชนิดตางๆ สําหรับตัวอยางอาหารประเภทผักผลไมและผลิตภัณฑพบตัวอยางที่มีการตกคางของยาฆาแมลงรอยละ 8.18 (131/1,601) เทานั้น จากขอมูลการบริโภคของคนไทย พบวา คนไทยบริโภคกระเทียมเฉลี่ย 3.34 กรัม/คน/วัน และผักชี เฉลี่ย 0.93 กรัม/คน/วัน ซึ่งเปนปริมาณที่นอย ดังนั้น ถึงแมวาจะตรวจพบการปลอมปนในกระเทียมและผักชีปริมาณสูง คนไทยก็ยังคงมีความเสี่ยงนอยสารปลอมปนในอาหาร ตามประกาศ<strong>กระทรวงสาธารณสุข</strong> ฉบับที่ 98 (พ.ศ. 2536) เรื่องกําหนดวัตถุที่หามใชในอาหาร จากผลการสํารวจตัวอยางอาหารทั้งหมด พบการปลอมปนฟอรมัลดีไฮด รอยละ 4.63(32/691) ในตัวอยาง ปลาหมึกกรอบ สไบนาง และปลาหมึก การปลอมปนสารกันรา รอยละ 5.22 (23/441)ในตัวอยาง ผลไมดอง ผักกาดดองเค็ม ผักกาดดองหวาน และผักกาดดองเปรี้ยว จากขอมูลการบริโภคของคนไทย พบวา คนไทยบริโภคปลาหมึกเฉลี่ย 3.00 กรัม/คน/วัน ซึ่งเปนปริมาณที่นอย ดังนั้น ถึงแมวาจะตรวจพบการปลอมปนในปลาหมึกปริมาณสูง คนไทยก็ยังคงมีความเสี่ยงนอยเนื่องจากขอมูลการบริโภคอาหารของประเทศไทย (2549) ไมมีขอมูลการบริโภคสไบนางปลาหมึกกรอบ และผลไมดอง ซึ่งอาหารดังกลาวอาจเปนอาหารที่คนไทยนิยมบริโภค ดังนั้น คนไทยยังมีความเสี่ยงในการไดรับสารปลอมปนจากการบริโภคอาหารประเภทดังกลาวอยูสารเคมีตกคางกลุมเบตาอะโกนิสต ตามประกาศ<strong>กระทรวงสาธารณสุข</strong> ฉบับที่ 269 (พ.ศ. 2546)เรื่องมาตรฐานอาหารที่มีการปนเปอนสารเคมีกลุมเบตาอะโกนิสต จากผลการสํารวจตัวอยางหมูเนื้อแดงพบตัวอยางที่มีสารเคมีตกคางกลุมเบตาอะโกนิสต รอยละ 6.70 (12/179) จากขอมูลการบริโภคของคนไทยพบวา คนไทยบริโภคหมูเนื้อแดงเฉลี่ย 19.38 กรัม/คน/วัน ซึ่งเปนปริมาณที่คอนขางมาก ดังนั้นการตรวจพบสารเคมีตกคางกลุมเบตาอะโกนิสต แสดงใหเห็นวาคนไทยมีความเสี่ยงสูงในการไดรับอันตรายจากสารตกคางดังกลาว116สถานการณความปลอดภัยดานอาหารและผลิตภัณฑสุขภาพ ณ สถานที่จําหนาย (กรุงเทพมหานคร)ผลการตรวจวิเคราะหเบื้องต้นทางด้านเคมีและจุลินทรีย ปงบประมาณ 2554

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!