13.07.2015 Views

แบบฝึกหัดชุดที่ 2

แบบฝึกหัดชุดที่ 2

แบบฝึกหัดชุดที่ 2

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

2302112 Electrochemistry1ไฟฟ้ าเคมีReduction = รีดักชัน = รับ e = ลด เลขออกซิเดชัน = ถูกรีดิวซ์ = ตัวออกซิไดซ์ oxidizer = ทําหน้าที ออกซิไดซ์Oxidation = ออกซิเดชัน = ออก e = เพิม เลขออกซิเดชัน = ถูกออกซิไดซ์ = ตัวรีดิวซ์ reducer = ทําหน้าที รีดิวซ์ การดุลสมการ1. ดุลรีดอกซ์2. ดุลกรด-เบส (ให้แยกคิดเป็น 2 สมการ แล้วนํามารวมกันโดยต้องไม่มี e เหลือในสมการรวม)ดุลในกรด (เติมได้เฉพาะ H 2 O และ H + )ดุลธาตุที ไม่ใช่ O กับ Hดุลธาตุ O กับ Hถ้าต้องการ H ด้านไหน ให้เติม H + ด้านนันถ้าต้องการเติม O ด้านไหน ให้เติม H 2 O ด้านนันและ 2H + ด้านตรงข้ามดุลประจุ โดยการเติม e −ดุลในเบส (เติมได้เฉพาะ H 2 O และ OH − )ดุลธาตุที ไม่ใช่ O กับ Hดุลธาตุ O กับ Hถ้าต้องการ H ด้านไหน ให้เติม H 2 O ด้านนันและ OH − ด้านตรงข้ามถ้าต้องการเติม O ด้านไหน ให้เติม 2 OH − ด้านนันและ H 2 O ด้านตรงข้ามดุลประจุ โดยการเติม e − เซลล์กัลวานิก Galvanic cellE 0 cell = E 0 มาก - E 0 น้อย (ถ้า E 0 ทังสองเขียนในแบบรีดักชัน)E 0 cell = E 0 reduction + E 0 oxidationแผนภาพเซลล์โลหะ(s) / แก๊ส(g) / สารละลาย(aq) // สารละลาย(aq) / แก๊ส(g) / โลหะ(s)OxidationReductionแท่งโลหะ ที จุ่มในสารละลาย แล้วเกิดปฏิกิริยาได้ = E 0 สารละลาย > E 0 โลหะภาชนะที ใช้บรรจุสารละลาย ควรต้องมีค่า E 0 โลหะ > E 0 สารละลายeืoååeåo aeиåo æauo


2302112 Electrochemistry2 เซลล์อิเล็กโตรลิติก Electrolytic cellเซลล์กัลวานิก Galvanic cellความแตกต่างE 0 +สามารเกิดขึ นได้เองเปลี ยนปฏิกิริยาเคมี เป็นไฟฟ้าAnode=ขัวลบ Cathode=ขัวบวก2 ภาชนะ พร้อมสะพานเกลือเซลล์อิเล็กโตรลิติก Electrolytic cellE 0 –เกิดไม่ได้เอง ต้องใส่ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าเปลี ยนไฟฟ้า เป็นปฏิกิริยาเคมีAnode=ขัวบวก Cathode=ขัวลบ1 ภาชนะความเหมือนAnode=Oxidation Cathode=Reductione วิงจาก Anode ไป Cathodeเข็มเบนทิศทางเดียวกันกับ eเข็มเบนทิศทางตรงกันข้ามกับ กระแสไฟฟ้าค่า E 0 ทีเงิน ทอง(แดง)Anode=Oxidation Cathode=Reductionควรท่องจํา Ag + > Cu 2+ > H + > Pb 2+ >Sn 2+ > Ni 2+ > Fe 2+ > Cr 3+ > Zn 2+ > Mg 2+(ตะ)กัว ดีบุก นี เ(ห)ล็ก โค(ต)ร สังกะสี มากๆ2 H 2 O(l) + 2e − H 2 (g) + 2 OH − (aq) E 0 = -0.83½ O 2 (g) + 2 H + (aq) + 2e − H 2 O(l) E 0 = 1.23การคํานวณค่า E 01. สมการบวกกัน ค่า E 0 บวกกัน2. สมการลบกัน ค่า E 0 ลบกัน3. คูณหรือหารเลขใดๆตลอดสมการ ค่า E 0 คงเดิม4. กลับสมการ ค่า E 0 กลับเครื องหมายeืoååeåo aeиåo æauo


2302112 Electrochemistry3ตาราง ค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานครึ งเซลล์eืoååeåo aeиåo æauo


2302112 Electrochemistry4จงดุลสมการต่อไปนีในกรด2−1. I 2 + S 2 O 3 I − 2−+ S 4 O 62. CO + I 2 O 5 CO 2 + I 2−3. Cu +2 NO 3 Cu 2+ + NO + 4 H 2 O4. Zn + H 3 AsO 4 AsH 3 + Zn 2+ + 4 H 2 O5. Zn + As 2 O 3 AsH 3 + Zn 2+ + 3 H 2 O6. Cr 2 O 2− 7 + Cl − + Cr 3+ + Cl 2 + 7 H 2 O7. Fe 2+ + MnO − 4 + Mn 2+ + Fe 3+ + 4 H 2 O8. Cr 2 O 2− 7 + C 2 O 2− 4 + Cr 3+ + CO 2 + 7 H 2 O9. Pb 2+ Pb + PbO 2 + 4 H +10. IO− 3 + I − I 2 + 3 H 2 O11. Mn 3+ + PbO 2 MnO − 4 + Pb 2+12. Zn + NO − 3 + Zn 2+ + NH + 4 + 3 H 2 O13. Cr 2 O 2− 7 + H 2 SO 3 Cr 3+ + HSO − 4 + 4 H 2 O14. ClO − 3 + Cl − Cl 2 + ClO 2 + 2 H 2 O15. BrO − 3 + Br − + H + Br 2 + H 2 Oจงดุลสมการต่อไปนีในเบส2−1. ClO 2 + O 2 ClO − 2 + O 22. I 2 IO− 3 + I −3. PbO 2 + Cl − ClO − −+ Pb(OH) 34. CrO 2− 4 + I − Cr 3+ −+ IO 35. MnO − 4 + S 2− MnO 2 + S−6. Br 2 + AsO 2 AsO 3− 4 + Br −−7. Zn + NO 3 Zn 2+ + NO8. Mn 2+ −+ ClO 3 MnO − 2 + ClO 29. ClO − −+ Cr(OH) 4 CrO 2− 4 + Cl −10. CN − 3−+ AsO 4 CNO − −+ AsO 211. CrO − −2 + HO 2 CrO 2− 4 + H 2 O−12. Zn + NO 3 Zn(OH) 2− 4 + NH 313. Cu(NH 3 ) + 42−+ S 2 O 4 SO 2− 3 + Cu + NH 314. Br 2 BrO − 3 + Br −eืoååeåo aeиåo æauo


2302112 Electrochemistry515. Mn 2+ + H 2 O 2 MnO 2 + H 2 O2−16. Bi(OH) 3 + SnO 2 SnO 2− 3 + Bi17. MnO − 4 + CN − CNO − + MnO 218. CrO − 2 + ClO − CrO 2− 4 + Cl −19. CrO 2− 2−4 + SO 3 Cr(OH) − 2−4 + SO 420. Cr 2 O 7 2− + I − Cr 3+ + I 221. CN − + OH − + Cu(NH 3 ) 42+Cu(CN) 3 2− + NH 3 + CNO − + H 2 Oจงดุลสมการรีดอกซ์ต่อไปนี1. HNO 3 + H 2 S NO + S + H 2 O2. KMnO 4 + KCl + H 2 SO 4 MnSO 4 + K 2 SO 4 + H 2 O + Cl 23. KMnO 4 K 2 MnO 4 + MnO 2 + O 24. KClO 3 KCl + O 25. KMnO 4 + HCl KCl + MnCl 2 + H 2 O + Cl 26. HNO 3 (aq) + H 3 AsO 3 (aq) NO(g) + H 3 AsO 4 (aq) + H 2 O(l)7. Cu(s) + HNO 3 (aq) Cu(NO 3 ) 2 (aq) + NO(g) + H 2 O(l)8. NO 2 (g) + H 2 (g) NH 3 (g) + H 2 O(l)9. Al(s) + MnO 2 (s) Al 2 O 3 (s) + Mn(s)10. SO 2 (g) + HNO 2 (aq) H 2 SO 4 (aq) + NO(g)11. HNO 3 (aq) + H 2 S(aq) NO(g) + S(s) + H 2 O(l)12. Al(s) + H 2 SO 4 (aq) Al 2 (SO 4 ) 3 (aq) + H 2 (g)13. KMnO 4 + H 2 SO 4 + H 2 O 2 K 2 SO 4 + MnSO 4 + H 2 O + O 214. CrO 3 + H 2 SO 4 Cr 2 (SO 4 ) 3 + H 2 O + O 215. K 2 Cr 2 O 7 + H 2 SO 4 KHSO 4 + Cr 2 (SO 4 ) 3 + H 2 O + O 2eืoååeåo aeиåo æauo


2302112 Electrochemistryเฉลยจงดุลสมการต่อไปนีในกรด2−1. I 2 + 2 S 2 O 3 2 I − 2−+ S 4 O 62. 5 CO + I 2 O 5 5 CO 2 + I 23. 3 Cu + 2 NO − 3 + 8 H + 3 Cu 2+ + 2 NO + 4 H 2 O4. 4 Zn + H 3 AsO 4 + 8 H + AsH 3 + 4 Zn 2+ + 4 H 2 O5. 6 Zn + As 2 O 3 + 12 H + 2 AsH 3 + 6 Zn 2+ + 3 H 2 O6. Cr 2 O 2− 7 + 6 Cl − + 14 H + 2 Cr 3+ + 3 Cl 2 + 7 H 2 O7. 5 Fe 2+ + MnO − 4 + 8 H + Mn 2+ + 5 Fe 3+ + 4 H 2 O8. Cr 2 O 2− 7 + 3 C 2 O 2− 4 + 14 H + 2 Cr 3+ + 6 CO 2 + 7 H 2 O9. 2 Pb 2+ + 2 H 2 O Pb + PbO 2 + 4 H +10. IO− 3 + 5 I − + 6 H + 3 I 2 + 3 H 2 O11. Mn 3+ + 2 PbO 2 MnO − 4 + 2 Pb 2+12. 4 Zn + NO − 3 + 10 H + 4 Zn 2+ + NH + 4 + 3 H 2 O13. Cr 2 O 2− 7 + 3 H 2 SO 3 + 5 H + 2 Cr 3+ + 3 HSO − 4 + 4 H 2 O14. 2 ClO − 3 + 2 Cl − + 4 H + Cl 2 + 2 ClO 2 + 2 H 2 O15. BrO − 3 + 5 Br − + 6 H + 3 Br 2 + 3 H 2 Oจงดุลสมการต่อไปนีในเบส2−1. 2 ClO 2 + O 2 2 ClO − 2 + O 22. 3 I 2 + 6 OH − IO− 3 + 5 I − + 3 H 2 O3. PbO 2 + Cl − + OH − + H 2 O ClO − −+ Pb(OH) 34. 2 CrO 2− 4 + I − + 5 H 2 O 2 Cr 3+ + IO − 3 + 10 OH −5. 2 MnO − 4 + 3 S 2− + 4 H 2 O 2 MnO 2 + 3 S + 8 OH −6. Br 2 + AsO − 2 + 4 OH − AsO 3− 4 + 2 Br − + 2 H 2 O7. 3 Zn + 2 NO − 3 + 4 H 2 O 3 Zn 2+ + 2 NO + 8 OH −8. Mn 2+ + ClO − 3 + 2 OH − MnO − 2 + ClO 2 + H 2 O9. 3 ClO − + 2 Cr(OH) − 4 + 2 OH − 2 CrO 2− 4 + 3 Cl − + 5 H 2 O10. CN − + AsO 3− 4 + H 2 O CNO − + AsO − 2 + 2 OH −11. 2 CrO − −2 + 3 HO 2 2 CrO 2− 4 + H 2 O + OH −612. 4 Zn + NO 3 − + 7 OH − + 6 H 2 O 4 Zn(OH) 4 2− + NH 313. 2 Cu(NH 3 ) 4 + + S 2 O 4 2− + 4 OH − 2 SO 3 2− + 2 Cu + 8 NH 3 + 2 H 2 O14. 3 Br 2 + 6 OH − BrO 3 − + 5 Br − + 3 H 2 Oeืoååeåo aeиåo æauo


2302112 Electrochemistryเฉลย15. Mn 2+ + H 2 O 2 + 2 OH − MnO 2 + 2 H 2 O2−16. 2 Bi(OH) 3 + 3 SnO 2 3 SnO 2− 3 + 2 Bi + 3 H 2 O17. 2 MnO − 4 + 3 CN − + H 2 O 3 CNO − + 2 MnO 2 + 2 OH −18. 2 CrO − 2 + 3 ClO − + 2 OH − 2 CrO 2− 4 + 3 Cl − + H 2 O19. 2 CrO 2− 4 + 3 SO 2− 3 + 5 H 2 O 2 Cr(OH) − 4 + 3 SO 2− 4 + 2 OH −20. Cr 2 O 2− 7 + 6 I − + 7 H 2 O 2 Cr 3+ + 3 I 2 + 14 OH −21. 7 CN − + 2 OH − 2++ 2 Cu(NH 3 ) 4 2 Cu(CN) 2− 3 + 8 NH 3 + CNO − + H 2 O7จงดุลสมการรีดอกซ์ต่อไปนี1. 2 HNO 3 + 3 H 2 S 2 NO + 3 S + 4 H 2 O2. 2 KMnO 4 + 10 KCl + 8 H 2 SO 4 2 MnSO 4 + 6 K 2 SO 4 + 8 H 2 O + 5 Cl 23. 2 KMnO 4 K 2 MnO 4 + MnO 2 + O 24. 2 KClO 3 2 KCl + 3 O 25. 2 KMnO 4 + 16 HCl 2 KCl + 2 MnCl 2 + 8 H 2 O + 5 Cl 26. 2 HNO 3 (aq) + 3 H 3 AsO 3 (aq) 2 NO(g) + 3 H 3 AsO 4 (aq) + H 2 O(l)7. 3 Cu(s) + 8 HNO 3 (aq) 3 Cu(NO 3 ) 2 (aq) + 2 NO(g) + 4 H 2 O(l)8. 2 NO 2 (g) + 7 H 2 (g) 2 NH 3 (g) + 4 H 2 O(l)9. 4 Al(s) + 3 MnO 2 (s) 2 Al 2 O 3 (s) + 3 Mn(s)10. SO 2 (g) + 2 HNO 2 (aq) H 2 SO 4 (aq) + 2 NO(g)11. 2 HNO 3 (aq) + 3 H 2 S(aq) 2 NO(g) + 3 S(s) + 4 H 2 O(l)12. 2 Al(s) + 3 H 2 SO 4 (aq) Al 2 (SO 4 ) 3 (aq) + 3 H 2 (g)13. 2 KMnO 4 + 3 H 2 SO 4 + 5 H 2 O 2 K 2 SO 4 + 2 MnSO 4 + 8 H 2 O +5 O 214. 4 CrO 3 + 6 H 2 SO 4 2 Cr 2 (SO 4 ) 3 + 6 H 2 O + 3 O 215. 2 K 2 Cr 2 O 7 + 10 H 2 SO 4 4 KHSO 4 + 2 Cr 2 (SO 4 ) 3 + 8 H 2 O +3 O 2eืoååeåo aeиåo æauo


2302112 Electrochemistry8ไฟฟ้ าเคมี1. เมื อนําแท่งดีบุกจุ่มลงในสารละลายของตะกัวไนเตรต ปรากฏว่ามีโลหะตะกัวเกาะบนแท่งดีบุก แสดงว่า1. แท่งดีบุกเป็นตัวออกซิไดซ์ 2. แท่งดีบุกเป็นตัวรีดิวซ์3. โลหะตะกัวเป็นตัวออกซิไดซ์ 4. ตะกัวไอออนเป็นตัวรีดิวซ์2. สมการใดที จัดว่าเป็นปฏิกิริยารีดอกซ์1. Zn 2 [Fe(CN) 6 ] + 8NaOH 2Na 2 ZnO 2 + Na 4 [Fe(CN) 6 ] + 4H 2 O2. Co(NO 3 ) 2 + 6KCN K 4 [Co(CN) 6 ] + 2KNO 33. 2CuSO 4 + 4KCN Cu 2 (CN) 2 + 2K 2 SO 4 + 2(CN) 24. Ag(NH 3 ) 2 Cl + 2HNO 3 AgCl + 2NH 4 NO 33. ปฏิกิริยาเคมีในข้อใดต่อไปนี เป็นปฏิกิริยาประเภทรีดอกซ์อย่างแน่นอน1. เมื อผสมสารละลายสองชนิดที มีตะกอนเกิดขึ น2. เมื อกรดซัลฟิวริกแตกตัวเป็นไอออนในนํ า3. เมื อกรดซัลฟิวริกทําปฏิกิริยาสะเทินกับโซเดียมไฮดรอกไซด์4. เมื อสารประกอบบางชนิดทําปฏิกิริยากับกรดแล้วมีก๊าซคลอรีนเกิดขึ นคําชีแจง ข้อมูลต่อไปนี ใช้ประกอบการตอบคําถามข้อ 4ไอออนบางชนิดของโครเมียมในสารละลายมีสีดังนีไอออนสี2ไดโครเมตไอออน (Cr 2 O −7 )ส้ม2โครเมตไอออน (CrO −4 )เหลืองโครเมียม (III) ไอออน (Cr 3+ )เขียวจากการทดลองทราบว่าไดโครเมตไอออนที อยู ่ในสารละลายกรดจะถูกรีดิวซ์ได้ง่ายเมื อผสมกับสารละลาย Na 2 S ดังนัน ถ้าผสมสารละลายโพแทสเซียมไดโครเมต (K 2 Cr 2 O 7 ) ในสารละลาย ก ร ดH 2 SO 4 รวมกับสารละลาย Na 2 S ไว้ในบีกเกอร์4. การเปลี ยนแปลงที สังเกตได้ควรเป็นอย่างไร1. สีของสารละลายเปลี ยนจากเดิมสีส้มเป็นสีเหลือง2. สีของสารละลายเปลี ยนจากเดิมสีส้มเป็นสีเขียว3. สีของสารละลายเปลี ยนจากเดิมสีส้มเป็นไม่มีสี4. มีก๊าซไม่มีสีที มีกลินเหม็นเกิดขึ น5. ในปฏิกิริยารีดอกซ์ต่อไปนี ปฏิกิริยาใดที มีตัวรีดิวซ์มีการเปลี ยนค่าเลขออกซิเดชันจาก +3 เป็น +41. 2 Na 2 S 2 O 3 + I 2 → 2 Nal + Na 2 S 4 O 62. 2 CuO + 2 NH 3 → 3 Cu + 3 H 2 O + N 23. 3 Na 2 SnO 2 + KClO 3 → KCl + 3Na 2 SnO 34. 2 KMnO 4 + 3 H 2 C 2 O 4 → K 2 CO 3 + 2 MnO 2 + 5 CO 2 + 3 H 2 Oeืoååeåo aeиåo æauo


2302112 Electrochemistry96. จากสมการข้างล่างนี จงเลือกปฏิกิริยาที ธาตุตัวหนึ งถูกรีดิวซ์ และทังถูกออกซิไดซ์−1. 4 Zn + NO 3 → 4 Zn 2+ + NH + 4 + 13 H 2 O2. 2 Al + 6 H 2 O + 2 OH − → 2 Al(OH) 4−+ 3 H 2 O3. 3 Cl 2 + 6 NaOH → 5 NaCl + NaClO 3 + 3 H 2 O−4. 2 CrO 2 + 3 CIO − + 2 OH − 2→ 2 CrO −4 + 3 Cl − + H 2 O7. สารที ขีดเส้นใต้ในข้อใดที เป็นตัวรีดิวซ์1. Cu(s) + 4 HNO 3 (aq)→ Cu(NO 3 ) 2 (aq) + 2 NO + 2 H 2 O2. N 2 (g) + 3 H 2 (g) → 2 NH 3 (g)3. Zn(s) + Pb(NO 3 ) 2 (aq) → Zn(NO 3 ) 2 (aq) + Pb(s)4. 2 AgNO 3 (aq) + BaCl 2 (aq) → 2AgCl(s) + Ba(NO 3 ) 2 (aq)8. จงพิจารณาปฏิกิริยารีดอกซ์ : Ni(s) + 2Ag + (aq) → Ni 2+ (aq) + 2Ag(s) ท่านคิดว่าข้อความใดที ถูกต้องที สุด1. Ag + เป็นตัวรีดิวซ์ 2. Ni เป็นตัวรีดิวซ์3. Ni → Ni 2+ + 2e − เป็นปฏิกิริยารีดักชัน 4. Ag + + e − → Ag เป็นปฏิกิริยาออกซิเดชัน− − −9. จากปฏิกิริยา 2 MnO 4 + H 2 O + 3 NO 2 → 2 MnO 2 + 3 NO 3 + 2 OH −จงพิจารณาว่าข้อความใดที ไม่ถูกต้อง− −1. NO 2 ถูกออกซิไดซ์ด้วย MnO 4−2. ครึ งปฏิกิริยาเขียนได้เป็น NO 2 + 2 OH − −→ NO 3 + H 2 O + 2e −3. ปฏิกิริยานี มีการให้รับอิเล็กตรอน 2 ตัว−4. ธาตุ Mn ใน MnO 4 เปลี ยนเลขออกซิเดชันไป 310. จงทําสมการรีดอกซ์นี ให้ดุลแล้วบอกว่า a b c d มีค่าเท่าไรa Fe 2+ 2(aq) + b Cr 2 O −7 (aq) + x H + (aq) → c Fe 3+ (aq) + d Cr 3+ (aq) + y H 2 O(I)1. 6, 1, 6, 2 2. 1, 1, 1, 2 3. 3, 2, 3, 4 4. 3, 1, 3, 211. เมื อทําให้สมการ NaCl + H 2 O 2 + FeCl 2 → FeCl 3 + NaOH ดุลแล้วตัวเลขสัมประสิทธิที บอกจํานวนโมลของโซเดียมไฮดรอกไซด์จะมีค่าเท่าใด1. 1 2. 2 3. 3 4. 412. เมื อต้องการดุลสมการของปฏิกิริยาระหว่าง Cu กับ HNO 3Cu(s) + H + −(aq) + NO 3 (aq) → Cu 2+ (aq) + NO(g) + H 2 O(I) ถ้าสัมประสิทธิของ Cu เป็น 1 สัมประสิทธิของ H 2 O เป็นเท่าใด481.2.3. 2 4. 433eืoååeåo aeиåo æauo


่2302112 Electrochemistry10่คําชีแจง ใช้ข้อมูลในตารางประกอบการตอบคําถามข้อ 13 – 15การเปลียนแปลงทีสังเกตได้การสารละลาย ก่อนเติมสารละลายโซเดียม หลังเติมสารละลายโซเดียมทดลองทีซัลไฟด์ซัลไฟด์1 คอปเปอร์ (II) ซัลเฟต สารละลายสีฟ้า ได้ตะกอนหนักสีดํา2 ซิงค์ซัลเฟต สารละลายไม่มีสี ได้ตะกอนเบาสีขาว3 คอปเปอร์ (II) ซัลเฟตที มีแผ่นสังกะสีจุ่มอยูสีฟ้าของสารละลายจางลงคราบโลหะสีนํ าตาลแดงจับบานแผ่นเมื อเริมทดลองได้ตะกอนสีดําของตะกอนค่อย ๆ เปลี ยนจากดําเป็นสังกะสีขาว ตังทิ งไว้ 1 ช.ม.ได้ตะกอนเบาสีขาว4 ซิงค์ซัลเฟตที มี ไม่เกิดการเปลี ยนแปลงที ได้ตะกอนเบาสีขาวแผ่นทองแดงจุ่มอยู สังเกตได้13. ถ้านําโลหะและสารละลายมาใหม่แล้วต่อครึ งเซลล์ Cu/Cu 2+ เข้ากับครึ งเซลล์ Zn/Zn 2+ พร้อมด้วยโวลต์มิเตอร์และสะพานไอออน การทํานายเกี ยวกับเซลล์ไฟฟ้าเคมีนี มีข้อใดผิด1. ความต่างศักย์ของเซลล์ = ศักย์ไฟฟ้าของขัวทองแดง – ศักย์ไฟฟ้าที ขัวสังกะสี2. แอโนดของเซลล์คือสังกะสี3. ตัวออกซิไดซ์ คือ ทองแดงไอออน4. เข็มของโวลต์มิเตอร์จะเบนเข้าหาสังกะสี14. ในเซลล์ไฟฟ้ าที ต่อขึ นใหม่นี ถ้าศักย์ไฟฟ้ าครึ งเซลล์มาตรฐาน (แบบรีดักชัน) ที ขัวทองแดงมีค่า aศักย์ไฟฟ้าครึ งเซลล์มาตรฐานที ขัวสังกะสีจะมีค่า1. a + b , เมื อ a และ b เป็นบวก2. a – b , เมื อ a เป็นบวก b เป็นลบ3. a + b , เมื อ a และ b เป็นลบ4. a + b , เมื อ a เป็นลบ b เป็นบวก15. ในเซลล์ไฟฟ้าที ต่อขึ นใหม่นี การทํานายสิงที เกิดขึ นข้อใดถูก1. ความเข้มข้นของ Zn 2+ จะลดลงเรื อย ๆ2. ความเข้มข้นของ Zn 2+ จะเพิมขึ นเรื อย ๆ3. ความเข้มข้นของ Cu 2+ จะเพิมขึ นเรื อย4. ความเข้มข้นของ Cu 2+ จะลดถึงศูนย์ในที สุด16. จากการทดลองผสมสาร X(s), X 2+ (aq), Y(s), Y 2+ (aq) ในหลอดทดลองที 1 และ Y(s), Y 2+ (aq) Z(s),Z 2+ (aq) ในหลอดทดลองที 2 ได้ข้อมูลดังนีหลอดที 1 หลอดที 2ปริมาณของ X ลดลง -Y เพิมขึ นลดลงZ - เพิมขึ นดังนัน ถ้าต่อครึ งเซลล์ X(s)/X 2+ (aq) กับครึ งเซลล์ Z(s)/Z 2+ (aq) เข้าด้วยกัน ข้อความใดถูกต้องที สุด1. เข็มโวลต์มิเตอร์เบนเข้าหาขัว X แสดงว่าขัว X เป็นแคโทด2. เข็มโวลต์มิเตอร์เบนเข้าหาขัว X แสดงว่าขัว X เป็นแอโทด3. เข็มโวลต์มิเตอร์เบนเข้าหาขัว Z แสดงว่าขัว Z เป็นแคโทด4. เข็มโวลต์มิเตอร์เบนเข้าหาขัว Z แสดงว่าขัว Z เป็นแอโทดeืoååeåo aeиåo æauo


2302112 Electrochemistry1117. ในการทดลองเพื อแสดงการถ่ายเทอิเล็กตรอน (เห็นได้จากเข็มโวลต์มิเตอร์) ในปฏิกิริยารีดอกซ์ซึ งประกอบด้วยครึ งเซลล์ชนิดที หนึ งต่ออยู ่กับครึ งเซลล์ชนิดที สอง เหตุผลที ดีที สุดที เราใช้สะพานไอออนทีประกอบด้วยกระดาษกรองชุบสารละลายโพแทสเซียมไนเตรต คือ1. โพแทสเซียมไนเตรตประกอบด้วยไอออนต่างชนิดจากไอออนทังหลายในครึ งเซลล์ทังสอง2. โพแทสเซียมไนเตรตเป็นสารประกอบไอออนิก สารละลายจึงยอมให้ไอออนผ่านโดยที สารละลายในครึ งเซลล์ทังสองไม่เปลี ยนระดับ3. สารละลายโพแทสเซียมไนเตรตมีความต้านทานไฟฟ้าสูง4. ถ้าใช้ลวดทองแดงเป็นสะพานไอออน ปฏิกิริยาจะเกิดขึ นเร็วเกินไป18. ในการทําสะพานไอออน เพราะเหตุใดจึงเลือกใช้สารละลายอิมตัวของ KNO 3 แทนการใช้สารละลายไม่อิมตัวของ KNO 31. ถ้าต้องการให้นําไฟฟ้าได้ดี2. รักษาสมดุลระหว่างไอออนบวกและไอออนลบได้แน่นอน3. มีระยะเวลาใช้งานได้นาน4. ให้ไอออนเคลื อนผ่านสะพานไอออนได้เร็วคําชีแจง ข้อความต่อไปนี ใช้ประกอบการตอบคําถามข้อ 19 - 21(1) โซเดียมทําปฏิกิริยารุนแรงกับนํ าในขณะที Zn ไม่ทําปฏิกิริยากับนํ า(2) แผ่น Zn ทําปฏิกิริยากับสารละลาย HCl เจือจางเร็วกว่า แผ่น Fe(3) แท่ง Cu จุ่มในสารละลายซิลเวอร์ไนเตรตเกิดสีเงินติดแท่งทองแดงและสารละลายเป็นสีฟ้าอ่อน(4) ใส่ผงเหล็กในสารละลายคอปเปอร์ซัลเฟตเกิดสีส้มหุ้มผงเหล็ก19. การเรียงลําดับธาตุตามความสามารถเป็นตัวรีดิวซ์จากมากไปน้อยเป็นไปตามข้อใด1. Zn, Na, Fe, Cu, Ag 2. Ag, Cu, Fe, Zn, Na3. Na, Fe, Zn, Ag, Cu 4. Na, Zn, Fe, Cu, Ag20. ถ้าสร้างเซลล์ไฟฟ้าเคมีเหล็ก – ทองแดง1. อิเล็กตรอนไหลจากเหล็กไปยังทองแดง2. เหล็กเป็นแคโทด3. ตัวรีดิวซ์คือทองแดง4. ค่าศักย์ไฟฟ้าครึ งเซลล์มาตรฐานของ Cu/Cu 2+ น้อยกว่าของ Fe/Fe 2+21. ข้อความใดต่อไปนี ที ไม่ถูกต้อง1. ปฏิกิริยา Zn + 2Ag + → 2Ag + Zn 2+ เกิดขึ นไม่ได้2. ค่า E o ของครึ งเซลล์ Fe/Fe 2+ น้อยกว่า 0 V3. 2Na + 2H 2 O → 2NaOH + H 2 เป็นปฏิกิริยารีดอกซ์4. ซิลเวอร์ไอออนเป็นตัวออกซิไดซ์คอปเปอร์22. ในปฏิกิริยาของโลหะ Q, X, Y และ Z ต่อไปนี2 X − (aq) + Y 2 (g) → 2 Y − (aq) + X 2 (g)X 2 (g) + 2 Z − (aq) → 2 X − (aq) + Z 2 (g)X 2 (g) + Q − (aq) → ไม่เกิดการเปลี ยนแปลงeืoååeåo aeиåo æauo


2302112 Electrochemistry12เมื อเรียงไอออนที เป็นตัวให้อิเล็กตรอนจากง่ายไปยากจะได้ดังข้อใด1. Q − , X − , Y − , Z − 2. Q − , Z − , Y − , X −3. Y − , Z − , X − , Q − 4. Z − , X − , Y − , Q −คําชีแจง ข้อมูลต่อไปนี ใช้ประกอบการตอบคําถามข้อ 23 - 24ไอออนโลหะMn 2+ Fe 2+ Co 2+ Zn 2+Mn + + +Fe - + -Co - - -Zn - + ++ หมายถึงเกิดปฏิกิริยา - หมายถึงไม่เกิดปฏิกิริยา23. ความสามารถในการเสียอิเล็กตรอนเรียงตามลําดับเป็นดังข้อใด1. Mn > Zn > Fe > Co 2. Fe > Co > Mn > Zn3. Zn > Fe > Co > Mn 4. Co > Fe > Zn > Mn24. จากปฏิกิริยาที เกิดขึ นได้เมื อนํามาสร้างเซลล์ไฟฟ้า เซลล์ที ให้ E o รวมมากที สุดคือเซลล์ใด1. Mn/Mn 2 //Fe 2+ /Fe 2. Mn/Mn 2+ //Co 2+ /Co3. Zn/Zn 2+ //Co 2+ /Co 4. Zn/Zn 2+ //Fe 2+ /Fe25. วิธีหนึ งที อาจใช้เปรียบเทียบความสามารถในการเป็นตัวรีดิวซ์ของโลหะ A, B, C, D คือต่อครึ งเซลล์ของโลหะไอออนเข้าคู ่กัน แล้วสังเกตว่ามีการเคลือบโลหะบนขัวใด เช่นโลหะและโลหะไอออนคู ่ทีต่อกันขัว A ขัว B ขัว C ขัว DA/A 2+ (aq) กับ B/B 2+ (aq) +B/B 2+ (aq) กับ C/C 2+ (aq) +C/C 2+ (aq) กับ D/D 2+ (aq) +การเคลือบโลหะเกิดขึ นบนขัวที มีเครื องหมาย + ข้อสรุปต่อไปนี ข้อใดถูกต้อง1. A เป็นตัวรีดิวซ์ที ดีกว่า B เพราะปฏิกิริยารับอิเล็กตรอนเกิดที ขัว A2. C เป็นตัวรีดิวซ์ที ดีกว่า B เพราะปฏิกิริยารับอิเล็กตรอนเกิดที ขัว B3. A เป็นตัวรีดิวซ์ที ดีกว่า C เพราะ C 2+ ชิงอิเล็กตรอนได้ดีกว่า B 2+ และ A สูญเสียอิเล็กตรอนง่ายกว่า B4. B เป็นตัวรีดิวซ์ที ดีกว่า D เพราะสูญเสียอิเล็กตรอนได้ยากกว่า C และ B 2+ ชิงอิเล็กตรอนได้ดีกว่า C 2+26. กําหนดค่าศักย์ไฟฟ้าครึ งเซลล์มาตรฐานที 25 o C ให้ดังนีX + + e − → XE o = -0.22 VY + + e − → YE o = -0.18 Vผลการทดลองต่อไปนี ข้อใดถูกต้อง1. เมื อจุ่มโลหะ Y ลงในภาชนะบรรจุสารละลาย XCl จะได้โลหะ X มาเกาะบนแท่ง Y2. เมื อจุ่มโลหะ X ลงในภาชนะบรรจุสารละลาย YCl จะไม่เห็นการเปลี ยนแปลงใด3. เมื อจุ่มโลหะ Y ลงในภาชนะบรรจุสารละลาย HCl จะมีก๊าซไฮโดรเจนเกิดขึ น4. เมื อจุ่มโลหะ X ลงในภาชนะบรรจุสารละลาย HCl จะไม่เห็นการเปลี ยนแปลงใดeืoååeåo aeиåo æauo


2302112 Electrochemistry1327. จากปฏิกิริยาต่อไปนี Zn(s) + Pb 2+ (aq)→ Zn 2+ (aq) + Pb(s) E o = +0.63 V ข้อความใดไม่ถูกต้อง1. เลด (II) ไอออนจะไปทําให้สังกะสีเสียอิเล็กตรอน2. ปฏิกิริยานี เกิดขึ นได้เพราะ E o รวม เป็นบวก3. สังกะสีเป็นแคโทด4. แผนภาพเซลล์ไฟฟ้าเคมีนี คือ Zn/Zn 2+ (aq)//Pb 2+ (aq)/Pbคําชีแจงข้อมูลต่อไปนี ใช้ประกอบการตอบคําถามข้อ 28 - 29เซลล์ไฟฟ้ าเคมี ค่าความต่างศักย์ที 20 o C E(V)Pt/H 2 (1 atm)/H + (1 M)//Sn 2+ (1M)/Sn(s) -0.14Pt/H 2 (1 atm)/H + (1 M)//Ni 2+ (1M)/Ni(s) -0.27Pt/H 2 (1 atm)/H + (1 M)//Zn 2+ (1M)/Zn(s) -0.76Pt/H 2 (1 atm)/H + (1 M)//Al 3+ (1M)/Al(s) -1.661 atm = 1 บรรยากาศ 1 M = 1 โมลต่อลิตร28. ปฏิกิริยาต่อไปนี ข้อใดที เกิดขึ นเองได้1. Sn(s) + Ni 2+ (aq) → Sn 2+ (aq) + Ni(s)2. Sn(s) + Zn 2+ (aq) → Sn 2+ (aq) + Zn(s)3. Ni(s) + Sn 2+ (aq) → Ni 2+ (aq) + Sn(s)4. Ni(s) + Zn 2+ (aq) → Ni 2+ (aq) + Zn(s)29. เมื อต่อเซลล์ไฟฟ้าเคมี Al/Al 3+ (aq)/Sn 2+ (aq)/Sn ค่าความต่างศักย์ของเซลล์มีค่าเท่าใด1. +1.52 V 2. +1.80 V 3. -1.52 V 4. -1.80 V30. ข้อความต่อไปนี ข้อใดที ถูกต้องที สุด1. ดีบุกสามารถรีดิวซ์นิกเกิลได้ แต่ไม่สามารถรีดิวซ์สังกะสีไอออน2. นิกเกิลไอออนสามารถออกซิไดซ์สังกะสี3. ความสามารถในการเป็นตัวรีดิวซ์เรียงตามลําดับจากมากไปน้อย คือ Al, Zn, Sn, Ni4. เมื อนําชิ น Al จุ่มในสารละลายของ Sn 2+ เกิดปฏิกิริยาดังนี Al + Sn 2+ (aq) → Al 3+ (aq) + Snคําชีแจง ข้อมูลต่อไปนี ใช้ประกอบการตอบคําถามข้อ 31 - 32ในการทดลองเรื องเซลล์ไฟฟ้าเคมีชุดหนึ ง ครึ งเซลล์ไฟฟ้าประกอบด้วยแท่งโลหะ โคบอลต์จุ่มลงในสารละลาย Co 2+ เข้มข้น 1 โมลต่อลิตร และอีกครึ งเซลล์ไฟฟ้า ประกอบด้วยแท่งแพลตินัมจุ่มลงในสารละลาย Cl - เข้มข้น 1 โมลต่อลิตร ซึ งมีก๊าซคลอรีนความดัน 1 บรรยากาศผ่านอยู ่ เมื อต่อครึ งเซลล์ไฟฟ้าทังสองปรากฏว่าความต่างศักย์ไฟฟ้าของเซลล์เป็น +1.63 โวลต์ และขัวไฟฟ้าโคบอลต์เป็นแอโนดกําหนดให้ค่าศักย์ไฟฟ้าของครึ งเซลล์มาตรฐานของคลอรีน / คลอไรด์ คือ ½ Cl 2 + e − Cl −E o = 1.36 Volts31. ปฏิกิริยาที เกิดขึ นภายในเซลล์ไฟฟ้าเคมีนี คือข้อใด1. Co + Cl 2 → 2Cl − + Co 2+ 2. Co + 2Cl − → Cl 2 + Co 2+3. Co 2+ + 2Cl − → Co + Cl 2 4. Co 2+ + Cl 2 → 2Cl − + Coeืoååeåo aeиåo æauo


2302112 Electrochemistry1432. ค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ งเซลล์ไฟฟ้า โคบอลต์/โคบอลต์ไอออน มีค่ากี โวลต์1. -2.99 2. -0.27 3. 0.27 4. 2.99คําชีแจง ค่าความต่างศักย์ของครึ งเซลล์มาตรฐานต่อไปนี ใช้ประกอบการตอบคําถามข้อ 33Sn 4+ + 2e − Sn 2+ E o = 0.14 V2Hg 2+ + 2e − HgHg 2 +222+E o = 0.92 V+ 2e − 2Hg E o = 0.79 V33. ค่าศักย์ไฟฟ้าของปฏิกิริยารีดอกซ์ Hg 2+ + Sn 2+ → Hg + Sn 4+ มีค่ากี โวลต์1. 1.57 2. 1.85 3. -1.57 4. -1.85คําชีแจง ค่าความต่างศักย์ของครึ งเซลล์มาตรฐาน และความเข้มข้นของสารละลายใช้ประกอบการตอบคําถามข้อ 34Fe 3+ + e − = Fe 2+E o = +0.76 VCe 4+ + e − = Ce 3+E o = +1.61 Vสารละลาย A คือ FeSO 4 สารละลาย B คือ Fe 2 (SO 4 ) 3สารละลาย C คือ Ce(NO 3 ) 3 สารละลาย D คือ Ce(NO 3 ) 4สารละลาย A, B, C และ D มีความเข้มข้น 1.0 mol/dm 334. ถ้าต้องการทดลองเพื อแสดงการทําไทเทรตแบบรีดอกซ์ จะต้องใช้สารละลายคู ่ใด1. A กับ C 2. A กับ D 3. B กับ C 4. B กับ Dคําชีแจงข้อมูลต่อไปนี ใช้ประกอบการตอบคําถามข้อ 35 - 37a. Au + (aq) + e − → Au(s) E o = +1.68 Vb. Ag + (aq) + e − → Ag(s) E o = +0.80 Vc. Cu 2+ (aq) + 2e − → Cu(s) E o = +0.34 Vd. 2 H + (aq) + 2e − → H 2 (g) E o = 0.00 Ve. Co 2+ (aq) + 2e − → Co(s) E o = -0.28 Vf. 2 CO 2 (g) + 2H + (aq) + 2e − → H 2 C 2 O 4 (aq) E o = +1.68 V35. ครึ งเซลล์คู ่ใดเมื อต่อกันแล้วจะเกิดสีนํ าเงินเข้มมากขึ นในครึ งเซลล์ข้างหนึ ง1. a, c และ c, e 2. a, c และ b, c3. b, c และ c, f 4. b, c และ c, e36. ครึ งเซลล์คู ่ใดเมื อต่อกันแล้วจะให้ก๊าซไฮโดรเจน1. d, b และ d, f 2. d, b เท่านัน3. d, e และ d, f 4. d, e เท่านัน37. ครึ งเซลล์คู ่ใดเมื อต่อกันแล้วจะมีค่าความต่างศักย์ = 1.08 โวลต์1. a กับ c 2. b กับ c 3. c กับ e 4. b กับ eeืoååeåo aeиåo æauo


2302112 Electrochemistry1538. กําหนดตารางค่า E o ของโลหะ A และ B ดังนีA 3+ (aq) + 3e - → A(s) E o = -1.66 VB 2+ (aq) + 2e - → B(s) E o = -0.13 Vเมื อจุ่มโลหะ A ในสารละลาย B (II) ไนเตรตดังรูปแล้วปล่อยทิ งไว้ ข้อความใดถูกต้องก. เกิดโลหะ B เกาะที แผ่นโลหะ Aข. สมการไอออนิก คือ 2 A(s) + 3 B 2+ (aq) → 2 A 3+ (aq) + 3 B(s)ค. ค่าความต่างศักย์ของเซลล์ = +1.79 โวลต์1. ข้อ ก และ ข 2. ข้อ ก และ ค3. ข้อ ค และ ข 4. ข้อ ก, ข และ คคําชีแจงใช้ข้อมูลต่อไปนี ใช้ประกอบการตอบคําถามข้อ 39Zn 2+ + 2e − → Zn E o = -0.76 VSn 2+ + 2e − → Sn E o = -0.14 VFe 2+ + 2e − → Fe E o = -0.44 VMg 2+ + 2e − → Mg E o = -2.37 VCu 2+ + 2e − → Cu E o = +0.34 V39. จากค่า E o ในข้อมูลข้างบนจงพิจารณาว่าข้อความใดต่อไปนี ไม่ถูกต้อง1. ปฏิกิริยา Zn + Cu 2+ → Zn 2+ + Cu เกิดขึ นได้เอง2. สังกะสีสามารถรีดิวซ์เหล็กได้ แต่ไม่สามารถรีดิวซ์แมกนีเซียม3. Zn/Zn 2+ (aq)//Sn 2+ (aq)/Sn ให้ความต่างศักย์สูงกว่า Mg/Mg 2+ (aq)//Fe 2+ (aq)/Fe4. เมื อหย่อนชิ นแมกนีเซียมลงในสารละลาย CuSO 4 เป็นเวลานานพอควรจะสังเกตเห็นว่าสีฟ้าของสารละลาย CuSO 4 จางลง40. ถ้า F 2 + 2e − → 2F − มีค่า E o = 2.87 VCl 2 + 2e − → 2Cl − มีค่า E o = 1.40 VBr 2 + 2e − → 2Br − มีค่า E o = 1.09 VI 2 + 2e − → 2I − มีค่า E o = 0.62 VA + 2e − A 2 −มีค่า E o = 2.00 Vก. A 2 −+ F 2 → 2 F − + A ข. A 2 −+ Cl 2 → 2 Cl − + Aค. A 2 −+ Br 2 → 2 Br − + A ง. A 2 −+ I 2 → 2 I − + Aปฏิกิริยาใดเกิดขึ นเองได้1. ปฏิกิริยาในข้อ ก เท่านัน 2. ปฏิกิริยาในข้อ ก และ ข3. ปฏิกิริยาในข้อ ค และ ข้อ ง 3. ไม่มีปฏิกิริยาใดเกิดได้eืoååeåo aeиåo æauo


2302112 Electrochemistry16คําชีแจงค่า E o ของครึ งเซลล์ต่อไปนี ใช้ประกอบการตอบคําถามข้อ 41Al 3+ + 3e − → Al E o = -1.71 VFe 3+ + e − → Fe 2+ E o = -0.77 VZn 2+ + 2e − → Zn E o = -0.76 VFe 2+ + 2e − → Fe E o = -0.41 VSn 2+ + 2e − → Sn E o = -0.14 VCu 2+ + 2e − → Cu E o = +0.34 V41. ถ้าจุ่มแท่งเหล็กลงในสารละลายต่อไปนี CuSO 4 , SnSO 4 , ZnSO 4 และ Al 2 (SO 4 ) 3 แท่งเหล็กจะกร่อนในสารละลายใดบ้าง1. Al 2 (SO 4 ) 3 SnSO 4 2. Al 2 (SO 4 ) 3 ZnSO 43. CuSO 4 ZnSO 4 4. CuSO 4 SnSO 442. ตารางข้างล่างนี แสดงค่าความต่างศักย์ของเซลล์ไฟฟ้าA(s)/A 3+ (aq)//B 2+ (aq)/B(s) E o = 1.08 VB(s)/B 2+ (aq)//C + (aq)/C(s) E o = 0.46 Vเมื อต่อครึ งเซลล์ A(s) 3+ (aq) กับครึ งเซลล์ C(s)/C + (aq) จะได้ E o กี โวลต์1. 0.62 V 2. 1.54 V 3. 1.23 V 4. 2.46 Vคําชีแจงพิจารณาเซลล์ไฟฟ้าเคมีต่อไปนี ใช้ประกอบการตอบคําถามข้อ 43 – 44Hg(I)/Hg22+ (1 mol/l)//Br - (1 mol/l)/Br 2 (I)/Pt(s)กําหนดให้ค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ งเซลล์ (E o ) ในสารละลายกรดที 298 KPt 2+ + 2e − → Pt E o = +1.20 VBr 2 + 2e − → 2Br - E o = +1.07 VHg22+ + 2e − → 2Hg E o = +0.79 VH + + e − → 1/2 H 2 E o = 0.00 V43. ค่า E o ของเซลล์ไฟฟ้าเคมีนี เท่ากับ1. 1.20 V 2. 1.07 V 3. 0.41 V 4. 0.28 V44. ปฏิกิริยาเคมีที เกิดขึ นในเซลล์ไฟฟ้าเคมีนี คือ1. Br 2 (l) + 2 Hg(l) → 2Br − (aq) + Hg2. Pt 2+ (aq) + 2 Hg(l) → Pt(s) + Hg2222+ (aq)+ (aq)3. Pt 2+ (aq) + 2 H + (aq) → Pt(s) + H 2 (g)4. Br 2 (l) + 2 H + (aq) → 2 Br − (aq) + H 2 (g)eืoååeåo aeиåo æauo


2302112 Electrochemistry1849. ก. A 2+ + 2e − → A E o = -0.14 Vข. B 2+ + 2e − → B E o = +0.34 Vค. C + + e − → C E o = +0.80 Vง. ½ O 2 + 2 H + + 2e − → A E o = +1.23 Vข้อใดเกิดได้จริง1. ถ้าต่อครึ งเซลล์ ข และ ง เข้าด้วยกัน จะเกิดก๊าซออกซิเจนที แอโนด2. ถ้าต่อครึ งเซลล์ ก และ ข เข้าด้วยกัน A จะเป็นขัวแอโนดและ B เป็นขัวแคโทด3. ถ้าต่อครึ งเซลล์ ข และ ค เข้าด้วยกัน จะได้ศักย์ไฟฟ้าของเซลล์เท่ากับ 1.26 V4. ถ้าต่อครึ งเซลล์ ก และ ค เข้าด้วยกัน จะได้ศักย์ไฟฟ้าของเซลล์เท่ากับ 0.66 V50. การทดลองวัดค่า E (เซลล์) ของเซลล์ไฟฟ้าเคมี โดยแต่ละครึ งเซลล์ที นํามาต่อกันมีความเข้มข้น 1 mol/dm 3ได้ผลดังในตารางแคโทดแอโนดA/A + B/B + H 2 /H + C/C + D/D +A/A + 0.00 ไม่ได้วัด 0.70 ไม่ได้วัด -B/B + - 0.00 - - -H 2 /H + - ไม่ได้วัด 0.00 - -C/C + - 0.50 ไม่ได้วัด 0.00 -D/D + 1.00 2.00 ไม่ได้วัด 1.50 0.00เมื อ – แสดงว่าไม่เกิดปฏิกิริยา E o ของครึ งเซลล์ C/C + (aq) มีค่ากี โวลต์1. -0.20 2. 0.20 3. 0.30 4. 0.50คําชีแจง ข้อมูลต่อไปนี ใช้ประกอบการตอบคําถามข้อ 51 - 52ปฏิกิริยาครึงเซลล์ E o (V)Pt 2+ + 2e − → Pt +1.20Cu 2+ + 2e − → Cu +0.34Sn 2+ + 2e − → Sn -0.14Ni 2+ + 2e − → Ni -0.23Fe 3+ + e − → Fe 2+ -0.7751. ข้อใดถูก1. ภาชนะที ทําจากโลหะดีบุกหรือนิกเกิลควรใช้บรรจุสารละลาย CuSO 4 ได้2. ลําดับความสามารถในการรีดิวซ์ของโลหะต่าง ๆ คือ Ni > Sn > Cu > Pt3. ถ้าต่อครึ งเซลล์ Sn(s)|Sn 2+ (aq) เข้ากับครึ งเซลล์ไฮโดรเจนมาตรฐาน, Sn(s)|Sn 2+ (aq) จะเป็นฝ่ายรับอิเล็กตรอน4. ถ้าต่อครึ งเซลล์ Sn(s)|Sn 2+ (aq) เข้ากับครึ งเซลล์ไฮโดรเจนมาตรฐานและไม่เกิดก๊าซ H 2 ขึ นที ครึ งเซลล์ไฮโดรเจนมาตรฐานeืoååeåo aeиåo æauo


2302112 Electrochemistry1952. Ga 3+ + 3e − → Ga E o = 0.560 VMg 2+ + 2e − → Mg E o = -2.38 VAg + + e − → Ag E o = +0.80 Vแผนภาพเซลล์ใดที สอดคล้องกับปฏิกิริยาที เกิดขึ นจริง1. Ag(s) | Ag + (aq) || Ga 3+ (aq) | Ga(s)2. Mg(s) | Mg 2+ (aq) || Ga 3+ (aq) | Ga(s)3. Pt/H 2 (1 atm) | H + (1 mol/l)//Ga 3+ (aq)/Ga(s)4. Ag(s) | Ag + (aq) || Mg 2+ (aq) | Mg(s)คําชีแจงข้อมูลต่อไปนี ใช้ประกอบการตอบคําถามข้อ 5353. จากภาพนี เราพอสรุปได้ว่า1. เข็มโวลต์มิเตอร์ไม่บ่ายเบน2. ครึ งเซลล์ซ้ายมือเกิดออกซิเดชัน3. ครึ งเซลล์ขวามือเกิดออกซิเดชัน4. ไม่เกิดปฏิกิริยาเพราะขัวไฟฟ้าทังสองเป็นโลหะชนิดเดียวกัน54. ในการแยกสารละลาย Na 2 SO 4 ด้วยไฟฟ้าใช้แท่งคาร์บอนเป็นอิเล็กโทรดจะได้สารใดเกิดขึ นที แอโนดและแคโทดNa + + e − → Na E o = -2.71 VS 2 O 2 − + 2e − → 2 SO 2 −E o = +2.01 V84O 2 + 4 H + + 4e − → 2 H 2 O E o = +1.23 V2 H 2 O + 2e − → H 2 + 2 OH − E o = -0.83 V1. O 2 , Na 2. O 2 , H 2 3. S 2 O 2 − , Na 4. H82 , O 255. ในการแยกสลายสารละลาย CuSO 4 ด้วยไฟฟ้า ข้อความต่อไปนี ข้อใดถูกต้องที สุด จงใช้ค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานที กําหนดให้ประกอบในการตอบคําถามCu 2+ + 2e − → Cu E o = +0.34 VO 2 + 4H + + 4e − → 2H 2 O E o = +1.23 V2H 2 O + 2e - → H 2 + 2OH − E o = -0.83 VS 2 O 2 −8+ 2e − → 2SO 42-E o= +2.01 Veืoååeåo aeиåo æauo


2302112 Electrochemistry201. ได้ทองแดงที แอโนด ได้ก๊าซออกซิเจนที แคโทด2. ได้ทองแดงที แอโนด ได้ก๊าซไฮโดรเจนที แคโทด3. ได้ก๊าซออกซิเจนที แอโนด ได้ก๊าซไฮโดรเจนที แคโทด4. ได้ออกซิเจนที แอโนด ได้ทองแดงที แคโทดคําชีแจง ใช้ค่า E o ต่อไปนี ใช้ประกอบการตอบคําถามข้อ 56 - 62ค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ งเซลล์ (E o ) ในสารละลายกรดที 298 KPt 2+ + 2e − → Pt E o = +1.20 VAg + + e − → Ag E o = +0.80 VFe 3+ + e − → Fe 2+ E o = +0.77 VCu 2+ + 2e − → Cu E o = +0.34 VH + + e - → ½ H 2 E o = 0.00 VPb 2+ + 2e − → Pb E o = +0.12 VNi 2+ + 2e − → Ni E o = -0.23 VFe 2+ + 2e − → Fe E o = -0.41 VZn 2+ + 2e − → Zn E o = -0.76 VAl 3+ + 3e − → Al E o = -1.71 VNa + + e − → Na E o = -2.71 V56. ปฏิกิริยาที เกิดขึ นในเซลล์กัลวานิกชนิดหนึ งเป็นดังนี2 Al(s) + 3 Sn 2+ (aq) → 2 Al 3+ (aq) + 3Sn(s)ข้อสรุปต่อไปนี ข้อใดถูก1. โลหะอะลูมิเนียมทําหน้าที เป็นแคโทด2. ปฏิกิริยาครึ งเซลล์หนึ งที เกิดขึ นในเซลล์ คือ 3 Sn(s) → 3 Sn 2+ (aq) + 6 e −3. ครึ งเซลล์ Al 3+ (aq) + 3e − → Al(s) มีศักย์รีดักชันตํ ากว่าครึ งเซลล์ Sn 2+ (aq) + 2e − → Sn(s)4. ในวงจรภายนอกอิเล็กตรอนเคลื อนที จากครึ งเซลล์ Sn(s)/Sn 2+ (aq) ไปยังครึ งเซลล์ Al(s)/Al 3+ (aq)eืoååeåo aeиåo æauo


2302112 Electrochemistry21คําชีแจงข้อมูลต่อไปนี ใช้ประกอบการตอบคําถามข้อ 57 - 58นักเรียนคนหนึ งทําการทดลองโดยจัดอุปกรณ์ดังรูป57. ถ้าสารละลายที ใช้เป็น AgNO 3 ในนํ า เขาควรสังเกตเห็นการเปลี ยนแปลงอะไรบ้างทีแท่งเหล็ก ทีแท่งคาร์บอน เข็มทีมิเตอร์1. เหล็กกร่อน เกิดก๊าซ เบนไปทางด้านแท่งคาร์บอน2. ไม่มีการเปลี ยนแปลง มีโลหะมาเกาะ เบนไปทางด้านแท่งคาร์บอน3. เหล็กกร่อน มีโลหะมาเกาะ เบนไปทางด้านแท่งคาร์บอน4. มีโลหะมาเกาะ เกิดก๊าซ เบนไปทางด้านแท่งเหล็ก58. ถ้าต้องการให้มีแพลทินัมมาเคลือบที แท่งเหล็ก พิจารณากระบวนการต่อไปนี1. ใช้สารละลายของ PtCl 2 หรือสารละลายอื นที เหมาะสมของ Pt(II)2. ต่อแบตเตอรีให้ขัวบวกต่อกับ C และขัวลบต่อกับ Fe3. เปลี ยนแท่ง C เป็นแท่ง Pt4. ต่อกับแบตเตอรีให้ขัวบวกต่อกับ Fe และขัวลบต่อกับ Cข้อที ไม่ควรกระทําคือข้อใด1. 1 เท่านัน 2. 1 และ 2 3. 1 และ 3 4. 1 และ 4คําชี แจง ใช้สมการต่อไปนี ตอบคําถามข้อ 59-61สมการ 1 2 Al + 3 X 2+ → 2 Al 3+ + 3 X E o = 0.95 โวลต์สมการ 2 X + Y 2+ → X 2+ + Y E o = 0.64 โวลต์59. เซลล์ไฟฟ้า Al/Al 3+ //Y 2+ /Y มีค่าความต่างศักย์เท่าใด1. 2.87 โวลต์ 2. 1.55 โวลต์ 3. 1.59 โวลต์ 4. 0.31 โวลต์60. ธาตุ X และ Y ควรเป็นธาตุใดตามลําดับ1. Zn, Fe 2. Sn, Pb 3. Zn, Pb 4. Pb, Zn61. ข้อใดสรุปได้ไม่ถูกต้อง1. X ไม่สามารถให้อิเล็กตรอนแก่ Al 3+ แต่ X สามารถให้อิเล็กตรอนแก่ Y 2+2. ครึ งเซลล์ X ทําหน้าที เป็นแคโทดในสมการ 1 และเป็นแอโนดในสมการ 23. ครึ งเซลล์ X ทําหน้าที เป็นแอโนดในสมการ 1 และเป็นแคโทดในสมการ 24. ปฏิกิริยาที แสดงในสมการ 1 และ 2 สามารถเกิดขึ นได้เอง62. ทดลองจุ่มโลหะต่าง ๆ ลงในสารละลายหลายชนิดที ภาวะมาตรฐาน ดังนี1. จุ่ม Cu ลงในสารละลาย Ag + 2. จุ่ม Ag ลงในสารละลาย Fe 3+3. จุ่ม Fe ลงในสารละลาย Zn 2+ 4. จุ่ม Zn ลงในสารละลาย Na +การทดสอบในข้อใดที โลหะไม่สึกกร่อน1. 1 2. 1, 2 3. 1, 3, 4 4. 2, 3, 4eืoååeåo aeиåo æauo


2302112 Electrochemistry2263. จากสมการของปฏิกิริยาต่อไปนีCl 2 (g) + 2 H 2 O(I) + SO 2 (g) → 2 HCl(aq) + H 2 SO 4 (aq)Cl 2 (g) + H 2 S(g) → 2 HCl(g) + S(s)2 SO 2 (g) + H 2 S(g) → H 2 SO 4 (I) + 2 S(s)เปรียบเทียบระหว่างก๊าซ 3 ชนิด คือ Cl 2 , SO 2 และ H 2 S ก๊าซใดเป็นตัวออกซิไดซ์แรงที สุด และก๊าซใดเป็นตัวรีดิวซ์แรงที สุดตัวออกซิไดซ์แรงทีสุด ตัวรีดิวซ์แรงทีสุด1. Cl 2 SO 22. Cl 2 H 2 S3. SO 2 Cl 24. H 2 S Cl 2คําชีแจงค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ งเซลล์ต่อไปนี ใช้ประกอบการตอบคําถามข้อ 64 - 65A + (aq) + e − → A(s) E o = -0.14 VB + (aq) + e − → B(s) E o = -0.40 VC + (aq) + e − → C(s) E o = -0.74 VD + (aq) + e − → D(s) E o = -1.18 V64. ปฏิกิริยาใดเกิดขึ นได้ดังสมการ1. A(s) + B + (aq) → B(s) + A + (aq)2. C(s) + A + (aq) → A(s) + C + (aq)3. B(s) + D + (aq) → D(s) + B + (aq)4. B(s) + C + (aq) → C(s) + B + (aq)65. การนําของแข็งชนิดใดมาทําท่อระบายนํ าในโรงงานอุตสาหกรรม จะทําให้เกิดการสะสมในสิงแวดล้อมมากที สุด1. A 2. B 3. C 4. D66. กําหนดเซลล์ไฟฟ้าต่อไปนีA(s)/A + (aq) | | B + (aq)/B(s)C(s)/C + (aq) | | D + (aq)/D(s)E(s)/E + (aq) | | F + (aq)/F(s)การเก็บสารละลายของไอออนในโลหะที ใช้ทําภาชนะ ชุดใดถูกต้องโลหะทีใช้ทําภาชนะไอออนในไอออนในโลหะทีใช้ทําภาชนะสารละลายสารละลาย1. A B + E F +2. B A + D C +3. C D + F E +4. D C + E F +eืoååeåo aeиåo æauo


2302112 Electrochemistry23กําหนดค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ งเซลล์ที 298 K เพื อใช้ในการตอบคําถามข้อ 67 – 74ปฏิกิริยาครึงเซลล์ E o (V)Ag + + e − → Ag +0.80Cu 2+ + 2e − → Cu +0.80Sn 2+ + 2e − → Sn -0.14Ni 2+ + 2e − → Ni -0.23Cd 2+ + 2e − → Cd -0.40Fe 2+ + 2e − → Fe -0.41Cr 3+ + 3e − → Cr -0.74Zn 2+ + 2e − → Zn -0.76Mn 2+ + 2e − → Mn -1.18Al 3+ + 3e − → Al -1.7167. จงพิจารณาปฏิกิริยาต่อไปนี(ก) 4 NH 3 (g) + 5 O 2 (g) → 4 NO(g) + 6 H 2 O(g)(ข) N 2 (g) + 3 H 2 (g) → 2 NH 3 (g)(ค) Cd(s) + NiO 2 (s) + 2 H 2 O(l) → Cd(OH) 2 (s) + Ni(OH) 2 (s)(ง) FeS(s) + HCl(aq) → FeCl 2 (aq) + H 2 S(g)ปฏิกิริยาใดจัดเป็นปฏิกิริยารีดอกซ์1. (ก) และ (ข) เท่านัน 2. (ก) และ (ค) เท่านัน3. (ก), (ข) และ (ค) 4. (ก), (ค) และ (ง)68. ข้อความใดไม่สอดคล้องกับข้อมูลในตารางนี ครึงปฏิกิริยา E o (V)Pb 2+ + 2e − → Pb -0.12Cu 2+ + 2e − → Cu +0.34Ag + + e − → Ag +0.801. Pb เป็นตัวรีดิวซ์ที ดีกว่า Cu และ Ag ตามลําดับ2. Cu 2+ ออกซิไดซ์ Pb ได้แต่ไม่สามารถออกซิไดซ์ Ag3. สําหรับครึ งปฏิกิริยา Cu + + e - → Cu, E o = 0.17 V4. ถ้านําลวดทองแดงจุ่มในสารละลาย AgNO 3 จะเห็นสารละลายเปลี ยนเป็นสีฟ้า69. ถ้า E o 1 และ E o 2 เป็นค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ งปฏิกิริยาMnO 2 + 4 H + + 2e − -Mn 2+ + 2 H 2 OPbCl 2 + 2e − Pb + 2 Cl − ตามลําดับและ E o 3 เป็นค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของปฏิกิริยาMnO 2 + 4 H + + Pb + 2 Cl − → Mn 2+ + 2 H 2 O + PbCl 2ถ้าค่า E o 3 = 1.50 V ค่า E o 1 และ E o 2 จะเป็นกี โวลต์eืoååeåo aeиåo æauo


2302112 Electrochemistry24E o 1 , VE o 2 , V1. 1.23 -0.272. -1.23 -0.273. 1.23 0.274. -1.23 0.2770. กําหนดให้(I) Na + (aq) + e − → Na(s) E o = -2.71 V(II) 1/2S 2 O 2 − (aq) + e − → SO 2 − (aq) E84o = +2.01 V(III) 1/2 O 2 (g) + 2 H + (aq) + 2e − → H 2 O(I) E o = +1.23 V(IV) 2 H 2 O(I) + 2e − → H 2 (g) + 2 OH − (aq) E o = -0.83 Vเมื อทําการแยกสารละลาย Na 2 SO 4 ที มีนํ าเป็นตัวทําละลายด้วยกระแสไฟฟ้า ข้อใดต่อไปนี แสดงการเกิดปฏิกิริยาที ถูกต้องที แอโนดและแคโทดแอโนด แคโทด1. III IV2. II I3. III I4. I II71. หลังจากการทําอิเล็กโทรลิซิสนํ าแล้ววัดปริมาตรของก๊าซรวมทังหมดได้ 13.44 dm 3 ที STP จงคํานวณหานํ าหนัก ของ O 2 ที เกิดขึ นเป็นกรัม (O = 16)1. 0.4 2. 0.8 3. 6.4 4. 12.872. กําหนดเซลล์ 1 คือ Al/Al 3+ //Ag + /Ag เซลล์ 2 คือ Zn/Zn 2+ //Sn 2+ /Sn เมื อนําเซลล์ทังสองมาต่อกันโดยนําแอโนดต่อกับแอโนด และแคโทดต่อกับแคโทด ข้อสรุปใดผิด1. ปฏิกิริยาในเซลล์ 2 หลังการต่อ คือ Zn + Sn 2+ → Zn 2+ + Sn2. เซลล์ไฟฟ้าเคมีทังสองก่อนการต่อมีลักษณะเป็นเซลล์กัลวานิก3. โลหะ Ag จะมีนํ าหนักเพิมขึ นเสมอทังก่อนต่อและหลังการต่อ4. แท่ง Zn มีนํ าหนักลดลงก่อนการต่อ แต่มีนํ าหนักเพิมขึ นหลังการต่อ73. ปฏิกิริยาที เกิดขึ นเองไม่ได้คือ1. Sn + Cu 2+ → Sn 2+ + Cu 2. Cd + Fe 2+ → Cd 2+ + Fe3. Cr + Ag + → Cr 3+ + Ag 4. Mn + Zn 2+ → Mn 2+ + Zn74. ถ้าต้องการทําภาชนะด้วยโลหะบริสุทธิจํานวน 3 ใบ เพื อใช้ใส่สารละลาย Sn 2+ , Cd 2+ และ Cr 3+ โดยไม่ให้เกิดการผุกร่อนนัน ควรเลือกทําด้วยโลหะชนิดใด1. Cu 2. Ni 3. Fe 4. Aleืoååeåo aeиåo æauo


2302112 Electrochemistry2575. เซลล์ไฟฟ้าเคมีเซลล์หนึ งเขียนแผนภาพได้ดังนีX(s) | X 2+ (0.1 mol/dm 3 ) | | Y 2+ (0.1 mol/dm 3 ) | Y(s)ขณะที เซลล์ไฟฟ้านี ทํางาน ข้อสรุปใดถูก1. ขัว X เป็นแอโนด, ความเข้มข้นของ Y 2+ เพิมขึ น2. ขัว Y เกิดออกซิเดชัน, ศักย์ไฟฟ้าของขัว X สูงกว่าขัว Y3. ขัว Y เป็นแคโทด, อิเล็กตรอนเคลื อนที ออกจากขัวที มีศักย์ไฟฟ้าสูงกว่า4. ขัว X มีศักย์ไฟฟ้าตํ ากว่าขัว Y, ครึ งเซลล์ทางขวามือรับอิเล็กตรอน76. จากรูปและค่า E o ของครึ งปฏิกิริยาที กําหนดให้ ชนิดของสารละลาย B และโลหะ A ควรเป็นไปตามข้อใดจึงจะทําให้โลหะ A มีนํ าหนักลดลงเมื อเวลาผ่านไปMg 2+ (aq) + 2e − → Mg(s) E o = -2.38 VFe 2+ (aq) + 2e − → Fe(s) E o = -0.44 VPb 2+ (aq) + 2e − → Pb(s) E o = -0.13 VCu 2+ (aq) + 2e − → Cu(s) E o = +0.34 V1. Mg(NO 3 ) 2 (aq), Mg 2. Pb(NO 3 ) 2 (aq), Cu3. Pb(NO 3 ) 2 (aq), Mg 4. Pb(NO 3 ) 2 (aq), Cu77. กําหนดเซลล์ 1 คือ Sn | Sn 2+ | | Cu 2+ | Cu E o เซลล์ = 0.48 Vกําหนดเซลล์ 2 คือ Mg | Mg 2+ | | Sn 2+ | Sn E o เซลล์ = 2.23 Vเมื อนําครึ งเซลล์ของ Cu | Cu 2+ มาต่อกับครึ งเซลล์ของ Mg/Mg 2+ ข้อใดถูก1. ขัว Cu เป็นแคโทด และ E o เซลล์ = 2.71 V2. ขัว Cu เป็นแคโทด และ E o เซลล์ = 1.75 V3. ขัว Mg เป็นแคโทด และ E o เซลล์ = 2.71 V4. ขัว Mg เป็นแคโทด และ E o เซลล์ = 1.75 V78. เมื อจุ่มโลหะ A, B, C ลงในสารละลายที มีไอออนทัง 3 ชนิด ได้ผลดังตารางโลหะทีจุ ่ม ไอออนในสารละลาย มวลของโลหะทีจุ ่มA B + เพิมขึ นB C + ไม่เปลี ยนแปลงC A + ไม่เปลี ยนแปลงการเรียงลําดับค่า E o ข้อใดถูก1. A > B > C 2. C > B > A 3. B > A > C 4. B > C > Aeืoååeåo aeиåo æauo


2302112 Electrochemistry2679. กําหนดค่า E o ของเครื องเซลล์ต่อไปนีA(s) | A + (aq) E o = -0.14 VB(s) | B + (aq) E o = -0.40 VC(s) | C + (aq) E o = -0.74 VD(s) | D + (aq) E o = -1.18 Vเซลล์ในข้อใดมีความต่างศักย์สูงที สุด1. D(s) | D + (aq) | | C + (aq) | C(s)2. B(s) | B + (aq) | | A + (aq) | A(s)3. C(s) | C + (aq) | | B + (aq) | B(s)4. D(s) | D + (aq) | | A + (aq) | A(s)80. เมื อนําสารละลายอิมตัวโซเดียมคลอไรด์ จํานวน 4 dm 3 มาแยกด้วยไฟฟ้า เกิดก๊าซขึ นที แอโนด 0.448 dm 3ที STP จงหาค่า pH ของสารละลายขณะนัน 12 (โจทย์แบบเติมคําตอบ)กําหนดให้ 2 H 2 O(I) + 2e − → 2 OH − (aq) + H 2 (g)2 Cl − (aq) → Cl 2 (g) + 2e −81. ค่าศักย์ไฟฟ้าครึ งเซลล์มาตรฐานมีดังนีZn 2+ (aq) + 2 e — → Zn(s) E° = —0.76 VCu 2+ (aq) + 2 e — → Cu(s) E° = +0.34 VAg + (aq) + e — → Ag(s) E° = +0.80 V2 H + (aq) + 2 e — → H 2 (g) E° = 0.00 Vพิจารณาข้อความต่อไปนีก. ถ้าใส่แผ่นสังกะสีลงในสารละลายกรด HCl เข้มข้น 1 โมลาร์ จะมีฟองแก๊สไฮโดรเจนเกิดขึ นข. ถ้าใส่แผ่นทองแดงลงในสารละลายกรด HCl เข้มข้น 1 โมลาร์ จะมีฟองแก๊สไฮโดรเจนเกิดขึ นค. ถ้านําแผ่นสังกะสีใส่ลงในสารละลาย CuSO 4 เข้มข้น 1 โมลาร์ สารละลายจะเปลี ยนจากสีฟ้าเป็นไม่มีสี และเกิดตะกอนของโลหะทองแดงง. ถ้านําแผ่นทองแดงและแผ่นสังกะสีใส่ลงในสารละลาย AgNO 3 เข้มข้น 1 โมลาร์ จะเกิดตะกอนของโลหะทองแดงและโลหะสังกะสีข้อใดถูกต้อง (Pat2 มี.ค. 2552)1. ก ข และ ค2. ก และ ค3. ข และ ค4. ค และ ง82. ค่าศักย์ไฟฟ้าครึ งเซลล์มาตรฐานมีดังนีX + (aq) + e — → X(s) E° = —0.10 VY 2+ (aq) + 2 e — → Y(s) E° = +0.50 Vและจากสมการ Ecell0cellE = —0.060nlog Qโดยที n คือจํานวนอิเล็กตรอนที ถ่ายโอนในเซลล์ไฟฟ้าเคมีeืoååeåo aeиåo æauo


2302112 Electrochemistry27และ Q คืออัตราส่วนความเข้มข้นของสารผลิตภัณฑ์ต่อสารตังต้น ตามหลักการของค่าคงที สมดุลค่า Q ที ถูกต้อง ที ทําให้เซลล์นี มีค่า E cell เท่ากับ +0.54 V คือข้อใด (Pat2 มี.ค. 2552)1. Q = [X + ] / [Y 2+ ] = 102. Q = [X + ] 2 / [Y 2+ ] = 103. Q = [X + ] / [Y 2+ ] = 1004. Q = [X + ] 2 / [Y 2+ ] = 10083. fดค่าศักย์ไฟฟ้าครึ งเซลล์มาตรฐานมีดังนีNi 2+ (aq) + 2 e — → Ni(s)E° = —0.25 VO 2 (g) + 2 H + (aq) + 2 e − → H 2 O 2 (aq) E° = +0.68 VAg + (aq) + e — → Ag(s)E° = +0.80 Vการสลายตัวของ H 2 O 2 ไปเป็น O 2 เกิดขึ นเองได้เมื อใด (Pat2 ก.ค. 2552)1. เมื อสัมผัสกับโลหะ Ag2. เมื อสัมผัสกับโลหะ Ni3. เมื อสัมผัสกับสารละลาย Ag +4. เมื อสัมผัสกับสารละลาย Ni 2+Sn 4+84. ค่าศักย์ไฟฟ้าครึ งเซลล์มาตรฐานมีดังนีFe 3+ (aq) + 3 e — → Fe(s) E° = —0.44 VSn 2+ (aq) + 2 e — → Sn(s) E° = —0.14 VFe 2+ (aq) + 2 e — → Fe(s) E° = —0.04 VSn 4+ (aq) + 2 e — → Sn 2+ (aq) E° = +0.15 Vการกระทําในข้อใดไม่ส่งผลให้เกิดปฏิกิริยารีดอกซ์ (Pat2 ก.ค. 2552)1. จุ่มโลหะ Fe ลงในสารละลาย Sn 2+ 2. จุ่มโลหะ Fe ลงในสารละลาย3. จุ่มโลหะ Sn ลงในสารละลาย Fe 2+ 4. จุ่มโลหะ Sn ลงในสารละลาย Fe 3+พิจารณาสมการและค่าศักย์ไฟฟ้าของปฏิกิริยาต่อไปนี JK+( aq)+ 2e⎯→J( s)2 −0E = + 0. 20 V( s)aq + e−0( ⎯→KE = − 0. 30V+ )−2L ( aq)+ 2e⎯→L2M( g)+ 0E = − 0. 20 V3++( ag)−20( aq)+ e ⎯→ME = + 0. 10V85. ความสามารถในการรีดิวซ์ เรียงลําดับจากน้อยไปมากคือข้อใด (Pat2 ต.ค. 2552)2+2 +1. K < L2 < M < J2. J < M < L2< K2 + 3++ +3. J < M < L < K4. ไม่มีข้อใดถูกeืoååeåo aeиåo æauo


2302112 Electrochemistry2886. ข้อใดถูก เมื อจุ่มโลหะ K ลงในสารละลายผสมของ3+M และ2+J (Pat2 ต.ค. 2552)1. เกิดโลหะ J เกาะที ผิวของโลหะ K2. เกิดโลหะ J เกาะที ผิวของโลหะ K ก่อน แล้วเกิดไอออน2+M2+3. เกิดโลหะ J เกาะที ผิวของโลหะ K พร้อมเกิดไอออน M4. ไม่เกิดการเปลี ยนแปลงใด ๆ87. ถ้าต้องการชุบโลหะสังกะสีด้วยทองแดง ต้องต่อเซลล์ไฟฟ้าโดยใช้โลหะใดเป็นแอโนด โลหะใดเป็นแคโทดและสารละลายใดเป็นอิเล็กโทรไลต์ ตามลําดับ (Pat2 มี.ค. 2553)1. Zn Cu CuSO42. Cu Zn CuSO43. Zn Cu ZnSO44. Cu Zn ZnSO488. จงหาค่า a และ b จากปฏิกิริยารีดอกซ์ต่อไปนี (Pat2 ก.ค. 2553)a+Fe ( aq)+ b2 ( )MnO − 3+2+4aq → Fe ( aq)+ H2O(l)+ Mn ( aq)1. 1 และ 5 2. 2 และ 53. 5 และ 1 4. 5 และ 289. ชุบสังกะสีด้วยเงิน ต้องต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบใด (Pat2 ก.ค. 2553)+1. Pt( s)H2( g)Ag ( aq)Ag(s)2++2. Zn(s)Zn ( aq)Ag ( aq)Ag(s)+2+3. Ag(s)Ag ( aq)Zn ( aq)Zn(s)++4. Ag( s)Ag ( aq)H ( aq)H2( g),Pt(s) 90. จากแผนภาพของเซลล์ไฟฟ้าต่อไปนี ซึ งมีแรงเคลื อนไฟฟ้าเท่า +0.80V++Pt | H2(1 atm)| H ( 1 M) || Ag (1 M) | Agข้อใดระบุค่าศักย์ไฟฟ้ารีดักชันของสารตังต้นได้ถูกต้อง (Pat2 ต.ค. 2553)1. H20.80 V2. Pt -0.80 V+3. Ag 0.80 V4. Ag -0.80 V91. ค่าศักย์ไฟฟ้าครึ งเซลล์มาตรฐาน2+Cu +−2 eCuOE = +0.344+Sn +−2 e2+SnOE = +0.153+Fe +−3 eFeOE = -0.042+Pb +−2 ePbOE = -0.132+Sn +−2 eSnOE = -0.142+Fe +−2 eFeOE = -0.44กระป๋องดีบุกสามารถบรรจุสารละลายในข้อใดได้โดยไม่เกิดปฏิกิริยา (Pat2 ต.ค. 2553)eืoååeåo aeиåo æauo


2302112 Electrochemistry291.3+3.2+2+Fe 2. Fe2+Pb 4. Cu92. ค่าศักย์ไฟฟ้าครึ งเซลล์มาตรฐาน+ −2 HClO + 2 H + 2 e → Cl2+ 22+ −Pt + 2 e → PtOH 2O−−PbSO4+ 2 e → Pb +2OSO4E = -0.31 Vปฏิกิริยาข้อใดเกิดขึ นเองไม่ได้ (Pat2 ต.ค. 2553)+1. 2 HCIO + Pt + 2 H →22−+2. 2 HCIO + Pb + SO4+ 22+3. PbSO4+ Pt → Pb +4. เกิดปฏิกิริยาได้เองทุกข้อ2+Cl +H 2Pt + 2 OH → Cl2+42−Pt + SO4PbSO + 2E = +1.63 VOE = +1.20 VO H 293. ธาตุวาเนเดียม (Z = 23) เมื อกลายเป็นไอออน จะมีสีดังนี2+V สีม่วง3+V สีเขียวนํ าเงิน2+VO สีฟ้า+VO2สีเหลือง+เมื อนํานํ าแป้งเล็กน้อยผสมกับสารละลาย VO2ในสารละลายกรดซัลฟิวริก พบว่าได้สารละลายสีเขียว ถ้าเติมนํ าแป้งลงไปอีก พบว่าได้สารละลายสีฟ้า ถ้าพ่นอากาศลงไปในสารละลายสีฟ้านี พบว่าได้สารละลายสีเหลือง ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี ยวกับการทดลองนี (Pat2 มี.ค. 2554)3+1. เกิด V ระหว่างการทดลองนี+2+2. แก๊สออกซิเจนออกซิไดซ์ VO2ได้ VO3. ไอออนของวาเนเดียมเข้าไปอยู ่ในโมเลกุลของแป้ง แล้วเกิดการเปลี ยนสี+2+4. แป้งถูกไฮโดรไลซ์กลายเป็นกลูโคส จากนันทําปฏิกิริยากับ VO2ได้สารละลายของ VO94. ด95. ด96. ด97. ด98. ดeืoååeåo aeиåo æauo


2302112 Electrochemistry30เซลล์อิเล็กโทรลิติก1. ในเรื องเกี ยวกับเซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกัว ข้อความในข้อใดไม่ถูกต้อง1. เป็นเซลล์ทุติยภูมิ2. PbO 2 เป็นแอโนด3. สารละลาย H 2 SO 4 เป็นอิเล็กโตรไลด์4. PbSO 4 เป็นผลิตภัณฑ์ทังออกซิเดชันและรีดักชัน2. ในการสร้างเซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกัวเราจุ่มแท่งตะกัวใหม่ ๆ สองแท่งลงในสารละลาย H 2 SO 4 แล้วประจุไฟครังแรกโดยต่อขัวไฟฟ้าทังสองกับแบตเตอรี ปฏิกิริยาที เกิดขึ นที ขัวลบในการประจุไฟครังแรก คือ2 H + (aq) + 2e − → H 2 (g) ปฏิกิริยาที เกิดขึ นที ขัวบวก คือ1. Pb(s) → Pb 2+ (aq) + 2e −2. Pb(s) + 2 H 2 O(I) → PbO 2 (s) + 4 H + (aq) + 4e −3. PbSO 4 (s) + H 2 O(I) → PbO 2 (s) + HSO 4−(aq) + 3 H + + 2e −−4. Pb(s) + HSO 4 (aq) → PbSO 4 (s) + H + (aq) + 2e −3. ปฏิกิริยาที เกิดขึ นในเซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกัวในช่วงจ่ายไฟฟ้าเกิดขึ นดังนีที ขัว A :ที ขัว B :PbO 2 (s) + SO 2 − (aq) + 4 H + (aq) + 2e − → PbSO44 (s) + 2H 2 O(I)Pb(s) + SO 2 − (aq) → PbSO44 (s) + 2e −ข้อความต่อไปนี ข้อใดผิด1. ในการอัดไฟจะต้องต่อขัว A และ B ของเซลล์กับขัว + และ – ของแบตเตอรีตามลําดับ2. เซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกัวจะจ่ายกระแสไฟฟ้าจนกระทังความต่างศักย์ระหว่างขัวหมดไป3. เซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกัวจ่ายกระแสไฟฟ้าจนกระทังความเป็นกรดของสารละลายในเซลล์ลดลงถึงระดับหนึ ง4. ในการจ่ายไฟ กระแสไฟฟ้าไหลจากขัว B ไปขัว A4. เซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกัวเมื อใช้งานจะมีปฏิกิริยาเกิดขึ นดังนี ที ขัวบวกที ขัวลบPbO 2 + SO 2 − + 4 H + + 2e − PbSO44 + 2 H 2 OPb + SO 2 −4ไม่ถูกต้องPbSO 4 + 2e −ข้อสรุปข้อใดที1. เมื อเวลาใช้ไฟทังแผ่น Pb และ PbO 2 จะกลายเป็น PbSO 42. ระดับนํ ากรดในหม้อแบตเตอรีจะค่อย ๆ ลดลง3. เมื อไฟหมดสามารถนําไปอัดไฟใช้ใหม่ได้4. เมื อไฟหมดแสงสว่างความต่างศักย์ไฟฟ้ามีค่าติดลบeืoååeåo aeиåo æauo


2302112 Electrochemistry31คําชีแจงใช้ค่าศักย์ไฟฟ้าครึ งเซลล์มาตรฐานต่อไปนี ใช้ประกอบการตอบคําถามข้อ 5Al 3+ + 3e − → Al E o = -1.66 VCr 3+ + 3e − → Cr E o = -0.74 VFe 2+ + 2e − → Fe E o = -0.44 VSn 2+ + 2e − → Sn E o = -0.14 VPb 2+ + 2e − → Pb E o = -0.13 V5. การผุกร่อนของโลหะจะเกิดขึ นดังในข้อใด เมื อโลหะคู ่หนึ งคู ่ใดอยู ่ด้วยกัน1. เหล็กกับดีบุก, ดีบุกผุกกร่อน 2. เหล็กกับโครเมียม, เหล็กผุกร่อน3. อะลูมิเนียมกับดีบุก, อะลูมิเนียมผุกร่อน 4. อะลูมิเนียมกับโครเมียม, โครเมียมผุกร่อนคําชีแจง ข้อมูลต่อไปนี ใช้ประกอบการตอบคําถามในการทดลองครังหนึ ง มีหลอดทดลองปิดจุก 4 หลอดบรรจุสิงต่าง ๆ ดังแสดง6. ตะปูจะเป็นสนิมในหลอดใด1. หลอด I 2. หลอด II 3. หลอด III 4. หลอด IV7. การเป็นสนิมจะทําให้เกิดได้เร็วขึ นเมื อมีสารใดพันอยู ่กับตะปู1. ชิ นดีบุก 2. ชิ นสังกะสี 3. ชิ นโครเมียม 4. ชิ นแมกนีเซียม8. เราจะพิสูจน์ว่าตะปูเป็นสนิมไปแล้วโดยใช้สารใด1. K 2 Cr 2 O 7 2. KMnO 4 3. K 3 Fe(CN) 6 4. K 2 CrO 49. ภาวะแวดล้อมอย่างไรที ทําให้โลหะชุบโครเมียมของกันชนรถยนต์ เกิดการผุกร่อนเร็วที สุด1. ความชื นของอากาศ2. ความชื น และ คาร์บอนไดออกไซด์3. นํ า และ ออกซิเจน4. นํ าทะเล และ อากาศ10. เมื อนําตะกัวและนิกเกิลมาฉาบติดกัน ผลที เกิดขึ นคือข้อใด กําหนดให้Pb 2+ + 2e − → Pb E o = -0.13 VNl 2+ + 2e − → Nl E o = -0.27 V1. นิกเกิลป้องกันการผุกร่อนของตะกัว2. ตะกัวป้องกันการผุกร่อนของนิกเกิล3. ตะกัวให้อิเล็กตรอนแก่นิกเกิล4. ตะกัวทําหน้าที เป็นแอโนด นิกเกิลทําหน้าที เป็นแคโทดeืoååeåo aeиåo æauo


2302112 Electrochemistry3211. ใช้ข้อมูลต่อไปนี ประกอบการตอบคําถามZn 2+ + 2e − → Zn E o = -0.76 VSn 2+ + 2e − → Sn E o = -0.14 VFe 2+ + 2e − → Fe E o = -0.44 VMg 2+ + 2e − → Mg E o = -2.37 VCu 2+ + 2e − → Cu E o = +0.34 Vธาตุใดเมื ออยู ่ใกล้เหล็กทําให้เหล็กผุกร่อนเร็วขึ นมากที สุด1. สังกะสี 2. ดีบุก 3. แมกนีเซียม 4. ทองแดงคําชีแจงE o ต่อไปนี ใช้ประกอบการตอบคําถามข้อ 92 - 93Ag + + e − → Ag E o = +0.80 VZn 2+ + 2e − → Zn E o = -0.76 VNl 2+ + 2e − → Nl E o = -0.23 VCr 3+ + 3e − → Cr E o = -0.74 VSn 2+ + 2e − → Sn E o = -0.14 VAl 3+ + 3e − → Al E o = -1.66 VPb 2+ + 2e − → Pb E o = -0.12 VCu 2+ + 2e − → Cu E o = +0.34 VFe 2+ + 2e − → Fe E o = -0.41 V12. จากข้อมูลที กําหนดให้ชนิดของโลหะอัตราการสึกกร่อนของโลหะเมือต่อกับท่อเหล็ก (กรัม/ ราคาโลหะเดือน)(บาท/กรัม)เหล็ก 300.0 1.0เงิน 2 x 10 -6 120.0สังกะสี 12.5 10.0โครเมียม 4.2 20.0นิกเกิล 1 x 10 -5 35.0ควรเลือกโลหะชนิดใดต่อกับท่อเหล็กเพื อลดการสึกกร่อนของท่อเหล็กโดยใช้ต้นทุนน้อยที สุด1. เงิน 2. สังกะสี 3. นิกเกิล 4. โครเมียม13. การเก็บสารละลายในข้อใดช่วยให้ภาชนะไม่ผุกร่อนและสารละลายยังบริสุทธิโลหะทีใช้ทําภาชนะไอออนในสารละลายโลหะทีใช้ทําภาชนะ1. Cu Fe 2+ Al Pb 2+2. Sn Fe 2+ Ni Cu 2+3. Al Ni 2+ Pb Fe 2+4. Pb Ni 2+ Cu Al 3+ไอออนในสารละลายeืoååeåo aeиåo æauo


2302112 Electrochemistry3314. กําหนดค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานA 2+ + 2e − A E o = -2.38 VB 3+ + 3e − B E o = -1.66 VC 3+ + 3e − C E o = -0.74 VD 2+ + 2e − D E o = -0.44 VE 2+ + 2e − E E o = -0.14 Vข้อใดแสดงขัวที ผิดสําหรับภาวะป้องกันการผุกร่อนของโลหะ D เมื อถูกฉาบด้วยโลหะอื นโลหะป้ องกัน ขัวแอโนด ขัวแคโทด1. C C D2. E D E3. A D A4. B B D15. สิงใดไม่ควรปฏิบัติในการชุบโลหะด้วยไฟฟ้า1. ใช้โลหะที จะชุบเป็นแคโทดหรือขัวลบของเซลล์2. ใช้ของที จะชุบเป็นแคโทดหรือขัวลบของเซลล์3. ใช้สารละลายอิเล็กโตรไลต์มีไอออนของโลหะที จะชุบ4. ใช้กระแสไฟตรง16. ถ้าต้องการชุบเหรียญทองแดง ควรใช้อะไรเป็นอิเล็กโทรไลด์และอะไรเป็นแอโนด1. สารละลายที มี Ag + , โลหะเงิน2. สารละลายที มี Cu 2+ , โลหะเงิน3. สารละลายที มี Ag + , เหรียญทองแดง4. สารละลายที มี Cu 2+ , เหรียญทองแดงคําชีแจงข้อมูลต่อไปนี ใช้ประกอบการตอบคําถามข้อ 17 - 1817. รูปนี แสดงการทดลองอะไร1. แยกทองแดงให้บริสุทธิด้วยกระแสไฟฟ้า2. แยกนํ าด้วยกระแสไฟฟ้าโดยใช้ทองแดงเป็นขัวไฟฟ้า3. ทําเซลล์สะสมไฟฟ้าแบบทองแดง4. ทําเซลล์เชื อเพลิงชนิดใช้ทองแดงเป็นขัวไฟฟ้าeืoååeåo aeиåo æauo


2302112 Electrochemistry3418. ข้อสรุปต่อไปนี ข้อใดถูกต้องที สุด1. แท่งโลหะทองแดง B เป็นขัวบวก เรียกแคโทด2. แท่งโลหะทองแดง B เป็นขัวบวก เรียกแอโทด3. แท่งโลหะทองแดง A เป็นขัวบวก เรียกแอโทด4. แท่งโลหะทองแดง A เป็นขัวบวก เรียกแคโทด19. สารละลาย C ที บรรจุในภาชนะนี คือสารละลายใด1. ZnSO 4 2. MnSO 4 3. Na 2 SO 4 4. CuSO 420. ในการชุบตะปูเหล็กด้วยสังกะสี โดยจุ่มตะปูและแผ่นสังกะสีลงในสารละลาย ZnSO 4 ต่อตะปูกับขัวลบ และสังกะสีกับขัวบวกของแบตเตอรี 1.5 โวลต์ เมื อปฏิกิริยาดําเนินไปข้อความใดถูกต้อง1. ความเข้มข้นของสารละลาย ZnSO 4 จะคงที2. ความเข้มข้นของสารละลาย ZnSO 4 จะลดลงไปเพราะ Zn 2+ ไปเกาะที ตะปูเป็น Zn3. ความเข้มข้นของสารละลาย ZnSO 4 จะเพิมขึ นเพราะ Zn จากขัวบวกจะกร่อนไปเรื อย ๆ4. ความเข้มข้นของสารละลาย ZnSO 4 จะเพิมขึ นหรือลดลงก็ได้แล้วแต่อัตราเร็วของปฏิกิริยา21. การกระทําในข้อใดไม่ถูกต้องเมื อต้องการชุบแท่งเหล็กด้วยโครเมียม1. ใช้โลหะโครเมียมเป็นแอโนดหรือเป็นขัวบวก2. ใช้แท่งเหล็กเป็นแคโทดหรือเป็นขัวลบ3. สารละลายอิเล็กโทรไลต์ต้องมีไอออนของโครเมียม4. ใช้โลหะโครเมียมเป็นแคโทดหรือเป็นขัวลบ22. ในการชุบช้อนสังกะสีด้วยเงิน โดยใช้สารละลาย Na [Ag(CN) 2 ] เป็นอิเล็กโทรไลต์จะใช้อะไรเป็นแอโนดและแคโทด1. ใช้ช้อนสังกะสีเป็นแอโนด เงินเป็นแคโทด2. ใช้ช้อนสังกะสีเป็นแคโทด เงินเป็นแอโนด3. ใช้ช้อนสังกะสีเป็นทังแอโนดและแคโทด4. ใช้เงินเป็นแอโนดและแคโทด23. ถ้าต้องการชุบถาดอาหารด้วยโครเมียมโดยวิธีอิเล็กโทรลิซิส ควรทําอย่างไร1. ใช้ถาดอาหารเป็นแอโนด เกิดปฏิกิริยา Cr 3+ + 3e − → Cr2. ใช้ถาดอาหารเป็นแอโนด เกิดปฏิกิริยา Cr → Cr 3+ + 3e −3. ใช้ถาดอาหารเป็นแคโทด เกิดปฏิกิริยา Cr 3+ + 3e − → Cr4. ใช้ถาดอาหารเป็นแคโทด เกิดปฏิกิริยา Cr → Cr 3+ + 3e −24. ข้อความต่อไปนี ข้อใดไม่เกี ยวกับเรื องเซลล์เชื อเพลิงไฮโดรเจน – ออกซิเจน1. เกิดปฏิกิริยารีดอกซ์2. เปลี ยนพลังงานเคมีเป็นพลังงานไฟฟ้า3. มีการผ่านสารดังเดิมที ขัวแคโทดและแอโนดอย่างสมํ าเสมอ4. ปฏิกิริยาที เกิดขึ นที ขัวแคโทดจะให้ก๊าซไฮโดรเจน ที ขัวแอโนดให้ก๊าซออกซิเจนeืoååeåo aeиåo æauo


2302112 Electrochemistry3525. ผลที ได้รับจากเซลล์เชื อเพลิง H 2 – O 21. พลังงานไฟฟ้าและความร้อน2. พลังงานไฟฟ้า นํ าบริสุทธิและอากาศไม่เป็นพิษ3. พลังงานไฟฟ้า ความร้อน และนํ าบริสุทธิ4. พลังงานไฟฟ้าเพียงอย่างเดียว26. ข้อความเกี ยวกับเซลล์เชื อเพลิงไฮโดรเจน – ออกซิเจน ต่อไปนี ข้อใดผิด1. พลังงานเคมีของเชื อเพลิงถูกเปลี ยนเป็นพลังงานไฟฟ้า2. ต้องบรรจุเชื อเพลิงเข้าไปในเซลล์ต่อเนื องกันอยู ่ตลอดเวลา3. ที แอโนดเป็นปฏิกิริยาออกซิเดชันของไฮโดรเจนโดยมีไฮดรอกไซด์ไอออนเข้าร่วมในปฏิกิริยาด้วย4. นํ าซึ งเป็นผลิตผลของปฏิกิริยาจะแยกสลายเป็นไฮโดรเจนและออกซิเจนซึ งนํากลับมาใช้เป็นเชื อเพลิงได้อีกข้อมูลต่อไปนี ใช้ตอบคําถามข้อ 27ก. 2 D + + 2e − D 2 (g) E o = -0.003 Vข. O 2 (g) + 4 H + + 4e − 2 H 2 O E o = 1.23 Vค. Ca 2+ + 2e - −Ca(s) E o = -2.87 Vง. ClO - 4 + 8 H + + 7e − = ½ Cl 2 (g) + 4 H 2 O E o = 1.55 Vจ. 2 H 2 O + 2e − H 2 (g) + 2 OH − E o = -0.83 Vฉ. O 2 (g) + 2 H 2 O + 4e − 4 OH − E o = 0.40 V27. ในเซลล์เชื อเพลิงไฮโดรเจน – ออกซิเจน ครึ งปฏิกิริยาที แต่ละขัวของอิเล็กโทรดที ถูกต้องคือข้อใด1. จ เกิดที แคโทด และ ฉ เกิดที แอโนด 2. จ เกิดที แอโนด และ ข เกิดที แคโทด3. จ เกิดที แอโนด และ ฉ เกิดที แคโทด 4. จ เกิดที แคโทด และ ข เกิดที แอโนด28. จากค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานครึ งเซลล์ (E o ) ที 25 o C ข้างล่างนี ค่า E oออกซิเจนได้จากการรวมปฏิกิริยาครึ งเซลล์ในข้อใดเซลล์ในเซลล์เชื อเพลิงไฮโดรเจนปฏิกิริยาครึงเซลล์ E o (V)ก. 2 H 2 O(I) + 2e − → H 2 (g) + 2 OH − (aq) -0.83ข. 2 H + (aq) + 2e − → H 2 (g) 0.00ค. O 2 (g) + 2 H 2 O(l) + 2e − → 4 OH − (aq) 0.40ง. O 2 (g) + 4 H + (aq) +4e − → 2 H 2 O(l) 1.231. ก กับ ค 2. ก กับ ง 3. ข กับ ค 4. ข กับ งeืoååeåo aeиåo æauo


2302112 Electrochemistry36คําชีแจง ข้อมูลต่อไปนี ใช้ประกอบการตอบคําถามข้อ 29 – 30ในการศึกษาเกี ยวกับการผุกร่อนของโลหะ โดยติดตามการเปลี ยนแปลงที เกิดขึ นกับโลหะในถ้วยวุ้น ซึ งมีโพแทสเซียมเฮกซะไชยาโนเฟอเรต (III) และฟีนอล์ฟทาลีนอยู ่ด้วย มีผลการทดลองดังนีการทดลองการเปลียนแปลงทีสังเกตได้หลังจากทดลอง 15 นาที เมือเก็บไว้ 1 คืน(1) ตะปูเหล็กพันด้วยเทปใส สีนํ าเงินแกมเขียวเกิดขึ นจาง สีนํ าเงินแกมเขียวเข้มขึ นๆ รอบแท่งตะปูและที ปลายทังสองด้านสีเข้มกว่า(2) ตะปูเหล็กพันด้วยแผ่น สีนํ าเงินแกมเขียวเกิดขึ น สีนํ าเงินแกมเขียวเข้มขึ นโลหะ Xเช่นเดียวกับ (1) แต่ที ปลายทังสองสีเข้มกว่า (1)(3) ตะปูเหล็กพันด้วยแผ่น สีนํ าเงินแกมจางมากกว่า (1) สีนํ าเงินแกมเขียวหายไป มีสีโลหะ Yเกิดขึ นรอบ ๆ แท่งตะปู ชมพูอ่อน ๆ ปรากฏขึ นแทน(4) ตะปูเหล็กพันด้วยแผ่น สีนํ าเงินแกมจางมากกว่า (3) สีนํ าเงินแกมเขียวหายไป สีโลหะ Zเกิดขึ นรอบ ๆ แท่งตะปู ชมพูชัดกว่า (3)กําหนดให้Fe 2+ + 2e − → Fe E o = -0.41 VX 2+ + 2e − → X E o = +0.34 VY 2+ + 2e − → Y E o = -0.76 VZ 2+ + 2e − → Z E o = -2.38 V29. ผลการทดลองในข้อใดที สังเกตผลได้ถูกต้องทังหมด1. 1, 2 2. 2, 3 3. 3, 4 4. 1, 430. จากผลการทดลองในข้อ 29 เราอาจสรุปได้ว่า1. ในทุกกรณี ตะปูเหล็กเกิดสนิมเนื องจากนํ าในสารละลายวุ้น2. ความสามารถในการเกิดสนิมของโลหะต่าง ๆ เรียงตามลําดับได้ดังนี X > Fe > Y > Z3. X ทําให้ Fe เสียอิเล็กตรอนได้ง่ายขึ น4. สีชมพูที ปรากฏขึ นมาจากไอออน OH - ที เกิดในปฏิกิริยาออกซิเดชัน31. การป้องกันการผุกร่อนของอุโมงค์หรือท่อเหล็กใต้ดิน กระทําได้โดยการต่อท่อเหล็ก (A) เข้ากับสารชนิดอื น(B) ดังรูปข้อความใดต่อไปนี ผิด1. โลหะ A เป็นตัวรีดิวซ์ที ยากกว่า B2. เมื อเวลาผ่านไปมวลของ B อาจลดลง3. A ทําหน้าที เป็นขัวลบ เกิดปฏิกิริยารีดักชัน4. B ให้อิเล็กตรอนได้ง่ายกว่า A B จึงทําหน้าที เป็นแอโนดeืoååeåo aeиåo æauo


2302112 Electrochemistry3732. กําหนดค่า E o ครึ งเซลล์Al(s) | Al 3+ (aq) E o = -1.71 VAg(s) | Ag + (aq) E o = +0.80 Vถ้าต้องการแสดงให้เห็นว่าช้อนอะลูมิเนียมสามารถเปลี ยนพื นผิวให้เป็นเงินได้จะต้องทําอย่างไรบ้างก. ขัดพื นผิวให้สะอาดแล้วแช่ในสารละลาย AgNO 3ข. ขัดพื นผิวให้สะอาดแล้วแช่ในสารละลาย AgNO 3 โดยมีแผ่นเงินอยู ่ด้วยต่อให้ครบวงจร โดยต่ออะลูมิเนียมกับขัวบวก ต่อแผ่นเงินกับขัวลบของถ่านไฟฉายค. ทํานองเดียวกันกับข้อ ข. แต่ต่อช้อนกับขัวลบ ต่อแผ่นเงินกับขัวบวกของถ่านไฟฉายง. ทํานองเดียวกันกับข้อ ข. แต่ต่อช้อนกับแผ่นเงินด้วยกันโดยไม่มีถ่านไฟฉายข้อใดถูกต้อง1. ก และ ข 2. ก และ ค 3. ข และ ค 4. ค และ ง33. ปฏิกิริยารีดอกซ์ปฏิกิริยาใดที สามารถใช้อธิบายการเกิดสนิมเหล็กก. Fe(s) + 2 H 2 O(I) → Fe 2+ + H 2 (g) + 2 OH - (aq)ข. 2 Fe(s) + O 2 (g) + 4 H + → Fe 2+ + 2 H 2 Oค. 2 Fe(s) + O 2 (g) + 2 H 2 O(I) → 2 Fe 2+ (aq) + 4 OH - (aq)ง. 4 Fe(OH) 2 (s) + O 2 (g) → 2 H 2 O(I) + 2 Fe 2 O 3 •H 2 O(s)1. ก และ ข 2. ข และ ค 3. ค และ ง 4. ก และ ง34. การป้องกันการผุกร่อนของตะปูเหล็กวิธีใดไม่ถูกต้อง1. นําตะปูต่อเข้ากับขัวบวกของถ่านไฟฉาย2. นําตะปูไปทําอะโนไดซ์3. นําตะปูไปทําแคโทดิก4. นําตะปูไปทํารมดํา35. จากตารางส่วนประกอบแอโนด แคโทด อิเล็กโทรไลต์ชนิดของเซลล์A Zn C และ MnO 2 สารละลาย KOHB Zn C NH + 4 และ MnO 2 นํ า NH 4 Cl, ZnCl 2C Zn HgO สารละลาย KOHD Zn Ag 2 O สารละลาย KOHเซลล์ A, B, C และ D น่าจะเป็นเซลล์ใดตามลําดับ1. ถ่านไฟฉาย, เซลล์แอลคาไลน์, เซลล์ปรอท, เซลล์เงิน2. เซลล์แอลคาไลน์, ถ่านไฟฉาย, เซลล์ปรอท, เซลล์เงิน3. ถ่านไฟฉาย, เซลล์แอลคาไลน์, เซลล์เงิน, เซลล์ปรอท4. เซลล์แอลคาไลน์, ถ่านไฟฉาย, เซลล์เงิน, เซลล์ปรอทeืoååeåo aeиåo æauo


2302112 Electrochemistry3836. จากข้อสรุปในการชุบโลหะด้วยไฟฟ้าต่อไปนี ก. สารละลายอิเล็กโทรไลต์ต้องมีไอออนของโลหะที ใช้เคลือบปนกับสารประกอบไซยาไนด์ข. สิงที ต้องการชุบควรต่อที ขัวแอโนดค. ต้องการชุบชิ นงานด้วยโลหะใด ต้องต่อโลหะนันที ขัวแคโทดง. โลหะที เป็นแอโนดต้องบริสุทธิและมีควรขนานเกินไปข้อสรุปใดผิด1. ก, ข และ ค 2. ค, ง และ จ3. ก, ง และ จ 4. ข, ค และ งค่าศักย์ไฟฟ้าครึ งเซลล์มาตรฐาน (E o , V)Na + + e − → Na -2.712 H 2 O + 2e − → H 2 + 2 OH - −-0.83O 2 + 4 H + + 4e − → 2 H 2 O 1.23F 2 + 2e - → 2 F − 2.8737. จากค่า E o (V) ผลิตภัณฑ์ที ได้จากการทําอิเล็กโทรลิซิส สารละลาย NaF คือข้อใด1. H 2 , F 2 2. Na, O 23. Na, F 2 4. H 2 , O 238. กําหนดค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ งเซลล์ ดังนีA 2+ + 2e − → A E o = -0.3 VB 2+ + 2e − → B E o = +0.2 VC 2+ + 2e − → C E o = +0.5 VD 2+ + 2e − → D E o = -0.4 Vใช้โลหะ A, B, C และ D เป็นภาชนะในการเก็บสารละลายข้อใดที ภาชนะไม่มีการสึกกร่อน1. โลหะ D เก็บสารละลาย A + 2. โลหะ C เก็บสารละลาย D 2+3. โลหะ B เก็บสารละลาย C 2+ 4. โลหะ A เก็บสารละลาย B 2+39. เซลล์ถ่านไฟฉายมีอิเล็กโทรไลต์เป็น NH 4 Cl ชื น + ZnCl 2 + MnO 2 มีแท่งแกรไฟต์เป็นแคโทดปฏิกิริยาที ขัวลบ เป็นดังข้อใด1. Zn 2+ (aq) + 2e − → Zn(s)2. 2 MnO 2 (s) + H 2 O(I) + 2e −- → Mn 2 O 3 (s) + 2 OH - (aq)3. Zn(s) → Zn 2+ (aq) + 2e −4. Mn 2+ (aq) → Mn 3+ (aq) + e −eืoååeåo aeиåo æauo


2302112 Electrochemistry3940. เปรียบเทียบเซลล์กัลวานิก และเซลล์อิเล็กโทรไลต์ โดยพิจารณาข้อสรุปต่อไปนีก. ไอออนบวกเคลื อนที เข้าหาขัวลบ และไอออนลบจะวิงเข้าหาขัวบวกเสมอในเซลล์ทังสองชนิดข. ในเซลล์กัลวานิก ไอออนบวกจะวิงไปที แอโนด และไอออนลบจะวิงไปที แคโทด ในเซลล์อิเล็กโทรไลต์ไอออนบวกและลบจะวิงไปที แคโทดและแอโนด ตามลําดับค. ในเซลล์กัลวานิกขัวของแอโนดและแคโทดจะเป็นขัวลบและบวกตามลําดับ ส่วนในเซลล์อิเล็กโทรไลต์แอโนดคือขัวบวก และ แคโทดคือขัวลบง. อิเล็กตรอนไหลจากแอโนดไปแคโทด เมื อต่อสายภายนอกของเซลล์กัลวานิก ส่วนในเซลล์อิเล็กโทรไลต์อิเล็กตรอนมาจากแบตเตอรีเข้าสู ่ขัวแอโนดข้อสรุปใดถูก1. ค เท่านัน 2. ข, ง เท่านัน 3. ก, ง เท่านัน 4. ก, ค, ง เท่านันeืoååeåo aeиåo æauo


2302112 Electrochemistry40เฉลยไฟฟ้าเคมี1. 2 2. 3 3. 4 4. 2 5. 4 6. 3 7. 2 8. 2 9. 3 10. 111. 2 12. 1 13. 4 14. 3 15. 2 16. 3 17. 2 18. 3 19. 4 20. 121. 1 22. 4 23. 1 24. 2 25. 3 26. 3 27. 3 28. 3 29. 1 30. 231. 1 32. 2 33. 1 34. 2 35. 2 36. 3 37. 4 38. 1 39. 3 40. 141. 4 42. 2 43. 4 44. 1 45. 3 46. 2 47. 4 48. 2 49. 2 50. 151. 2 52. 2 53. 2 54. 2 55. 4 56. 3 57. 3 58. 4 59. 3 60. 361. 3 62. 4 63. 2 64. 2 65. 4 66. 2 67. 3 68. 3 69. 1 70. 171. 3 72. 1 73. 2 74. 1 75. 4 76. 3 77. 1 78. 4 79. 4 80. 1281. 2 82. 4 83. 3 84. 3 85. 2 86. 2 87. 2 88. 3 89. 2 90. 391. 2 92. 3 93. 4 94. 95. 96. 97. 98. 99. 100.เซลล์อิเล็กโทรลิติก1. 2 2. 2 3. 4 4. 4 5. 3 6. 3 7. 1 8. 3 9. 4 10. 111. 4 12. 4 13. 4 14. 3 15. 1 16. 1 17. 1 18. 3 19. 4 20. 121. 4 22. 2 23. 3 24. 4 25. 3 26. 4 27. 3 28. 1 29. 1 30. 331. 3 32. 2 33. 3 34. 1 35. 2 36. 4 37. 4 38. 2 39. 3 40. 1eืoååeåo aeиåo æauo

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!